ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ชอบภาพวาดคน เก่าๆ วิถีชาวบ้านไทยครับ
ปลาจ่อม ทุกวันนี้ที่บ้านผมยังมีทำกินกันอยู่ครับ แล้วมีขายตามตลาดด้วยนะ ที่อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีครับ พี่หอยอยากลองกินมั๊ยเดี๋ยวผมส่งไปให้ครับพี่☺
ผมว่านะมันแค่เขียนบันทึกไว้กับพวกรวยๆอะ ไม่เห็นพูดถึงคนที่เขาไม่ได้เป็นทาสแต่เขาก้อไไม่มีทาสใสบ้านอะ คือ เขาพอมีพอกิน ครอบครัวที่เขาไม่รวยเขาก้อนั่งกินข้าวพร้อมกัน คนไม่รวยก้อไม่สามารถมีเมียน้อยได้เยอะหรอก เขาจดบันทึกแต่ในวัง แต่นอกวังหรือจังหวัดใกล้เคียงเขาไม่เคยออกไปหรอกอยุ่แค่ในวัง ผมว่าข้างนอกวังไม่เป็นอย่างที่เขาบันทึกแน่นอน
เดาว่าคนสยามยุคนั้นยังไม่เจอพ่อค้าแม่ค้าขี้โกง อยู่ด้วยความเชื่อใจกันของชาวบ้าน
มันมีทุกยุคทุกสมัยนั้นเเหละคนโกง สมัยก่อนเถื่อนกว่ายุคปัจจุบัน ยุคก่อนฆ่าปล้น ข่มขื่น มีเยอะกว่ายุคนี้เยอะ
ขอบคุณมากครับ ได้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน
ยิ่งฟังประวัติศาสตร์รู้สึกภูมิใจวัฒนธรรมไทย เคารพบูชาบรรพบุรุษ รักสถาบันพระมหากษัตริย์รักชาติไทยมากๆครับ
11:39 🐟ปลาจ่อม สูตรดั่งเดิมไม่มีส่วนผสมของพริกไทย แต่ที่เห็นเวลาใส่เป็นผงๆ เวลาก่อนที่จะกินนั่นคือ ข้าวคั่วบดเป็นผงใส่เข้าไปเพื่อตัดรสชาติความเปรี้ยวไม่ให้เปรี้ยวมากจนเกินไปและเพื่อเพิ่มความมันและความกลมกล่อมให้กับปลาจ่อมเพิ่มมากขึ้น แต่ฝรั่งคงจะมองกลายๆไปว่าข้าวคั่วบดจนเป็นผงละเอียดนั้นเป็นพริกไทย (เพราะสีมันจะเหมือนกันมากๆ).ก็เป็นได้นะ😢😮😅😊😂😂😂😂😂ิ
ขอบคุณครับ
เรื่องที่พ่อบ้านกินข้าวคนเดียวก่อนคนในครอบครัว สมัยก่อนก็เคยได้ยินลุงเล่าให้ฟังว่าชายชาวอีสานในสมัยก่อนที่เรียนคาถาอาคมมักจะไม่กินข้าวร่วมกับคนในครอบครัว หรือหากต้องกินข้าวร่วมกับคนอื่น หากบังเอิญมือไปชนกันในจังหวะหยิบกับข้าว เค้าจะหยุดกินทันที ทั้งนี้เพราะการถือขะลำ(ข้อห้ามต่างๆ) ของคนที่เรียนคาถาอาคมครับ
ขอบคุณมากครับ
ถือมากๆแล้วกลับทำไม่ได้ก็ระวังจะเป็นปอบเด้อ คิคิ😢😮😅😊😂😂😂
บ้านเกิดผมอยู่ที่ อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ครับคุณหอยชื่อเดิมของปากพนังคือ อ.เบี้ยสัจจ์ ตอนเรียนสมัยเด็กประถม ครูๆจะเล่าว่า เบี้ยสัจจ์ มาจากคำว่า เบี้ยซัด หมายถึง หอยเบี้ยที่ถูกทะเลซัดขึ้นมาตามหาด ซึ่งจะพบมากที่นี่สมัยก่อนทางราชการจะมากันพื้นที่เพื่อเก็บไปทำเงินตราจริงเท็จอย่างไรตอนนี้ก็ไม่ทราบได้ เพราะเป็นเรื่องเล่า แต่มาเล่าให้ฟังเผื่อเป็นเกร็ดเล็กๆ ให้คุณหอยได้สืบค้นต่อไปครับ
ไข่เหี้ยหรือตัวเงินตัวทองยังไม่มีข้อมูลว่ากินกันทั่วๆไปนะที่บ้านตจว. แต่ส่วนตัวเคยกินไข่"ตะกวด" ตอนเป็นเด็กมันมีความ"มัน"มากจนเวียนหัวเลยเชียวแหละ
ปลาจ่อม คนทางภาคอีสาน จะทำกินประจำ ก็จะมีกุ้งฝอย กับปลาซิล หรือปลาซิลอย่างเดียว คือปลาตัวเล็กๆนะครับ เขาเอามาหมัก หรือถนอมอาหารทำให้เป็นปลาส้ม พอมันส้มแล้วสัก 7-8 วัน ก็เอามากินได้เลย กับพริก ผักต่างๆ ข้าวเหนียว เข้ากันมากครับ ที่บ้านกินประจำ
ปลาส้มจ่อม คือปลาร้านั้นเหละ
@@kelvinpual4425 คนล่ะอย่างกันเลย ปลาส้มก็คือปลาส้ม ปลาจ่อมก็คือปลาจ่อม ส่วนปลาร้าก็คือปลาร้า รสชาติก็ต่างกัน แถมปลาจ่อมถ้าเก็บไม่ดีก็บูด ปลาร้าไม่มีวันบูด เอาไปใส่ส้มตำได้ ปลาจ่อมปลาส้ม ใส่ส้มตำไม่ได้
ปลาร้าก็ปลาร้า ปลาจ่อมก็อีกแบบอย่ามั่ว
ปลาจ่อมคือการเอาปลาซิวมาล้างควักไส้ออกแล้วคลุกกับเกลือใส่โหลหรือไหปิดฝาทิ้งไว้ในอุณหภูมิปกติประมาณ7วัน เวลาจะกินก็เทออกมาคลุกกับพริกซอย ตะไคร้ ผักชี และใส่ข้าวคั่วให้มีกลิ่นหอมค่อยเอามากินค่ะ ฝรั่งอาจจะเห็นข้าวคั่วเป็นพริกไทยก็ได้นะคะ🤔
🎉🎉เคยเจอที่ภูเก็ต ที่หาดปาตอง หาดกะหลิม มันยังมีชีวิตเลยปล่อย ไม่เยอะแต่ยังมี
เหมือนทวดที่บ้านเลย ผัวกินก่อน อิ่มแล้วเมียกินตามหลัง แถมไม่ค่อยหิวด้วย เพราะกินตอนทำแล้ว 😂🤣.
คอนเท้นแบบนี้ชอบมากครับ คิเว่าจะไม่มีEP4แล้ว ผมอยากรู้วิถีชีวิตชาวบ้านแบบละเอียดๆแบบนี้พอดี
ขอบคุณครับ ยังมีข้อมูลมากพอสำหรับทำอีก 1 ตอนครับ
ตลาดอยุธยาเปิด5โมงเย็นถึง2-3ทุ่ม= night marketมีต้นกำเนิดจากอยุธยา 😂
❤ขอบคุณครับ... ข้อมูลความรู้ครับ..❤
ชอบจังค่ะ ฟังเพลินเลย ย้อนอดีตบรรพบุรุษของเรา
ฝรั่ง เขามีหัวคิดก้าวหน้า นักสำรวจศึกษาจดบันทึกทุกอย่างที่มีประโยชน์ มาแต่อดีต นักวิชาการปัจจุบัน จึงได้มีข้อมูล ความเป็นไปของคนไทยในอดีต ส่วนคนไทย ทำมาหากินไป ไม่สนใจบันทึกอะไร กรือเปล่า บันทึกคนชั้นเจ้าขุนมูลนายนักปกครองของไทยแต่ละสมัย ไม่รู้มีหรือไม่ ส่วนมากได้ข้อมูลบันทึกชาวฝรั่ง
จริงของราชสำนักอยุธยามีครับ แต่คงจะมอดไหม้ไปกับเพลิงแล้ว
ที่นครศรี ธรรมเนียมกินข้าวแบบโบราณเคยเห็นคนเก่าๆยังทำอยู่ คือ หลังจากทำอาหารเสร็จทุกครั้ง ยายผมจะตักสำรับให้พระก่อน ถัดมาก็ตักแบ่งสำรับให้ตา ที่เหลือก็เป็นสมาชิกในบ้าน
ส่วนการเลี้ยงเด็กแรกเกิดนี่แกคงเข้าใจผิด ตอนผมเลี้ยงน้อง พอหกเดือน ย่าจะให้กินกล้วยน้ำว้าสุกบด ๆ ให้เละ ใช้ช้อนชาตักผสมกับน้ำเปล่าป้อน เด็กก็จะดูด ๆ และกลืนลงไป และก็ให้กินนมแม่ด้วย เพราะจะได้ถ่ายง่าย ขี้ไม่แข็งอุดตูด กินครึ่งลูกถึงหนึ่งลูกเช้าและเย็นทุกวัน คนป้อนเหยีดขาชิดกันแล้วเอาเด็กวางที่ขาจะลงร่องขาพอดีไม่พลิกหล่น หันหัวเด็กไปปลายเท้าและหนุนอยู่บนหัวเข่าคนป้อนแทนหมอน ถ้าเด็กอิ่มเขาจะเอาลิ้นดุนออกทิ้ง หรือจับท้องเบา ๆ ว่าตึงหรือยัง ตอนผมเลี้ยงหลาน แม่เขาไม่ได้ให้กินกล้วยสุกบดเละ หลานขี้ไม่ออก ร้องไห้จ้าหน้าเขียวอี๋ทรมานมาก พาไปหาหมอเอายาสวนตูดขี้พุ่งออกมาเป็นแท่งเลย และก็ท้องผูกอยู่บ่อยครั้ง เด็กหกเดือนไม่มีฟันจะให้กินข้าวได้ยังไง แต่ก็ไม่แน่นะอาจจะเป็นโจ๊กก็ได้ แต่เด็กทารกกินนี่ท้องผูกขี้ไม่ออกตายแน่นอน อัตราการตายเลยสูงกระมัง ตอนผมเลี้ยงน้องจะให้กินข้าวก็ตอนฟันน้ำนมขึ้นมาแล้ว ตอนสองขวบครึ่งหรือสามขวบ แต่ก็เป็นข้าวต้มเละ ๆ ใส่ไข่บ้าง เนื้อปลาบ้าง หมูหยองบ้าง
น่าสนใจครับ ขอบคุณครับ
ใช่ๆ แม่ผมก็ป้อนกล้วยน้ำว้าเหมือนกัน
แถวบ้านเด็ก5-6เดือน ป้อนข้าวบดกล้ายน้ำว้าบ้าง ข้าวบดไข่แดงบ้าง ใช้ช้อนบดแน้นๆใส่น้ำต้มสุกบดจนเป็นเนื้อครีม ส่วนมากป้อนสลับกับให้นมโตขึ้นมาหน่อย มีบดข้าวกับแกงต้มจืดตำลึง
เบี้ยในบ้านเราเมื่อก่อนพบน้อยมาก ฝรั่งเลยไปงมมาจากที่อื่นก่อนจะมาสยามแล้วนำมาใช้
สมัยเด็ก ๆ ยาย จะกินข้าวประมาณนี้ ข้าว ปลาย่าง ปลาทอด น้ำพริก ปลาร้า ปลาเจ่า ปลาจ่อม ผักต้ม ไข่เจียว ไข่ต้ม ประมาณนี้ เหมือนกัน
ชอบแนววิถีชีวิตของชาวบ้านมากๆคับ ถ้ามีข้อมูลอีก ทำคลิปแนวนี้บ่อยๆนะคับ❤❤
ขอบคุณครับ น่าจะมีอีก 1 ภาค เร็ว ๆ นี้ครับ
เพิ่มเติม เกี่ยวกับผู้สนับสนุนตอนนี้...ยาสีคอลบาเด้นท์ ใช้ดีมากจริงๆค่ะ ที่บ้านใช้อยู่ ใช้มานานหลายปีแล้ว แปรงก่อนนอน เช้ามาไม่มีกลิ่นปากเลย คอนเฟิร์มว่า ใช้ดีจริงค่ะ...ขอบคุณอาจารย์ที่เล่าให้ฟัง ชอบฟังวิถีชีวิตชาวบ้านค่ะ
ขอบพระคุณมากครับ ผมเองก็ใช้ประจำมานานแล้ว ทั้งยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปาก ปัญหาในช่องปากลดลงอย่างเห็นได้ชัดครับ 😊
ยาสีฟันน่าใช้มากค่ะ
😊
ถึงปัจจุบันนี้คนใต้ ยังเรียกเงิน ว่าเบี้ย, ดู ว่าแล, คุณ เธอ ว่าโบ๋สู
ตรัง พัทลุง ยังใช้คำว่า พ่อ…ขอเบี้ยหิดถี(ถ้าเขาจะขอเงินจากพ่อสักหน่อยนึง)ผมเองไปเรียนตรังหลายปี ปัจจุบันผมยังใช้คำนี้ครับ
19:27 คงเพราะสินค้าที่จำต่อชาวต่างชาติ นั้นถูกผูกขาดการค้าขายจากกษัตริย์และชนชั้นสูงเท่านั้นส่วนชาวบ้านและคนธรรมดาๆนั้นถือเป็นสิ่งต้องห้าม..ถ้าใครทำต้องถือเป็นความผิด..นะ..ครับ😢😮😅😊😊😮😮😮
การจดบันทึกของชาวต่างชาติหลายๆคนทำให้ประวัติศาสตร์ไทยได้รับการประติดประต่อเรื่องราวให้ชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ขอบคุณอาจารย์พี่หอยครับ ชอบมากๆครับเรื่องราวของชาวบ้านโบราณ
จริงครับ สนุกมาก ทำให้เรารู้ว่า ประวัติศาสตร์ไม่ได้มีแค่เรื่องสงคราม
คำว่า พด ทางภาคใต้บ้านผมยังใช้อยู่เลยครับ อย่างคำว่า นั่นเห็นมั้ยงูนอนพักอยู่ใต้ตอไม้คุณเห็นมั้ย 🤣
นอนพดอยู่5555 เเละพดพร้าวคับ5555
@@surachaipukdeechon4405 ใช่ครับแปลว่า ม้วนคดงอคดโค้งสุโขทัยกับภาคใต้เป็นหนึ่งเดียวกันมาเนิ่นนานยิ่งนัก😁
เป็นตอนที่ผมรอและอยากฟังมากครับอยากรู้ว่าคนสมัยก่อนอยู่กันแบบไหน
น้ำเสียง บุคลิก ความรู้ ของแอ๊ดมิน สามารถทำให้ ผู้ฟังผู้ชม เข้าใจมีิอารมย์ร่วมไปกับท่านด้วย
ขอบคุณนะค่ะที่ให้ความรู้
การกินข้าว น่าจะเป็นความจริง, หัวหน้าครอบครัวกินก่อน,ตามด้วยลูกเมีย, เหลือถึงคนรับใช้ ดังมีคำโบราณว่า "กินให้เหลือ เผื่อคนหลังบ้าง"
ขอบคุณมากนะคะที่นำมาเล่าให้ฟังค่ะ
ปลาจ่อมบ้านผมเหมือนปลาร้าแต่ใช้ปลาซิวหมัก เวลากินก็ใส่พริกสับครับ 😊😊
ปลาจ่อม ใช่ครับ เครื่องปรุงจะมีปลาชิว กุ้งผอย เป็นหลัก บางสูตรอาจจะให้หอยก็ได้ วิธีการทำจะทำคล้ายกับปลาล่า(ปลาแดก)
ชอบให้เล่าเรื่องชาวบ้านมากๆครับ❤
หามาเล่าอีกเยอะๆนะครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับบบ🙏
ลำบากเนอะคนเกิดยุคนั้นรุ่นคนเกิคยุคต์นั้น ทวดปู่ย่าตายาย...
เป็นรุ่นใหม่อีกคนที่ชอบวัฒนธรรมของไทยเรามากค่ะอยากรู่ว่าสมัยก่อนใช้อะไรในปารดกรงชีวิตกันบ้าง เวลาว่างทำอะไรกัน กินอะไร คือควรค่าแก่การศึกษามาก ๆ เลยค่ะ
จริงหรือไม่😲 ที่ว่าสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์องค์แรกของอยุธยา ได้สั่งดำเนินการขุดแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมกับแม่น้ำป่าสักทึ่เมืองอินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี 🙏☺️💐👏ขอบคุณมากค่ะ 😄
ขุดสมัย พระนาราย์ ครับ เส้น เดิม ผ่านโคกสำโรง บ้านหมี่ บรรพตพิสัย
อาหารการกินมาแล้ว ขอบคุณครับ 🙏🙏
ขอบคุณที่ข่วยแนะนำเช่นกันครับ แต่ก็มีเรื่องอาหารการกินแค่หน่อยเดียวเองครับ เพราะในภาคก่อน ๆ เคยพูดถึงไปบ้างแล้ว
@@hoyapisak ผมสนใจเพราะมีข้อมูลน้อยมาก ยิ่งตอนไปรบ คำว่าขนเสบียง เขาขนอะไรไปเลี้ยงคนเป็นหมื่นเป็นแสน ซึ่งในยุคนั้นข้าวคงเป็นหลัก แต่อาหารสดเช่นหมูไก่ปลา คงหาไม่ได้ง่ายและเพียงพอต่อจำนวนคนในการยกทับครั้งนึงเหมือนที่เราไปหาซื้อตามตลาด แต่ครั้นจะกินแต่ข้าวคงขาดสารอาหารพอดี จะขนของสดไปเยอะก็ลำบากในการเดินทับอีก เพราะไปกันแรมปี พยายามคิดแต่ก็คิดไม่ออกจริงๆครับ ว่าทำกันยังไง😅😅
การกินอาหาร คิดว่า ครอบครัวขุนนาง เศรษฐี ต้องรอพ่อมากินก่อน ก็จะมีวงพ่อและวงลูก พ่อกินแม่ก็จะปรนนิบัติพ่อไป หยิบโน่นหยิบนี่ ม้วนผักเป็นคำ แกะปลา ตักกับข้าวให้ คอยปัดแมลงวัน และอื่น ๆ เพราะกับข้าวมีหลายอย่างบางอย่างมันอยู่ไกลมือเอื้อมตักลำบาก พอพ่อลงมือกิน ลูก ๆ ก็จะเริ่มกินได้ วงลูกก็จะแยกเลยลูกแม่ใหญ่วงนึง ลูกแม่เล็กวงนึง ศักดิ์และศรีก็จะน้อยกว่าลูกแม่ใหญ่ แม้บางคนจะมีอายุเป็นพี่ก็ตาม พอพ่อกินเสร็จก็ไปทำงาน หรือนั่งพัก แม่ก็กินต่อ แล้วลูกสาวคนโต หรือลูกชายคนโตก็ต้องอิ่มแล้วไปปรนนิบัติแม่ จับโน่นจับนี่ ตักโน่นตักนี่ให้แม่ ส่วนบ้านชาวบ้านทั่วไปก็กินกันวงเดียวกันนั่นแหละ พ่อแม่ลูกกับข้าวจานไหนถ้วยไหนอยู่ไกลก็ช่วยตักให้กัน ตอนกินจะไม่คุยกัน กินเสร็จแล้วค่อยคุยกันสารพัดเรื่องราว ระหว่างคุยถ้าจำเป็นต้องคุยก็ต้องเคี้ยวข้าวให้หมดกลืนลงท้องก่อนค่อยพูด คิดว่าในสมัยนั้นก็คงไม่ต่างกันมากนักกับความทรงจำตอนเด็ก แต่ปัจจุบันนี้ต่างอย่างมากมาย
ที่ต้องย้ำเรื่อง อย่าเอาบริบทปัจจุบันไปตัดสินอดีต บ่อยๆเนี้ย เพราะมีคนชอบเอามาปนๆกันบ่อยใช่มั้ยครับ 😊
จะบอกกินได้แค่ ปลาย่าง จนลืมว่า มีหลากหลายให้กิน ซึ่งก็มีชนมอญอยู่ก็มีแกง แบบมอญ ข้าวปุ่น วัฒนธรรมการกินจึงได้หลากหลายชนเผ่าในอยุธยา อุดม
น่าจะเป็นไข่ตัวเห้ เพราะรัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นชาวอยุธยา ท่านก็โปรดเสวย
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ
ชอบวิธีการใช้ชีวิตแบบชาวบ้านสมัยกรุงศรีอยุธยา เรียบง่าย ไม่วุ่นวาย
เชื่อเถอะยุคเราที่ไม่มีทาส น่าอยู่ที่สุดแล้วครับ ดีกว่าพวกเราเป็นทาสมือ ทาสตีนไปตลอดชีวิต นั่นเราไม่มีสิทธิ์คิดทำอะไรได้เองเลย เค้าบอกผิดเราก็ผิด เค้าล่ามโซ่เรา ขังเรา ให้เราอดข้าวอดน้ำ เราก็ต้องจำนนเพราะเราเป็นทาส
นี่ก็ชอบกล ส่อว่าการแยกกันกิน ชะรอย จะเป็นเฉพาะ ครอบครัวขุนนาง โดยเฉพาะขุนนางแขก หรือเศรษฐี กระมัง ถ้าเป็นขุนนางชาวจีน กะ ชาวบ้านแท้ๆ เป็นล้อมวงกินกันแน่ๆ ปลาจ่อม ส่อว่าตาวันวลิต คงแยกไม่ออกระหว่างข้าวคั่วกะ พริกไทยดำป่นกระมัง วัดไม้วา เสียดายที่ไม่มีหลัก 100 วา ที่เป็นไม้หลงเหลือ หรือแม้แต่หลักหิน ส่วนเบี้ยที่เห็นสั่งจากที่พวกแขกอินเดียที่งมจากมัลดีฟท์ และ ฝรั่งสเปนที่ครองฟิลิปปินส์นำมาเมืองสยาม เพราะ หอยเบี้ยที่สยามมี แต่ ไม่ได้สเปกที่ใช้เป็นเงิน เพราะไม่ใช่เบีี้ยขาว เบี้ยเมืองสยามเหมาะจะทำเครื่องรางของขลังมากกว่าครับ
ต้องมีภาค5ต่อน่ะครับอาจารย์หอย
มีครับ กำลังเตรียมทำอยู่เลย อิอิอิ
@@hoyapisak รอติดตามครับผม
สนุกมากค่ะบางอย่างไม่เคยรู้เลย
น่าสนใจมาก ขอบคุณครับ
น้ำปลาพริก = เห็นน้ำปลาเยอะกว่าพริกหรือพริกจมอยู่ก้นถ้วยพริกน้ำปลา = เห็นพริกซอยลอยเต็มถ้วย แทบมองไม่เห็นน้ำปลาที่อยู่ข้างใต้😂😂😂 อันนี้เคยฟังมา
เรื่องกินข้าวน่าจะเป็นพวกขุนนางผู้ใหญ่ ส่วนชาวบ้านทั่วไปก็คงจะกินร่วมกัน
ขอบคุณค่ะ
อาจารย์ครับ มีเรื่องราวของพระมหาเทพนักสู้อยุธยาสมัยพระเจ้าบุเรงนองที่มีเรื่องราวการสุ้รบที่น่าสรรเสริญบันทึกอยู่บนแผ่นทองคำที่ยอดเจดีย์ชเวดากองไหมครับ?
มีแต่ในฉบับพันจัน ไม่เคยมีหลักฐานเกี่ยวกับเจดีย์ชเวดากองเลยครับ mgronline.com/onlinesection/detail/9660000036902
ในสมัยนั้นการจดบันทึกของต่างชาติถือว่าละเอียดมากกว่าของชาวสยามในสมัยนั้นการจดบันทึกนั้นต้องเป็นขุนนาง
ขอทราบเป็นความรู้ครับ1. ใครทำหน้าที่ผลิตและควบคุมปริมาณเงินพดด้วงครับ 2.การผลิตพดด้วงมีหลักเกณฐ์กำกับเหมือนการผลิตธนบัตรที่ต้องมีการเอาทองคำไปสำรองไว้เหมือนในปัจจุบันไหมครับ
ขอบคุณครับแนะนำให้โหลดแอปของพิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยครับ มีข้อมูลของวิวัฒนาการเรื่องเงิน ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบันเลยครับ ชื่อว่า BOTMuseumApp
น้ำปลาพริก อาจจะเป็นน้ำพริกที่ใช้กะปิทำก้อได้นะครับ
เรื่องของการทานข้าวคนเดียวเดี่ยวๆนี่อาจจะเป็นไปได้ว่าเป็นบางบ้านหรือไม่ครับ เพราะพ่อเลี้ยงผมท่านเป็นคนมีวิชาอาคมท่านถือครูก็จะไม่ทานข้าวร่วมกับใครเลย คือจะต้องตักของท่านแยกไว้อีกสำหรับนึงเพราะจะไม่กินต่อจากคนอื่นหมายถึงกับข้าวสำหรับเดียวกันแต่กินหลังคนอื่นเป็นอันขาด
ถ้าเป็นลาลูแบร์ ซึ่งเป็นฝรั่งที่เข้ามาแค่ไม่กี่เดือน ผมอาจจะตั้งข้อสงสัยหนัก ๆ แต่นี่เป็นบาทหลวงที่อยู่อยุธยายาวถึง 4 ปี ผมก็จะรับฟังไว้ก่อนครับ
@@hoyapisak หรืออาจจะอีกนัยนึงคือคนสมัยนั้นถือเรื่องอาคมของขลังกันเป็นปกติเลยทำกิจวัตรแบบนี้โดยเฉพาะการกินโดยทั่วกันหรือไม่ครับ อันนี้ผมเองก็คงได้แต่เดาจริงๆ ผมเพียงแต่พยายามที่จะวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ที่สอดรับกับสิ่งที่เคยได้พบได้เห็นในปัจจุบันน่ะครับ อาจจะมีธรรมเนียมอะไรบางอย่างที่ละเอียดลึกซึ้งและเรายังไม่รู้ก็เป็นได้
ปลาจ่อม คือภาษาอีสาน คนในอยุทธยารู้จักปลาจ่อมด้วยหรือ อีสานใต้เรียกปลาจ่อม บางจ. เรียกว่า ส้มปลาน้อย
ว้าวว บ้านเรามีหลักกิโลมานานแล้ว
อ่าาา จริงด้วยครับ จะเรียกว่าหลักกิโล (หลักลี้) ก็น่าจะได้ 😊
เราถึงเรียก "เงินตรา" เพราะใช้วัสดุคือเงิน และตราสัญลักษณ์ลงไปสินะครับ ในภาษาสเปน คิดเหมือนเราเลยคือ เงินที่เราใช้จ่าย เรียก dinero ดิเน้โหระ แต่บางทีใช้คำว่า plata ปล๊าตะ แปลว่าแร่เงิน หรือเงินที่ใช้จ่ายก็ได้เหมือนกัน แต่ผมสงสัยว่า การทำเงินพดด้วง อันนี้เข้าใจชัดเจนว่าต้องใช้หน่วยเงินให้เป๊ะเท่ามูลค่าของมัน แปลว่าทองคำน้ำหนัก 1 บาท หนักเท่าพดด้วง 1 บาทเลยสินะ แต่สงสัยว่า ถ้าเรางมได้เบี้ยมาเยอะๆ จากแม่น้ำ จากทะเล เอามาใช้มากๆ มันมีผลต่อเงินเฟ้อไหมครับ
มีแต่อังกฤษเนี่ย ที่เรียก money และ coin ในฐานะเงินที่ใช้จ่าย ไม่ใช้คำว่า silver แทนเงินที่ใช้จ่ายเลย
หอยเบี้ยเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่สามารถผลิตขึ้นเองได้ ซึ่งในดินแดนสยามจะไม่ค่อยพบเจอ จะเจอเยอะในมหาสมุทรอินเดีย แต่เนื่องด้วยมูลค่าหอยเบี้ยมีน้อย มีการแตกชำรุดง่าย ค่าเงินไม่คงที่ ถ้าหอยเบี้ยงมได้เยอะก็ทำให้เกิดเงินเฟ้อได้ ทำให้ในยุครัชการที่ 4 จึงเริ่มใช้เงินเหรียญขึ้นมาแทนเบี้ยและเงินพดด้วง
ท่านแชแวส แน่ใจนะว่าท่านไม้ได้โม้ให้เจ้านายฟัง คนไทยเนี่ยนะกินไข่จระเข้ แถมยังต้องรอให้แม่จระเข้กกไข่ให้ได้ที่อีกด้วย
ไข่เหี้ยก็กินนะครับไม่โม้แน่นอน😂
@@Aloha1938 ไข่เหี้ยอร่อยครับ แต่หรือท่านแชแวสจะเข้าใจว่าเหี้ยคือจระเข้?
ในสมัยอยุธยา แม่น่ำจรเข้ชุมครับ เลยน่าจะเป็นไปได้ครับ
@@Aloha1938 สาวสมัยนี้ก็ชอบกินครับอมรังพร้อม😂
ผมว่าพี่หอยถ้าได้นั่งคุยกับอ.ตุ๊กสักepผมว่ามันแน่ อยากเห็น เราจะได้แลกความรุ้กัน
สวัสดีค่ะ
สวัสดีครับ
ทำผิดให้เป็นถูก
สวัสดีครับน้า 😊
ไข่จระเข้ ผมคิดว่าน่าจะเป็นไข่ตัวเงินตัวทอง (ไข่ตัวเหี้ย) ถ้าอาหารการกินอุดมสมบูรณ์ขนาดตัวของมันใหญ่มากแทบไม่ต่างจากจรเข้ แต่มันจะต่างตรงที่มันอ้วนพีลงพุง อาจจะตัวเล็กกว่านิดตัวสั้นกว่าหน่อย ไข่ที่แม่มันกกก็จะเป็นไข่ที่มีตัวอ่อนอยู่ ก็จะเรียกว่าไข่ข้าว (ที่ผมจำมาจากผู้ใหญ่เรียก อาจจะเรียกไม่เหมือนกันในแต่ละพื้นที่) ก็จะคล้าย ๆ กับไข่เป็ด ไข่ไก้ ที่แม่มันกก จะมีตัวอ่อนอยู่ ยิ่งกกนานตัวอ่อนก็จะเป็นตัวมากขึ้น มันแทบจะไม่มีไข่แดงไข่ขาว เนื้อมันจะนุ่มมัน กระดูกจะกรอบเคึ้ยวกรุบ ๆ ผมเห็นก็ไม่กล้ากินแล้ว อร่อยก็อร่อยอยู่ แต่รูปร่างมันเป็นตัวอ่อน เป็นจิ้งจกตุ๊กแกตัวเงินตัวทอง
จากบันทึกสุนทรภู่การเดินทางเรือไปตามแม่น้ำจะเห็นจรเข้มากมาย แสดงว่ามีเยอะมากถึงยุคนี้ นั้นจรเข้ก็มีในยุคอยุธยามากเลย ก็คงเจอไข่จรเข้ได้ง่ายมาก แต่ไข่เหี้ยคงไม่มีบันทึก เพราะไข่จรเข้นำมาต้มก็ยิ่งเหมือนำไข่เป็นต้มซึ่งลูกเรียวรีใหญ่มาก. เอามาเจียวไข่ก็อร่อย ยังไม่เจอบันทึกไข่ตัวเหี้ยเลยในอยุธยา น่าจะอยู่ถิ่นอื่น จนขยายมากทุกวันนี้มากกว่า. เพราะชอบอยู่เขตน้ำเค็ม
@@good1809 ครับ ก็อาจเป็นได้ ตัวเหี้ยโตเต็มวัยนี่มองเผิน ๆ ไม่ต่างจากจรเข้เลย ถ้ามันไม่แลบลิ้นนะ ส่วนใหญ่จะกลัวคน แมวตบมันยังวิ่งหนี ไม่เหมือนจรเข้ที่ไม่กลัวใคร แต่จรเข้คงจะหาที่ก๊กไข่ของมันยากอยู่กระมัง เพราะมันจะขุดโพรงทำรังอยู่ใต้น้ำ ส่วนตัวเหี้ยจะขุดโพรงทำรังอยู่ริมตลิ่ง และแพร่พันธุ์ได้รวดเร็วมาก ตอนผมเป็นเด็ก มีแต่คนนิยมกินเนื้อจรเข้ไม่เห็นมีใครกินไข่จรเข้ มีแต่คนนิยมกินไข่ตัวเหี้ยไม่นิยมกินเนื้อตัวเหี้ย ที่เอามาแต่งเป็นสุภาษิต เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง สมัยนั้นอาจจะนิยมกินไข่จรเข้กันก็เป็นได้ คงจะมีวิธีหารังไปเอาไข่มันได้โดยง่าย
,.
@@good1809 ใช่แล้วเมื่อก่อนจระเข้เยอะมาก แค่ย้อนไปไม่ถึงร้อยปีก็ยังมีอยู่เยอะเลย ทวดผมเสียตอนอายุ104ปีแกเพิ่งเสียไปได้7ปี สมัยที่แกยังอยู่แกชอบเล่าความหลังให้ฟัง จากที่แกเล่าไม่น่าเชื่อว่าไม่กี่สิบปีที่แล้วแถวบ้านผมที่ตอนนี้เป็นชุมชนใหญ่กึ่งเมืองเคยเป็นป่ามีทั้งเสือทั้งช้างทั้งหมี ในน้ำก็มีจระเข้และปลาใหญ่ๆ แกเล่าว่าสมัยก่อนเวลาไปปักเบ็กต้องอยู่เฝ้าเพราะถ้าปลาติดเบ็ดจระเข้จะคาบไปกิน เขาจะมีไม้ไผ่ยาวเอาไว้กระทุ้งหัวจระเข้ไล่มัน เรื่องเล่าจากคนเฒ่าคนแก่สมัยก่อนฟังสนุกมาก
ยุคโน้น ชาวบ้านไม่ได้เรียนหนังสือ คนที่มีโอกาสคือลูกของข้าราชการ และพวกที่บวชเรียน..
เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ก็กู้คืน มาเป็น กรุงธน กรุงรัตนโกสินฯ อยากรู้จังว่า เจ้านายเชื้อพระวงค์ สมัยกรุงศรี ที่ถูกกวาดต้อนไปพม่า ครานั้น ปัจจุบันเป็นอย่างไร ยึงเหลืออยู่หรือไม่ ครับ
เรียกน้ำปลาพริกถูกแล้วครับ
👍👍👍👍👍
มีบันทึกเกี่ยวกับชีวิตชาวบ้านในพม่าบ้างมั้ยครับ เเล้วก็สนใจทำคลิปในส่วนนี้มั้ยครับ
น่าจะมีฝรั่งบันทึกไว้ เหมือนกับที่เขาบันทึกเวลามาอยุธยาครับแต่ปัญหาคือ คนเขียนเขาก็จะต้องเขียนเป็นภาษาฝรั่งเศส ดัตช์ อิหร่าน เยอรมัน โปรตุกิส ฯลฯ ซึ่งคงไม่มีใครเอามาแปลเป็นไทย และผมก็คงอ่านภาษาต้นฉบับพวกนี้ไม่ออกครับ
คนไทยคงไม่เอามาแปลภาษาไทยค่ะ ต้องไปศึกษาทางฝั่งพม่าเอง
น้ำปลาพริกหรือพริกน้ำปลา ที่บอกว่าเหม็น น่าจะทำจาก คล้ายๆ น้ำปลาร้าหรือเปล่าครับ คิดได้แค่นี้😅😅😅😅😅
สมัยนี้ฝรั่งในปัจุบันมันยังว่าน้ำปลาเหม็นเลยครับ.
ผมมาแล้วครับน้าหอย #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #ep129 #ชีวิตชาวบ้านในกรุงศรีอยุธยา
น้ำปลาพริก
อยากได้เสื้อแบบอาจารย์ใส่ เขาเรียกเสื้ออะไรค่ะ
ม่อฮ่อมครับ แต่เป็นแบบกระดุมจีน
อันนี้เรื่องจริง ครอบครัวผมก็จะเป็นแบบนี้ พ่อจะกินแยก แม่ลูกจะกินพร้อมกัน
ยุคนั้นมีการหย่าร้างแล้วเหรอคะ
ฝรั่งบันทึกไว้ให้เห็นชัดเจนครับ กฎหมายตราสามดวงก็มีบอก
😂 ขอบคุณครับ ที่ช่วยเพิ่มเติมความรู้ให้มากยิ่ง😊
พรหมลิขิต ท่านขุน ก็นั่งกินหมูกระทะคนเดียวแยกออกมานะ 5555
การมีเมียเยอะไม่ผิด..ผิดตรงที่.เล่นชู้ครับ...
มีความรู้ดีมากๆขอบคุณค่ะ
ดิฉันสงสัยเล็กๆ ว่า จรเข้ที่เขาทานไข่ของมันนี่... จระเข้ใหญ่... หรือ "จรเข้เล็ก" กันนะ...
ก่อนจะมาเป็น ทหารถือธงแม่ทัพ ต้องฝึกหรือผ่านการคัดเลือกยังไงครับ
ไม่ทราบเลยครับ
ในรูปภาพแรกๆ คือเผ่าไทยวน สังเกตุ ผู้หญิงนุ่งซิ่นลายขวาง
ใกล้เคียงมากครับ 😁จริง ๆ แล้วเป็นชาวไทยเชื้อสายลาว เพราะผมถ่ายจากวัดสมุหประดิษฐาน ที่ อ.เสาไห้ สระบุรี ซึ่งชาวบ้านแถบนี้อพยพมาจาก สปป.ลาว ครับผม
@@hoyapisak คนอ. เสาไห้ น่าจะอพยพมาจาก เมืองโยนกเชียงแสนนะ กลุ่มไทยวนเชียงแสน สมัย ร. 1 กวาดต้อนมาจากเชียงแสน เห็นมีงาน ยวนเยือนยวน สระบุรี
คำว่า ขวนขวาย อ่านว่า ขว_โ-ะ_น เป็นคำควบกล้ำครับไม่ใช่ ข-ัว- น
ตอนท้ายเจอน้องแว่นเข้าไป ลำคานหน่อยๆ
😂
วัดจากขนมไข่เหี้ย ไข่จระเข้นี่คงใช่แน่ค่ะ
😄
ที่ว่ากินข้าวแยกตามระดับนี้น่าจะเป็นบ้านคนชั้นขุุนนางหรือวังเจ้านายรีเปล่าซึงประเพณีนี้มีมาจนถึงรัชกาลที่ 5-6 ในสมัยกรุงเทพนี้
ไข่ข้าวบ้านผมเรียกไข่ฮ้าง(ร้าง)ฮัง(รัง).....ส่วนเงินพดด้วงคนแก่ที่บ้านเรียกว่าเงินหมากค้อ(ก้อ)=กำ
สวัสดีครับ ผมมาแล้ววว
แพรวแอ๊ดไม่รู้จักตัวเงินตัวทอง
แชแวส ท่านแน่ใจนะว่าไข่จรเข้ คำพังเพยเกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง ผมสงสัยว่าจะไม่ใช่จรเข้แล้วล่ะ 😄😄😄😄
จระเข้ ไม่ใช่ จรเข้
กรุงศรีอยุธยาสมัยพระนารายณ์เจริญรุ่งเรืองมากที่สุด
ต้องวงเล็บ เจริญเฉพาะในหมู่ขุนนางที่เข้าถึง 😢
เรายังทันจะกินข้าวต้องรอให้พ่อมากินก่อนห้ามพูดตอนกินข้าวต้องอิ่มก่อนและคอยเก็บสำรับหลังพ่อแม่อิ่ม
ชอบมากสาระดีละเอียดทุกแง่มุมที่นำเสนอหลับตาฟังมองเห็นภาพอดีตในอีกมิติหนึ่ง
ถ้าไม่ฝรั่งท่านนี้เราแทบจะไม่รู้อะไรเลย
ฝรั่งไปเห็นแค่เฉพาะบางครอบครับรึปล่าวครับ
ชอบภาพวาดคน เก่าๆ วิถีชาวบ้านไทยครับ
ปลาจ่อม ทุกวันนี้ที่บ้านผมยังมีทำกินกันอยู่ครับ แล้วมีขายตามตลาดด้วยนะ ที่อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีครับ พี่หอยอยากลองกินมั๊ยเดี๋ยวผมส่งไปให้ครับพี่☺
ผมว่านะมันแค่เขียนบันทึกไว้กับพวกรวยๆอะ ไม่เห็นพูดถึงคนที่เขาไม่ได้เป็นทาสแต่เขาก้อไไม่มีทาสใสบ้านอะ คือ เขาพอมีพอกิน ครอบครัวที่เขาไม่รวยเขาก้อนั่งกินข้าวพร้อมกัน คนไม่รวยก้อไม่สามารถมีเมียน้อยได้เยอะหรอก เขาจดบันทึกแต่ในวัง แต่นอกวังหรือจังหวัดใกล้เคียงเขาไม่เคยออกไปหรอกอยุ่แค่ในวัง ผมว่าข้างนอกวังไม่เป็นอย่างที่เขาบันทึกแน่นอน
เดาว่าคนสยามยุคนั้นยังไม่เจอพ่อค้าแม่ค้าขี้โกง อยู่ด้วยความเชื่อใจกันของชาวบ้าน
มันมีทุกยุคทุกสมัยนั้นเเหละคนโกง สมัยก่อนเถื่อนกว่ายุคปัจจุบัน ยุคก่อนฆ่าปล้น ข่มขื่น มีเยอะกว่ายุคนี้เยอะ
ขอบคุณมากครับ ได้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน
ยิ่งฟังประวัติศาสตร์รู้สึกภูมิใจวัฒนธรรมไทย เคารพบูชาบรรพบุรุษ รักสถาบันพระมหากษัตริย์รักชาติไทยมากๆครับ
11:39 🐟ปลาจ่อม สูตรดั่งเดิมไม่มีส่วนผสมของพริกไทย แต่ที่เห็นเวลาใส่เป็นผงๆ เวลาก่อนที่จะกินนั่นคือ ข้าวคั่วบดเป็นผงใส่เข้าไปเพื่อตัดรสชาติความเปรี้ยวไม่ให้เปรี้ยวมากจนเกินไปและเพื่อเพิ่มความมันและความกลมกล่อมให้กับปลาจ่อมเพิ่มมากขึ้น แต่ฝรั่งคงจะมองกลายๆไปว่าข้าวคั่วบดจนเป็นผงละเอียดนั้นเป็นพริกไทย (เพราะสีมันจะเหมือนกันมากๆ).ก็เป็นได้นะ😢😮😅😊😂😂😂😂😂ิ
ขอบคุณครับ
เรื่องที่พ่อบ้านกินข้าวคนเดียวก่อนคนในครอบครัว สมัยก่อนก็เคยได้ยินลุงเล่าให้ฟังว่าชายชาวอีสานในสมัยก่อนที่เรียนคาถาอาคมมักจะไม่กินข้าวร่วมกับคนในครอบครัว หรือหากต้องกินข้าวร่วมกับคนอื่น หากบังเอิญมือไปชนกันในจังหวะหยิบกับข้าว เค้าจะหยุดกินทันที ทั้งนี้เพราะการถือขะลำ(ข้อห้ามต่างๆ) ของคนที่เรียนคาถาอาคมครับ
ขอบคุณมากครับ
ถือมากๆแล้วกลับทำไม่ได้ก็ระวังจะเป็นปอบเด้อ คิคิ😢😮😅😊😂😂😂
บ้านเกิดผมอยู่ที่ อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ครับคุณหอย
ชื่อเดิมของปากพนังคือ อ.เบี้ยสัจจ์ ตอนเรียนสมัยเด็กประถม ครูๆจะเล่าว่า
เบี้ยสัจจ์ มาจากคำว่า เบี้ยซัด หมายถึง หอยเบี้ยที่ถูกทะเลซัดขึ้นมาตามหาด ซึ่งจะพบมากที่นี่
สมัยก่อนทางราชการจะมากันพื้นที่เพื่อเก็บไปทำเงินตรา
จริงเท็จอย่างไรตอนนี้ก็ไม่ทราบได้ เพราะเป็นเรื่องเล่า
แต่มาเล่าให้ฟังเผื่อเป็นเกร็ดเล็กๆ ให้คุณหอยได้สืบค้นต่อไปครับ
ขอบคุณมากครับ
ไข่เหี้ยหรือตัวเงินตัวทองยังไม่มีข้อมูลว่ากินกันทั่วๆไปนะที่บ้านตจว. แต่ส่วนตัวเคยกินไข่"ตะกวด" ตอนเป็นเด็กมันมีความ"มัน"มากจนเวียนหัวเลยเชียวแหละ
ปลาจ่อม คนทางภาคอีสาน จะทำกินประจำ ก็จะมีกุ้งฝอย กับปลาซิล หรือปลาซิลอย่างเดียว คือปลาตัวเล็กๆนะครับ เขาเอามาหมัก หรือถนอมอาหารทำให้เป็นปลาส้ม พอมันส้มแล้วสัก 7-8 วัน ก็เอามากินได้เลย กับพริก ผักต่างๆ ข้าวเหนียว เข้ากันมากครับ ที่บ้านกินประจำ
ขอบคุณมากครับ
ปลาส้มจ่อม คือปลาร้านั้นเหละ
@@kelvinpual4425 คนล่ะอย่างกันเลย ปลาส้มก็คือปลาส้ม ปลาจ่อมก็คือปลาจ่อม ส่วนปลาร้าก็คือปลาร้า รสชาติก็ต่างกัน แถมปลาจ่อมถ้าเก็บไม่ดีก็บูด ปลาร้าไม่มีวันบูด เอาไปใส่ส้มตำได้ ปลาจ่อมปลาส้ม ใส่ส้มตำไม่ได้
ปลาร้าก็ปลาร้า ปลาจ่อมก็อีกแบบอย่ามั่ว
ปลาจ่อมคือการเอาปลาซิวมาล้างควักไส้ออกแล้วคลุกกับเกลือใส่โหลหรือไหปิดฝาทิ้งไว้ในอุณหภูมิปกติประมาณ7วัน เวลาจะกินก็เทออกมาคลุกกับพริกซอย ตะไคร้ ผักชี และใส่ข้าวคั่วให้มีกลิ่นหอมค่อยเอามากินค่ะ ฝรั่งอาจจะเห็นข้าวคั่วเป็นพริกไทยก็ได้นะคะ🤔
ขอบคุณครับ
🎉🎉เคยเจอที่ภูเก็ต ที่หาดปาตอง หาดกะหลิม มันยังมีชีวิตเลยปล่อย ไม่เยอะแต่ยังมี
เหมือนทวดที่บ้านเลย ผัวกินก่อน อิ่มแล้วเมียกินตามหลัง แถมไม่ค่อยหิวด้วย เพราะกินตอนทำแล้ว 😂🤣.
คอนเท้นแบบนี้ชอบมากครับ คิเว่าจะไม่มีEP4แล้ว ผมอยากรู้วิถีชีวิตชาวบ้านแบบละเอียดๆแบบนี้พอดี
ขอบคุณครับ ยังมีข้อมูลมากพอสำหรับทำอีก 1 ตอนครับ
ตลาดอยุธยาเปิด5โมงเย็นถึง2-3ทุ่ม= night marketมีต้นกำเนิดจากอยุธยา 😂
❤ขอบคุณครับ... ข้อมูลความรู้ครับ..❤
ชอบจังค่ะ ฟังเพลินเลย ย้อนอดีตบรรพบุรุษของเรา
ฝรั่ง เขามีหัวคิดก้าวหน้า นักสำรวจศึกษาจดบันทึกทุกอย่างที่มีประโยชน์ มาแต่อดีต นักวิชาการปัจจุบัน จึงได้มีข้อมูล ความเป็นไปของคนไทยในอดีต ส่วนคนไทย ทำมาหากินไป ไม่สนใจบันทึกอะไร กรือเปล่า บันทึกคนชั้นเจ้าขุนมูลนายนักปกครองของไทยแต่ละสมัย ไม่รู้มีหรือไม่ ส่วนมากได้ข้อมูลบันทึกชาวฝรั่ง
จริงของราชสำนักอยุธยามีครับ แต่คงจะมอดไหม้ไปกับเพลิงแล้ว
ที่นครศรี ธรรมเนียมกินข้าวแบบโบราณเคยเห็นคนเก่าๆยังทำอยู่ คือ หลังจากทำอาหารเสร็จทุกครั้ง ยายผมจะตักสำรับให้พระก่อน ถัดมาก็ตักแบ่งสำรับให้ตา ที่เหลือก็เป็นสมาชิกในบ้าน
ส่วนการเลี้ยงเด็กแรกเกิดนี่แกคงเข้าใจผิด ตอนผมเลี้ยงน้อง พอหกเดือน ย่าจะให้กินกล้วยน้ำว้าสุกบด ๆ ให้เละ ใช้ช้อนชาตักผสมกับน้ำเปล่าป้อน เด็กก็จะดูด ๆ และกลืนลงไป และก็ให้กินนมแม่ด้วย เพราะจะได้ถ่ายง่าย ขี้ไม่แข็งอุดตูด กินครึ่งลูกถึงหนึ่งลูกเช้าและเย็นทุกวัน คนป้อนเหยีดขาชิดกันแล้วเอาเด็กวางที่ขาจะลงร่องขาพอดีไม่พลิกหล่น หันหัวเด็กไปปลายเท้าและหนุนอยู่บนหัวเข่าคนป้อนแทนหมอน ถ้าเด็กอิ่มเขาจะเอาลิ้นดุนออกทิ้ง หรือจับท้องเบา ๆ ว่าตึงหรือยัง ตอนผมเลี้ยงหลาน แม่เขาไม่ได้ให้กินกล้วยสุกบดเละ หลานขี้ไม่ออก ร้องไห้จ้าหน้าเขียวอี๋ทรมานมาก พาไปหาหมอเอายาสวนตูดขี้พุ่งออกมาเป็นแท่งเลย และก็ท้องผูกอยู่บ่อยครั้ง เด็กหกเดือนไม่มีฟันจะให้กินข้าวได้ยังไง แต่ก็ไม่แน่นะอาจจะเป็นโจ๊กก็ได้ แต่เด็กทารกกินนี่ท้องผูกขี้ไม่ออกตายแน่นอน อัตราการตายเลยสูงกระมัง ตอนผมเลี้ยงน้องจะให้กินข้าวก็ตอนฟันน้ำนมขึ้นมาแล้ว ตอนสองขวบครึ่งหรือสามขวบ แต่ก็เป็นข้าวต้มเละ ๆ ใส่ไข่บ้าง เนื้อปลาบ้าง หมูหยองบ้าง
น่าสนใจครับ ขอบคุณครับ
ใช่ๆ แม่ผมก็ป้อนกล้วยน้ำว้าเหมือนกัน
แถวบ้านเด็ก5-6เดือน ป้อนข้าวบดกล้ายน้ำว้าบ้าง ข้าวบดไข่แดงบ้าง ใช้ช้อนบดแน้นๆใส่น้ำต้มสุกบดจนเป็นเนื้อครีม ส่วนมากป้อนสลับกับให้นม
โตขึ้นมาหน่อย มีบดข้าวกับแกงต้มจืดตำลึง
เบี้ยในบ้านเราเมื่อก่อนพบน้อยมาก ฝรั่งเลยไปงมมาจากที่อื่นก่อนจะมาสยามแล้วนำมาใช้
สมัยเด็ก ๆ ยาย จะกินข้าวประมาณนี้ ข้าว ปลาย่าง ปลาทอด น้ำพริก ปลาร้า ปลาเจ่า ปลาจ่อม ผักต้ม ไข่เจียว ไข่ต้ม ประมาณนี้ เหมือนกัน
ชอบแนววิถีชีวิตของชาวบ้านมากๆคับ ถ้ามีข้อมูลอีก ทำคลิปแนวนี้บ่อยๆนะคับ❤❤
ขอบคุณครับ น่าจะมีอีก 1 ภาค เร็ว ๆ นี้ครับ
เพิ่มเติม เกี่ยวกับผู้สนับสนุนตอนนี้...ยาสีคอลบาเด้นท์ ใช้ดีมากจริงๆค่ะ ที่บ้านใช้อยู่ ใช้มานานหลายปีแล้ว แปรงก่อนนอน เช้ามาไม่มีกลิ่นปากเลย คอนเฟิร์มว่า ใช้ดีจริงค่ะ...ขอบคุณอาจารย์ที่เล่าให้ฟัง ชอบฟังวิถีชีวิตชาวบ้านค่ะ
ขอบพระคุณมากครับ ผมเองก็ใช้ประจำมานานแล้ว ทั้งยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปาก ปัญหาในช่องปากลดลงอย่างเห็นได้ชัดครับ 😊
ยาสีฟันน่าใช้มากค่ะ
😊
ถึงปัจจุบันนี้คนใต้ ยังเรียกเงิน ว่าเบี้ย, ดู ว่าแล, คุณ เธอ ว่าโบ๋สู
ขอบคุณครับ
ตรัง พัทลุง ยังใช้คำว่า พ่อ…ขอเบี้ยหิดถี(ถ้าเขาจะขอเงินจากพ่อสักหน่อยนึง)ผมเองไปเรียนตรังหลายปี ปัจจุบันผมยังใช้คำนี้ครับ
19:27 คงเพราะสินค้าที่จำต่อชาวต่างชาติ นั้นถูกผูกขาดการค้าขายจากกษัตริย์และชนชั้นสูงเท่านั้นส่วนชาวบ้านและคนธรรมดาๆนั้นถือเป็นสิ่งต้องห้าม..ถ้าใครทำต้องถือเป็นความผิด..นะ..ครับ😢😮😅😊😊😮😮😮
การจดบันทึกของชาวต่างชาติหลายๆคนทำให้ประวัติศาสตร์ไทยได้รับการประติดประต่อเรื่องราวให้ชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ขอบคุณอาจารย์พี่หอยครับ ชอบมากๆครับเรื่องราวของชาวบ้านโบราณ
จริงครับ สนุกมาก ทำให้เรารู้ว่า ประวัติศาสตร์ไม่ได้มีแค่เรื่องสงคราม
คำว่า พด ทางภาคใต้บ้านผมยังใช้อยู่เลยครับ อย่างคำว่า นั่นเห็นมั้ยงูนอนพักอยู่ใต้ตอไม้คุณเห็นมั้ย 🤣
ขอบคุณครับ
นอนพดอยู่5555 เเละพดพร้าวคับ5555
@@surachaipukdeechon4405 ใช่ครับแปลว่า ม้วนคดงอคดโค้งสุโขทัยกับภาคใต้เป็นหนึ่งเดียวกันมาเนิ่นนานยิ่งนัก😁
เป็นตอนที่ผมรอและอยากฟังมากครับ
อยากรู้ว่าคนสมัยก่อนอยู่กันแบบไหน
ขอบคุณครับ
น้ำเสียง บุคลิก ความรู้ ของแอ๊ดมิน สามารถทำให้ ผู้ฟังผู้ชม เข้าใจมีิอารมย์ร่วมไปกับท่านด้วย
ขอบคุณนะค่ะที่ให้ความรู้
ขอบคุณครับ
การกินข้าว น่าจะเป็นความจริง, หัวหน้าครอบครัวกินก่อน,ตามด้วยลูกเมีย, เหลือถึงคนรับใช้ ดังมีคำโบราณว่า "กินให้เหลือ เผื่อคนหลังบ้าง"
ขอบคุณมากนะคะที่นำมาเล่าให้ฟังค่ะ
ปลาจ่อมบ้านผมเหมือนปลาร้าแต่ใช้ปลาซิวหมัก เวลากินก็ใส่พริกสับครับ 😊😊
ปลาจ่อม ใช่ครับ เครื่องปรุงจะมีปลาชิว กุ้งผอย เป็นหลัก บางสูตรอาจจะให้หอยก็ได้ วิธีการทำจะทำคล้ายกับปลาล่า(ปลาแดก)
ขอบคุณครับ
ชอบให้เล่าเรื่องชาวบ้านมากๆครับ❤
ขอบคุณครับ
หามาเล่าอีกเยอะๆนะครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับบบ🙏
ลำบากเนอะคนเกิดยุคนั้นรุ่นคนเกิคยุคต์นั้น ทวดปู่ย่าตายาย...
เป็นรุ่นใหม่อีกคนที่ชอบวัฒนธรรมของไทยเรามากค่ะอยากรู่ว่าสมัยก่อนใช้อะไรในปารดกรงชีวิตกันบ้าง เวลาว่างทำอะไรกัน กินอะไร คือควรค่าแก่การศึกษามาก ๆ เลยค่ะ
ขอบคุณครับ
จริงหรือไม่😲 ที่ว่าสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์องค์แรกของอยุธยา ได้สั่งดำเนินการขุดแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมกับแม่น้ำป่าสักทึ่เมืองอินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี 🙏☺️💐👏ขอบคุณมากค่ะ 😄
ขุดสมัย พระนาราย์ ครับ เส้น เดิม ผ่านโคกสำโรง บ้านหมี่ บรรพตพิสัย
อาหารการกินมาแล้ว ขอบคุณครับ 🙏🙏
ขอบคุณที่ข่วยแนะนำเช่นกันครับ แต่ก็มีเรื่องอาหารการกินแค่หน่อยเดียวเองครับ เพราะในภาคก่อน ๆ เคยพูดถึงไปบ้างแล้ว
@@hoyapisak ผมสนใจเพราะมีข้อมูลน้อยมาก ยิ่งตอนไปรบ คำว่าขนเสบียง เขาขนอะไรไปเลี้ยงคนเป็นหมื่นเป็นแสน ซึ่งในยุคนั้นข้าวคงเป็นหลัก แต่อาหารสดเช่นหมูไก่ปลา คงหาไม่ได้ง่ายและเพียงพอต่อจำนวนคนในการยกทับครั้งนึงเหมือนที่เราไปหาซื้อตามตลาด แต่ครั้นจะกินแต่ข้าวคงขาดสารอาหารพอดี จะขนของสดไปเยอะก็ลำบากในการเดินทับอีก เพราะไปกันแรมปี พยายามคิดแต่ก็คิดไม่ออกจริงๆครับ ว่าทำกันยังไง😅😅
การกินอาหาร คิดว่า ครอบครัวขุนนาง เศรษฐี ต้องรอพ่อมากินก่อน ก็จะมีวงพ่อและวงลูก พ่อกินแม่ก็จะปรนนิบัติพ่อไป หยิบโน่นหยิบนี่ ม้วนผักเป็นคำ แกะปลา ตักกับข้าวให้ คอยปัดแมลงวัน และอื่น ๆ เพราะกับข้าวมีหลายอย่างบางอย่างมันอยู่ไกลมือเอื้อมตักลำบาก พอพ่อลงมือกิน ลูก ๆ ก็จะเริ่มกินได้ วงลูกก็จะแยกเลยลูกแม่ใหญ่วงนึง ลูกแม่เล็กวงนึง ศักดิ์และศรีก็จะน้อยกว่าลูกแม่ใหญ่ แม้บางคนจะมีอายุเป็นพี่ก็ตาม พอพ่อกินเสร็จก็ไปทำงาน หรือนั่งพัก แม่ก็กินต่อ แล้วลูกสาวคนโต หรือลูกชายคนโตก็ต้องอิ่มแล้วไปปรนนิบัติแม่ จับโน่นจับนี่ ตักโน่นตักนี่ให้แม่ ส่วนบ้านชาวบ้านทั่วไปก็กินกันวงเดียวกันนั่นแหละ พ่อแม่ลูกกับข้าวจานไหนถ้วยไหนอยู่ไกลก็ช่วยตักให้กัน ตอนกินจะไม่คุยกัน กินเสร็จแล้วค่อยคุยกันสารพัดเรื่องราว ระหว่างคุยถ้าจำเป็นต้องคุยก็ต้องเคี้ยวข้าวให้หมดกลืนลงท้องก่อนค่อยพูด คิดว่าในสมัยนั้นก็คงไม่ต่างกันมากนักกับความทรงจำตอนเด็ก แต่ปัจจุบันนี้ต่างอย่างมากมาย
ขอบคุณครับ
ที่ต้องย้ำเรื่อง อย่าเอาบริบทปัจจุบันไปตัดสินอดีต บ่อยๆเนี้ย เพราะมีคนชอบเอามาปนๆกันบ่อยใช่มั้ยครับ 😊
😊
จะบอกกินได้แค่ ปลาย่าง จนลืมว่า มีหลากหลายให้กิน ซึ่งก็มีชนมอญอยู่ก็มีแกง แบบมอญ ข้าวปุ่น วัฒนธรรมการกินจึงได้หลากหลายชนเผ่าในอยุธยา อุดม
น่าจะเป็นไข่ตัวเห้ เพราะรัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นชาวอยุธยา ท่านก็โปรดเสวย
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ
ขอบคุณครับ
ชอบวิธีการใช้ชีวิตแบบชาวบ้านสมัยกรุงศรีอยุธยา เรียบง่าย ไม่วุ่นวาย
เชื่อเถอะยุคเราที่ไม่มีทาส น่าอยู่ที่สุดแล้วครับ ดีกว่าพวกเราเป็นทาสมือ ทาสตีนไปตลอดชีวิต นั่นเราไม่มีสิทธิ์คิดทำอะไรได้เองเลย เค้าบอกผิดเราก็ผิด เค้าล่ามโซ่เรา ขังเรา ให้เราอดข้าวอดน้ำ เราก็ต้องจำนนเพราะเราเป็นทาส
นี่ก็ชอบกล ส่อว่าการแยกกันกิน ชะรอย จะเป็นเฉพาะ ครอบครัวขุนนาง โดยเฉพาะขุนนางแขก หรือเศรษฐี กระมัง ถ้าเป็นขุนนางชาวจีน กะ ชาวบ้านแท้ๆ เป็นล้อมวงกินกันแน่ๆ ปลาจ่อม ส่อว่าตาวันวลิต คงแยกไม่ออกระหว่างข้าวคั่วกะ พริกไทยดำป่นกระมัง วัดไม้วา เสียดายที่ไม่มีหลัก 100 วา ที่เป็นไม้หลงเหลือ หรือแม้แต่หลักหิน ส่วนเบี้ยที่เห็นสั่งจากที่พวกแขกอินเดียที่งมจากมัลดีฟท์ และ ฝรั่งสเปนที่ครองฟิลิปปินส์นำมาเมืองสยาม เพราะ หอยเบี้ยที่สยามมี แต่ ไม่ได้สเปกที่ใช้เป็นเงิน เพราะไม่ใช่เบีี้ยขาว เบี้ยเมืองสยามเหมาะจะทำเครื่องรางของขลังมากกว่าครับ
ขอบคุณครับ
ต้องมีภาค5ต่อน่ะครับอาจารย์หอย
มีครับ กำลังเตรียมทำอยู่เลย อิอิอิ
@@hoyapisak รอติดตามครับผม
สนุกมากค่ะบางอย่างไม่เคยรู้เลย
ขอบคุณมากครับ
น่าสนใจมาก ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
น้ำปลาพริก = เห็นน้ำปลาเยอะกว่าพริกหรือพริกจมอยู่ก้นถ้วย
พริกน้ำปลา = เห็นพริกซอยลอยเต็มถ้วย แทบมองไม่เห็นน้ำปลาที่อยู่ข้างใต้
😂😂😂 อันนี้เคยฟังมา
ขอบคุณครับ
เรื่องกินข้าวน่าจะเป็นพวกขุนนางผู้ใหญ่ ส่วนชาวบ้านทั่วไปก็คงจะกินร่วมกัน
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณมากครับ
อาจารย์ครับ
มีเรื่องราวของพระมหาเทพนักสู้อยุธยาสมัยพระเจ้าบุเรงนองที่มีเรื่องราวการสุ้รบที่น่าสรรเสริญบันทึกอยู่บนแผ่นทองคำที่ยอดเจดีย์ชเวดากองไหมครับ?
มีแต่ในฉบับพันจัน ไม่เคยมีหลักฐานเกี่ยวกับเจดีย์ชเวดากองเลยครับ
mgronline.com/onlinesection/detail/9660000036902
ในสมัยนั้นการจดบันทึกของต่างชาติถือว่าละเอียดมากกว่าของชาวสยามในสมัยนั้นการจดบันทึกนั้นต้องเป็นขุนนาง
ขอทราบเป็นความรู้ครับ
1. ใครทำหน้าที่ผลิตและควบคุมปริมาณเงินพดด้วงครับ
2.การผลิตพดด้วงมีหลักเกณฐ์กำกับเหมือนการผลิตธนบัตรที่ต้องมีการเอาทองคำไปสำรองไว้เหมือนในปัจจุบันไหมครับ
ขอบคุณครับ
แนะนำให้โหลดแอปของพิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยครับ มีข้อมูลของวิวัฒนาการเรื่องเงิน ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบันเลยครับ ชื่อว่า BOTMuseumApp
น้ำปลาพริก อาจจะเป็นน้ำพริกที่ใช้กะปิทำก้อได้นะครับ
เรื่องของการทานข้าวคนเดียวเดี่ยวๆนี่อาจจะเป็นไปได้ว่าเป็นบางบ้านหรือไม่ครับ เพราะพ่อเลี้ยงผมท่านเป็นคนมีวิชาอาคมท่านถือครูก็จะไม่ทานข้าวร่วมกับใครเลย คือจะต้องตักของท่านแยกไว้อีกสำหรับนึงเพราะจะไม่กินต่อจากคนอื่นหมายถึงกับข้าวสำหรับเดียวกันแต่กินหลังคนอื่นเป็นอันขาด
ถ้าเป็นลาลูแบร์ ซึ่งเป็นฝรั่งที่เข้ามาแค่ไม่กี่เดือน ผมอาจจะตั้งข้อสงสัยหนัก ๆ แต่นี่เป็นบาทหลวงที่อยู่อยุธยายาวถึง 4 ปี ผมก็จะรับฟังไว้ก่อนครับ
@@hoyapisak หรืออาจจะอีกนัยนึงคือคนสมัยนั้นถือเรื่องอาคมของขลังกันเป็นปกติเลยทำกิจวัตรแบบนี้โดยเฉพาะการกินโดยทั่วกันหรือไม่ครับ อันนี้ผมเองก็คงได้แต่เดาจริงๆ ผมเพียงแต่พยายามที่จะวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ที่สอดรับกับสิ่งที่เคยได้พบได้เห็นในปัจจุบันน่ะครับ อาจจะมีธรรมเนียมอะไรบางอย่างที่ละเอียดลึกซึ้งและเรายังไม่รู้ก็เป็นได้
ปลาจ่อม คือภาษาอีสาน คนในอยุทธยารู้จักปลาจ่อมด้วยหรือ อีสานใต้เรียกปลาจ่อม บางจ. เรียกว่า ส้มปลาน้อย
ว้าวว บ้านเรามีหลักกิโลมานานแล้ว
อ่าาา จริงด้วยครับ จะเรียกว่าหลักกิโล (หลักลี้) ก็น่าจะได้ 😊
เราถึงเรียก "เงินตรา" เพราะใช้วัสดุคือเงิน และตราสัญลักษณ์ลงไปสินะครับ
ในภาษาสเปน คิดเหมือนเราเลยคือ เงินที่เราใช้จ่าย เรียก dinero ดิเน้โหระ แต่บางทีใช้คำว่า plata ปล๊าตะ แปลว่าแร่เงิน หรือเงินที่ใช้จ่ายก็ได้เหมือนกัน
แต่ผมสงสัยว่า การทำเงินพดด้วง อันนี้เข้าใจชัดเจนว่าต้องใช้หน่วยเงินให้เป๊ะเท่ามูลค่าของมัน
แปลว่าทองคำน้ำหนัก 1 บาท หนักเท่าพดด้วง 1 บาทเลยสินะ
แต่สงสัยว่า ถ้าเรางมได้เบี้ยมาเยอะๆ จากแม่น้ำ จากทะเล เอามาใช้มากๆ มันมีผลต่อเงินเฟ้อไหมครับ
มีแต่อังกฤษเนี่ย ที่เรียก money และ coin ในฐานะเงินที่ใช้จ่าย ไม่ใช้คำว่า silver แทนเงินที่ใช้จ่ายเลย
ขอบคุณครับ
หอยเบี้ยเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่สามารถผลิตขึ้นเองได้ ซึ่งในดินแดนสยามจะไม่ค่อยพบเจอ จะเจอเยอะในมหาสมุทรอินเดีย แต่เนื่องด้วยมูลค่าหอยเบี้ยมีน้อย มีการแตกชำรุดง่าย ค่าเงินไม่คงที่ ถ้าหอยเบี้ยงมได้เยอะก็ทำให้เกิดเงินเฟ้อได้ ทำให้ในยุครัชการที่ 4 จึงเริ่มใช้เงินเหรียญขึ้นมาแทนเบี้ยและเงินพดด้วง
ท่านแชแวส แน่ใจนะว่าท่านไม้ได้โม้ให้เจ้านายฟัง คนไทยเนี่ยนะกินไข่จระเข้ แถมยังต้องรอให้แม่จระเข้กกไข่ให้ได้ที่อีกด้วย
ไข่เหี้ยก็กินนะครับไม่โม้แน่นอน😂
@@Aloha1938 ไข่เหี้ยอร่อยครับ แต่หรือท่านแชแวสจะเข้าใจว่าเหี้ยคือจระเข้?
ในสมัยอยุธยา แม่น่ำจรเข้ชุมครับ เลยน่าจะเป็นไปได้ครับ
@@Aloha1938 สาวสมัยนี้ก็ชอบกินครับอมรังพร้อม😂
ผมว่าพี่หอยถ้าได้นั่งคุยกับอ.ตุ๊กสักepผมว่ามันแน่ อยากเห็น เราจะได้แลกความรุ้กัน
สวัสดีค่ะ
สวัสดีครับ
ทำผิดให้เป็นถูก
สวัสดีครับน้า 😊
สวัสดีครับ
ไข่จระเข้ ผมคิดว่าน่าจะเป็นไข่ตัวเงินตัวทอง (ไข่ตัวเหี้ย) ถ้าอาหารการกินอุดมสมบูรณ์ขนาดตัวของมันใหญ่มากแทบไม่ต่างจากจรเข้ แต่มันจะต่างตรงที่มันอ้วนพีลงพุง อาจจะตัวเล็กกว่านิดตัวสั้นกว่าหน่อย ไข่ที่แม่มันกกก็จะเป็นไข่ที่มีตัวอ่อนอยู่ ก็จะเรียกว่าไข่ข้าว (ที่ผมจำมาจากผู้ใหญ่เรียก อาจจะเรียกไม่เหมือนกันในแต่ละพื้นที่) ก็จะคล้าย ๆ กับไข่เป็ด ไข่ไก้ ที่แม่มันกก จะมีตัวอ่อนอยู่ ยิ่งกกนานตัวอ่อนก็จะเป็นตัวมากขึ้น มันแทบจะไม่มีไข่แดงไข่ขาว เนื้อมันจะนุ่มมัน กระดูกจะกรอบเคึ้ยวกรุบ ๆ ผมเห็นก็ไม่กล้ากินแล้ว อร่อยก็อร่อยอยู่ แต่รูปร่างมันเป็นตัวอ่อน เป็นจิ้งจกตุ๊กแกตัวเงินตัวทอง
ขอบคุณครับ
จากบันทึกสุนทรภู่การเดินทางเรือไปตามแม่น้ำจะเห็นจรเข้มากมาย แสดงว่ามีเยอะมากถึงยุคนี้ นั้นจรเข้ก็มีในยุคอยุธยามากเลย ก็คงเจอไข่จรเข้ได้ง่ายมาก แต่ไข่เหี้ยคงไม่มีบันทึก เพราะไข่จรเข้นำมาต้มก็ยิ่งเหมือนำไข่เป็นต้มซึ่งลูกเรียวรีใหญ่มาก. เอามาเจียวไข่ก็อร่อย ยังไม่เจอบันทึกไข่ตัวเหี้ยเลยในอยุธยา น่าจะอยู่ถิ่นอื่น จนขยายมากทุกวันนี้มากกว่า. เพราะชอบอยู่เขตน้ำเค็ม
@@good1809 ครับ ก็อาจเป็นได้ ตัวเหี้ยโตเต็มวัยนี่มองเผิน ๆ ไม่ต่างจากจรเข้เลย ถ้ามันไม่แลบลิ้นนะ ส่วนใหญ่จะกลัวคน แมวตบมันยังวิ่งหนี ไม่เหมือนจรเข้ที่ไม่กลัวใคร แต่จรเข้คงจะหาที่ก๊กไข่ของมันยากอยู่กระมัง เพราะมันจะขุดโพรงทำรังอยู่ใต้น้ำ ส่วนตัวเหี้ยจะขุดโพรงทำรังอยู่ริมตลิ่ง และแพร่พันธุ์ได้รวดเร็วมาก ตอนผมเป็นเด็ก มีแต่คนนิยมกินเนื้อจรเข้ไม่เห็นมีใครกินไข่จรเข้ มีแต่คนนิยมกินไข่ตัวเหี้ยไม่นิยมกินเนื้อตัวเหี้ย ที่เอามาแต่งเป็นสุภาษิต เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง สมัยนั้นอาจจะนิยมกินไข่จรเข้กันก็เป็นได้ คงจะมีวิธีหารังไปเอาไข่มันได้โดยง่าย
,.
@@good1809 ใช่แล้วเมื่อก่อนจระเข้เยอะมาก แค่ย้อนไปไม่ถึงร้อยปีก็ยังมีอยู่เยอะเลย ทวดผมเสียตอนอายุ104ปีแกเพิ่งเสียไปได้7ปี สมัยที่แกยังอยู่แกชอบเล่าความหลังให้ฟัง จากที่แกเล่าไม่น่าเชื่อว่าไม่กี่สิบปีที่แล้วแถวบ้านผมที่ตอนนี้เป็นชุมชนใหญ่กึ่งเมืองเคยเป็นป่ามีทั้งเสือทั้งช้างทั้งหมี ในน้ำก็มีจระเข้และปลาใหญ่ๆ แกเล่าว่าสมัยก่อนเวลาไปปักเบ็กต้องอยู่เฝ้าเพราะถ้าปลาติดเบ็ดจระเข้จะคาบไปกิน เขาจะมีไม้ไผ่ยาวเอาไว้กระทุ้งหัวจระเข้ไล่มัน เรื่องเล่าจากคนเฒ่าคนแก่สมัยก่อนฟังสนุกมาก
ยุคโน้น ชาวบ้านไม่ได้เรียนหนังสือ คนที่มีโอกาสคือลูกของข้าราชการ และพวกที่บวชเรียน..
เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ก็กู้คืน มาเป็น กรุงธน กรุงรัตนโกสินฯ อยากรู้จังว่า เจ้านายเชื้อพระวงค์ สมัยกรุงศรี ที่ถูกกวาดต้อนไปพม่า ครานั้น ปัจจุบันเป็นอย่างไร ยึงเหลืออยู่หรือไม่ ครับ
เรียกน้ำปลาพริกถูกแล้วครับ
ขอบคุณครับ
👍👍👍👍👍
มีบันทึกเกี่ยวกับชีวิตชาวบ้านในพม่าบ้างมั้ยครับ เเล้วก็สนใจทำคลิปในส่วนนี้มั้ยครับ
น่าจะมีฝรั่งบันทึกไว้ เหมือนกับที่เขาบันทึกเวลามาอยุธยาครับ
แต่ปัญหาคือ คนเขียนเขาก็จะต้องเขียนเป็นภาษาฝรั่งเศส ดัตช์ อิหร่าน เยอรมัน โปรตุกิส ฯลฯ ซึ่งคงไม่มีใครเอามาแปลเป็นไทย และผมก็คงอ่านภาษาต้นฉบับพวกนี้ไม่ออกครับ
คนไทยคงไม่เอามาแปลภาษาไทยค่ะ ต้องไปศึกษาทางฝั่งพม่าเอง
น้ำปลาพริกหรือพริกน้ำปลา ที่บอกว่าเหม็น น่าจะทำจาก คล้ายๆ น้ำปลาร้าหรือเปล่าครับ คิดได้แค่นี้😅😅😅😅😅
สมัยนี้ฝรั่งในปัจุบันมันยังว่าน้ำปลาเหม็นเลยครับ.
ผมมาแล้วครับน้าหอย #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #ep129 #ชีวิตชาวบ้านในกรุงศรีอยุธยา
สวัสดีครับ
น้ำปลาพริก
อยากได้เสื้อแบบอาจารย์ใส่ เขาเรียกเสื้ออะไรค่ะ
ม่อฮ่อมครับ แต่เป็นแบบกระดุมจีน
อันนี้เรื่องจริง ครอบครัวผมก็จะเป็นแบบนี้ พ่อจะกินแยก แม่ลูกจะกินพร้อมกัน
ยุคนั้นมีการหย่าร้างแล้วเหรอคะ
ฝรั่งบันทึกไว้ให้เห็นชัดเจนครับ กฎหมายตราสามดวงก็มีบอก
😂 ขอบคุณครับ ที่ช่วยเพิ่มเติมความรู้ให้มากยิ่ง😊
พรหมลิขิต ท่านขุน ก็นั่งกินหมูกระทะคนเดียวแยกออกมานะ 5555
การมีเมียเยอะไม่ผิด..ผิดตรงที่.เล่นชู้ครับ...
มีความรู้ดีมากๆขอบคุณค่ะ
ดิฉันสงสัยเล็กๆ ว่า จรเข้ที่เขาทานไข่ของมันนี่... จระเข้ใหญ่... หรือ "จรเข้เล็ก" กันนะ...
น่าสนใจครับ ขอบคุณครับ
ก่อนจะมาเป็น ทหารถือธงแม่ทัพ ต้องฝึกหรือผ่านการคัดเลือกยังไงครับ
ไม่ทราบเลยครับ
ในรูปภาพแรกๆ คือเผ่าไทยวน สังเกตุ ผู้หญิงนุ่งซิ่นลายขวาง
ใกล้เคียงมากครับ 😁
จริง ๆ แล้วเป็นชาวไทยเชื้อสายลาว เพราะผมถ่ายจากวัดสมุหประดิษฐาน ที่ อ.เสาไห้ สระบุรี ซึ่งชาวบ้านแถบนี้อพยพมาจาก สปป.ลาว ครับผม
@@hoyapisak คนอ. เสาไห้ น่าจะอพยพมาจาก เมืองโยนกเชียงแสนนะ กลุ่มไทยวนเชียงแสน สมัย ร. 1 กวาดต้อนมาจากเชียงแสน เห็นมีงาน ยวนเยือนยวน สระบุรี
คำว่า ขวนขวาย อ่านว่า ขว_โ-ะ_น เป็นคำควบกล้ำครับไม่ใช่ ข-ัว- น
ขอบคุณครับ
ตอนท้ายเจอน้องแว่นเข้าไป ลำคานหน่อยๆ
😂
วัดจากขนมไข่เหี้ย ไข่จระเข้นี่คงใช่แน่ค่ะ
😄
ที่ว่ากินข้าวแยกตามระดับนี้น่าจะเป็นบ้านคนชั้นขุุนนางหรือวังเจ้านายรีเปล่าซึงประเพณีนี้มีมาจนถึงรัชกาลที่ 5-6 ในสมัยกรุงเทพนี้
ขอบคุณครับ
ไข่ข้าวบ้านผมเรียกไข่ฮ้าง(ร้าง)ฮัง(รัง).....ส่วนเงินพดด้วงคนแก่ที่บ้านเรียกว่าเงินหมากค้อ(ก้อ)=กำ
ขอบคุณครับ
สวัสดีครับ ผมมาแล้ววว
สวัสดีครับ
แพรวแอ๊ดไม่รู้จักตัวเงินตัวทอง
แชแวส ท่านแน่ใจนะว่าไข่จรเข้ คำพังเพยเกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง ผมสงสัยว่าจะไม่ใช่จรเข้แล้วล่ะ 😄😄😄😄
จระเข้ ไม่ใช่ จรเข้
กรุงศรีอยุธยาสมัยพระนารายณ์เจริญรุ่งเรืองมากที่สุด
ต้องวงเล็บ เจริญเฉพาะในหมู่ขุนนางที่เข้าถึง 😢
เรายังทันจะกินข้าวต้องรอให้พ่อมากินก่อนห้ามพูดตอนกินข้าวต้องอิ่มก่อนและคอยเก็บสำรับหลังพ่อแม่อิ่ม
ขอบคุณครับ
ชอบมากสาระดีละเอียดทุกแง่มุมที่นำเสนอหลับตาฟังมองเห็นภาพอดีตในอีกมิติหนึ่ง
ขอบคุณครับ
ถ้าไม่ฝรั่งท่านนี้เราแทบจะไม่รู้อะไรเลย
ฝรั่งไปเห็นแค่เฉพาะบางครอบครับรึปล่าวครับ