วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวน ฮีตเตอร์Heater มอเตอร์Motor ep8

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 15

  • @thaiheater
    @thaiheater  ปีที่แล้ว +3

    ข้อมูลติดต่อสอบถาม ในคำอธิบายเลยครับ

  • @chirots
    @chirots หลายเดือนก่อน +1

    ให้ข้อมูลดีมาก อ้างอิงมาตรฐานด้วย แนะนำการใช้เครื่องมือได้ดีมากครับ

    • @thaiheater
      @thaiheater  หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับ

  • @Nikom_rich168
    @Nikom_rich168 ปีที่แล้ว +1

    ข้อมูลดีมากครับ

    • @thaiheater
      @thaiheater  5 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากๆคับ

  • @purchasesiripanna
    @purchasesiripanna 9 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณครับ

    • @thaiheater
      @thaiheater  5 หลายเดือนก่อน

      ยินดีมากครับ

  • @DVT-vc8wq
    @DVT-vc8wq 5 หลายเดือนก่อน +2

    ขอโทษครับ กรณีไม่มีเครื่อง Earh tester สามารถใช้คลิปแอมป์ตั้งย่านโอห์ม วัดช๊อตหรือลงกราวด์ ก็ได้นะครับอาจารย์ ขอคำชี้แนะด้วยครับ

    • @thaiheater
      @thaiheater  5 หลายเดือนก่อน +1

      ใช้วัดความต่อเนื่อง ว่าลวดกับโลหะภายนอกไม่ถึงกัน แต่วัดความเป็นฉนวนไม่ได้ครับ

  • @PlugHamChannel
    @PlugHamChannel ปีที่แล้ว +1

    กรณีระบบ Solar ตรวจวัด Insulation resistance ที่ Inverter ต้องไม่ต่ำกว่ามาตราฐาน 1 เมกกะโอห์ม เช่นกันไหมครับ

    • @thaiheater
      @thaiheater  ปีที่แล้ว

      ตรงนี้ไม่แน่ใจครับ

  • @surin159
    @surin159 ปีที่แล้ว

    ตามมาตรฐาน ในการเขียนค่าทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม จะกำหนดให้ใช้
    M = Mega (1,000,000) สำหรับฉนวน จึงควรเป็น ≥ 1M ohm
    m = milli , metre ใช้กับจำนวน น้อยๆ (ความต้านทานไฟฟ้าของสายไฟ) หรือ ความยาวของสายไฟ

    • @thaiheater
      @thaiheater  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลมากๆครับ

    • @jod778895
      @jod778895 ปีที่แล้ว

      Mega = isolation , mili = bonding

    • @thaiheater
      @thaiheater  ปีที่แล้ว

      @@jod778895 ขอบคุณสำหรังข้อมูลนะคับ จริงๆMที่แสดงในคลิปจะเป็นฟอนด์แบบนี้คับ ตัวใหญ่ตัวเล็กฟอนด์ที่ผมใช้มันเหมือนกัน(ขออภัยที่ไม่ได้รอบขอบนะคับ)