ภาษีเบื้องต้น - โจทย์ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 มิ.ย. 2024
  • ไปฝึกทำโจทย์ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับพี่วีกันเถอะ👨‍🏫
    รายละเอียดค่อนข้างเยอะ แต่รับรอง อธิบาย Clear cut ชัดเจนแน่นอน💡
    .
    ดาวน์โหลดเอกสารที่ link นี้ได้เลย📝
    โจทย์: bit.ly/3kOf0Sz
    เฉลย: bit.ly/3eVMH0R
    **แก้ไขข้อ 14 ค่าลดหย่อนจาก 120,000 เป็น 150,000 บ. นะครับ🙏🏻
    .
    โจทย์มี 3 ข้อดังนี้
    ข้อ 13-14 = คำนวณเงินได้สุทธิ
    ข้อ 15 = พิจารณาค่าลดหย่อน
    ข้อ 16 = พิจารณาเงินได้พึงประเมิน
    .
    Timestamp⏱️
    00:00 - ข้อ 13 คำนวณเงินได้สุทธิ
    28:50 - ข้อ 14 คำนวณเงินได้สุทธิ
    45:50 - ข้อ 15 พิจารณาค่าลดหย่อน
    01:01:10 - ข้อ 16 พิจารณาเงินได้พึงประเมิน
    .
    #ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
    #ภาษีเบื้องต้น

ความคิดเห็น • 19

  • @28.april.19xx
    @28.april.19xx 7 หลายเดือนก่อน +1

    ถ้าเจอช่องนี้ตอนเรียน เราคงเรียนสนุกกว่านี้ ขอบคุณที่ทำช่องนี้มานะคะ ติดตามตลอดไป

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  7 หลายเดือนก่อน +1

      คอมเม้นใจฟูมาแล้ว ขอบคุณมากค้าบ💕

  • @supitsaraj1614
    @supitsaraj1614 3 หลายเดือนก่อน +1

    สอบถามหน่อยค่ะ ในกรณีที่คู่สมรสไม่มีรายได้ เราสามารถหักค่าลดหย่อนของบุตรร่วมกับคู่สมรสได้มั้ยคะ

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  3 หลายเดือนก่อน

      จะหักลดหย่อนบุตรได้ เมื่อพ่อแม่เป็นผู้มีเงินได้เท่านั้น กรณีคู่สมรสไม่มีเงินได้ จะนำบุตรมาหักลดหย่อนภาษีได้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีเงินได้ครับ

  • @juckritwongtavilarp3463
    @juckritwongtavilarp3463 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ 😊 พอจะมีลิงค์เอกสารให้ไหมครับ

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  ปีที่แล้ว

      ดาวน์โหลดเอกสารที่ link นี้ได้เลย📝
      โจทย์: bit.ly/3kOf0Sz
      เฉลย: bit.ly/3eVMH0R

  • @user-qw5cu1lb4e
    @user-qw5cu1lb4e ปีที่แล้ว +3

    ขอสอบถามเพื่อความรู้ค่ะ ปัจจุบัน การคำนวณกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตัองคำนวณแบบ 15% ไม่เกิน 500,000 หรือว่าต้องแยก2ก้อน 10,000 กับส่วนที่ไม่เกิน 490,000 คะ ขอบคุณค่ะ

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  ปีที่แล้ว +3

      แยก 2 ก้อนครับ
      1.ลดหย่อนตามจริง สูงสุดไม่เกิน 10,000 บ.
      2.หักยกเว้นจากเงินได้ 40(1) ตามที่จ่ายจริง โดยเพดานสูงสุด 15% จากเงินได้ 40(1) และไม่เกิน 500,000 บ.

    • @user-qw5cu1lb4e
      @user-qw5cu1lb4e ปีที่แล้ว

      @@veebusinesstutor ขอบคุณมากค่ะ

  • @yujin8257
    @yujin8257 ปีที่แล้ว +1

    พี่คะ ที่บอกว่าบุตรบุญธรรมนับรวมบุตรแท้ได้ไม่เกิน 3 คน ถ้าบุตรบุญธรรมเป็นคนที่ 1 อายุมากที่สุด แล้วมีบุตรแท้เป็นคนที่ 2 3 4 ตามลำดับ อย่างนี้ บุตรบุญธรรมลดหย่อนได้ไหมคะ แล้วบุตรแท้คนที่ 4 ลดหย่อนได้ไหมคะ

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  ปีที่แล้ว +1

      บุตรบุญธรรมหักลดหย่อนไม่ได้ ส่วนบุตรแท้หักลดหย่อนได้ทุกคนครับผม

  • @jjambunny8336
    @jjambunny8336 2 ปีที่แล้ว +2

    ขออนุญาตสอบถามค่ะ ทำไมบุตรคนที่ 1 ในข้อ 14 ถึงไม่นำมาหักลดหย่อนด้วยหรอคะในเมื่อถือว่าเป็นเงินได้ของพ่อแม่ไม่ใช่ของลูก 🥺

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  2 ปีที่แล้ว +1

      หักลดหย่อนได้ครับผม ในวีดีโอตกไปขออภัยด้วยนะครับ🙏🏻

    • @jjambunny8336
      @jjambunny8336 2 ปีที่แล้ว +1

      @@veebusinesstutor ขอบคุณค่า🙏🏻 พี่สอนได้ดีมากเลย เข้าใจง่ายมากๆ ขอบคุณที่ทำวิดีโอนี้ขึ้นมานะคะ

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  2 ปีที่แล้ว

      @@jjambunny8336 ยินดีจ้า ฝากติดตามช่องพี่วีไว้ด้วย จะมีสาระความรู้อัพเดทให้เรื่อยๆนะค้าบ😄

    • @jjambunny8336
      @jjambunny8336 2 ปีที่แล้ว +1

      @@veebusinesstutor ขอถามอีกนิดได้ไหมคะ ถ้าบุญบุตรธรรมเกิดในปี 61 หรือหลัง 61 สามารถหักได้ 60,000 เหมือนบุตรชอบด้วยกฏหมายไหมคะ หรือว่าได้แค่ 30,000

    • @veebusinesstutor
      @veebusinesstutor  2 ปีที่แล้ว

      @@jjambunny8336 บุตรบุญธรรมไม่ได้รับสิทธิลดหย่อน60,000 บ. เพราะไม่ใช่บุตรแท้ที่ชอบด้วยกฎหมายครับ