ep.83 (ภาค ๒/๔) สักครั้งในชีวิต !!! ศิลาจารึกหลักที่ ๑ อ่านให้ครบ จบทั้ง ๔ ด้าน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 ม.ค. 2022
  • รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
    รายการประวัติศาสตร์ย่อยง่าย
    เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางเลือก
    โดย หอย อภิศักดิ์
    TH-cam : HOY APISAK - OFFICIAL
    / hoyapisakofficial
    Fanpage : Hoy Apisak Fanspace
    / hoyapisak
    Podcast : รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
    pod.co/hoyapisak
    ---
    ::: ขอขอบพระคุณ :::
    ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
    ดร.ตรงใจ หุตางกูร
    ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
    ---
    ::: อ้างอิง :::
    ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) เว็บไซต์ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
    db.sac.or.th/inscriptions/ins...
    สุโขทัยคดีในมิติประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ (เอกสารประกอบการบรรยายฯ) โดย ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว. [เล่ม ๑ และเล่ม ๓]
    สุโขทัยคดี ประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ โดย ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
    EP.03 [1/2]
    • สุโขทัยคดี ในมิติประวั...
    EP.03 [2/2]
    • สุโขทัยคดี ในมิติประวั...
    ฟื้นฝอยหาตะเข็บ / พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๕๓www.naiin.com/product/detail/...
    -
    ::: Credits :::
    โมชั่นกราฟิกไตเติ้ลรายการ :
    จารุวัตร โภไคธเนศ
    Motion Graphic :
    Jaruwatr Bhokhaidhanes
    เพลงไตเติ้ลรายการและดนตรีประกอบ :
    บันทึกเสียง มิกซ์ และมาสเตอร์ โดย นฤชิต เฮงวัฒนอาภา
    Title Music and Scores :
    Recorded / Mixed and Mastered by Naruechit Hengwattanaarpaa
    ภาพนิ่ง :
    รุ่งทิพย์ เฟื่องฟุ้ง
    Photography :
    Roongthip Fuengfung
    สคริปต์ บรรยาย และเพลงประกอบรายการ :
    หอย อภิศักดิ์
    Written, performed and all music by Hoy Apisak
    #ep83 #ศิลาจารึก #พ่อขุนรามคำแหง #ศิลาจารึกหลักที่1 #ด้านที่2 #สุโขทัย #อ่านจารึก #โบราณสถาน #Sukhothai #วินัยพงศ์ศรีเพียร #รัตนโกสินทร์ #พงศาวดาร #ประวัติ #Ayutthaya #เกร็ด #ความรู้ #ประวัติศาสตร์ #History #เสียงหอย #HoyApisak #Announcer #โฆษก

ความคิดเห็น • 375

  • @jennythongsuknok5612
    @jennythongsuknok5612 7 หลายเดือนก่อน +6

    ภาษาในศิลาจารึกนี้ เป็นภาษาที่ดิฉันใช้พูดมาตั้งแต่เด็กเกือบทุกคำ ต้องอ่านเป็นสำเนียงอีสานค่ะ ถึงจะเข้าใจ คำว่า ตะพัง คือหนองน้ำ,สระน้ำ คำว่าโพย คือใหญ่ เยอะ มาก หลาย, สีใส คือ ใสสะอาด กินดี ในที่นี้หมายถึงดื่มได้ รสชาติดี แปลได้ว่า กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีสระน้ำใหญ่ น้ำใสสะอาด ใช้ดื่มได้ รสชาติดี เหมือนดื่มน้ำในแม่น้ำโขงในฤดูแล้งเลย หมายถึงแม่น้ำโขงถูกต้องแล้ว เพราะพูดเปรียบเปรยกับแม่น้ำโขงในฤดูแล้งที่อยู่ไกลๆโน้น เพราะถ้าหมายถึงน้ำในถ้ำในโพรง จะต้องพูดว่า น้ำโกน โกนคือถ้ำหรือรูหรือโพรง ถ้าน้ำในถ้ำจะไม่พูดถึงฤดูแล้ง ซึ่งแม่น้ำโขงในฤดูแล้งจะใส ฤดูฝนน้ำจะขุ่น, มัก หมายถึงชอบหรือนิยม, ญิบล้าน ไม่ได้หมายถึงยี่สิบล้าน แต่หมายถึงเกือบล้าน, ญิบหมื่น หมายถึงเกือบหมื่น.....ฯลฯ มึงคือคุณ, กูคือฉัน, สูคือพวกคุณ(หลายคน) ตูคือเราหรือพวกเรา(หลายคน), เพิ่น คือ เขาหรือพวกเขา(หลายคน)(บุคคลที่สาม),

  • @fghgh2744
    @fghgh2744 ปีที่แล้ว +6

    "มีพระพุทธรูปอันราม" ...ในจังหวัดแพร่มีคำว่าฮาม เช่น "ขนาดฮามๆ" หมายถึงขนาดที่พอดีๆไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป

  • @user-ei9ew1ub2e
    @user-ei9ew1ub2e ปีที่แล้ว +9

    รู้สึกทึ่งมาก ในสมัยสุโขทัย รู้สึกว่าบ้านเมืองสงบสุข ผู้คนอยู่เย็นเป็นสุข ความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนา ต้องขอบคุณความรู้จริงๆครับ

    • @EventHorizonThailand
      @EventHorizonThailand หลายเดือนก่อน

      สงบยังไงครับ ช่วงนั้นรบกันนัวเลย ถ้าดูจากหลักศิลาจารึก หลักที่ 1 (คลิปก่อนหน้านี้)

  • @thasanankhakhai2137
    @thasanankhakhai2137 2 ปีที่แล้ว +11

    คำว่า "ทาว" ที่แปลว่า ขนาดกลางๆ/ไม่เล็กไม่ใหญ่/ขนาดพอดีๆ ในภาษาอีสานยังใช้อยู่ค่ะ โดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ แต่เด็กรุ่นใหม่ๆไม่ใช้แล้ว

    • @user-io2hq2tz9f
      @user-io2hq2tz9f ปีที่แล้ว +1

      ทางเหนือก้อใช้ทาวแปลรุ่นกลาง

  • @user-tj1wg3tu2g
    @user-tj1wg3tu2g ปีที่แล้ว +2

    ตระพัง()ผมคิดว่าน่าจะใช้ได้ทั้งที่คนขุดหรือเกิดขึ้นด้วยธรรมชาติ ถ้าเคยไปสุโขทัยจะพบว่าตระพังมีหลายตระพังมากอาจมีน้ำไม่พอต้องขุดบ่อ สระ หรือตระพัง กักเก็บน้ำ พบร่องรอยการขุดด้วยจึงน่าจะเกิดขึ้นด้วยมนุษย์ขุดด้วยไม่ได้เกิดแต่ธรรมชาติแต่อย่างเดียว ตรีบูรรับวัฒนธรรมความเชื่อจากอารยธรรมอินเดีย. หนีไม่พ้นอารยธรรมอินเดีย...ชอบการนำเสนอของอาจารย์ครับ คนจะได้ศึกษาง่ายๆๆ

  • @fuckergamer8210
    @fuckergamer8210 ปีที่แล้ว +4

    ลักษณะการเขียน และสำนวนภาษา คล้ายภาษา สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น หรือจะถูกสร้างขึ้นในสมัย ร.4 (ขณะถือเพศบัญชา) ดังที่หลายท่านสันนิษฐาน น่าจะทำการศึกษาฯ

  • @poemstreet9409
    @poemstreet9409 2 ปีที่แล้ว +5

    น้ำโขงในหน้าแล้งจะใสมากบางจุดใสจนเป็นสีฟ้า คนสมัยก่อนคงใช้ดื่มกิน น่าจะแปลความหมายแบบนี้ได้รึเปล่าคะ ที่รู้เพราะบ้านเราอยู่ติดแม่น้ำโขง

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ
      แม่น้ำโขงในหน้าแล้ง มันใสจริง ๆ ใช่ไหมครับ

    • @assistantprofessordrkriang8825
      @assistantprofessordrkriang8825 2 ปีที่แล้ว +1

      ใช่ครับ แม่น้ำโขงหน้าแล้งจะใสมากครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      @@assistantprofessordrkriang8825 ขอบพระคุณมากครับอาจารย์

  • @user-eo1iq3ty7r
    @user-eo1iq3ty7r ปีที่แล้ว +2

    น่าจะเข้าใจความหมายคำว่าบัวระบัดผิดนะ บัวระบัด ลาวหรืออีสานดั้งเดิมยังใช้กันอยู่แปลว่าดูแลเปนอย่างดี

  • @Tiger237infantry
    @Tiger237infantry 2 ปีที่แล้ว +5

    รู้จักนครศรีธรรมราช ทำไมจะไม่รู้จักน้ำโขงยามหน้าแล้ง ใกล้กว่าเยอะ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      น้ำโขงในหน้าแล้งนี่ "ใสกินดี" หรือเปล่าครับ ?

  • @user-mk8uq8xn2k
    @user-mk8uq8xn2k ปีที่แล้ว +1

    พิหาร ผมมอง เเปลว่ารอบบริเวณ รวมของวัด มีทั้ง เจดีย์ มนๆ องพระใหญ่ พระประดิษฐ์ฐาน รอบๆ ท่าวๆ เเปลว่า กลางๆๆเหมือนคน❤❤❤

  • @nuttakarn2517
    @nuttakarn2517 2 ปีที่แล้ว +3

    การออกเสียง เหมือนไทยใหญ่เลย ทั้งหมากลาง และคำอื่นๆ อีกหลายคำเลยคะ

  • @user-rq2ci3pm5r
    @user-rq2ci3pm5r 2 ปีที่แล้ว +9

    ผมคิดว่าสำเนียงการพูดของคนสุโขทัยสมัยนั้น​ น่าจะออกไปทางลาวหรือสำเนียงภาคเหนือของไทย​ มากกว่าสำเนียงภาษาไทยกลางปัจจุบัน​นะ...ดูจากคำศัพท์... คิดว่าๆ​ นะ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      คิดเหมือนกันครับ

    • @plekunnika7246
      @plekunnika7246 ปีที่แล้ว +1

      ปัจจุบันภาษาสุโขทัยก็ไม่ได้กลาง เป็นภาษาเหน่อ เฉพาะตัว คือมีหลายภาษาของ ภูมิภาค เหมือน ใต้ เหนือ อีสาน กลาง มีมาหมดในภาษาสุโขทัย นะตอนนั้นน่าจะเป็นศูนย์กลาง การค้าหรือเปล่า

  • @Tayalmara
    @Tayalmara ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากนะครับ...แต่ถ้ามีตัวหนังสือที่แกะสลักขึันมาพร้อมกับคำที่อ่านน่าดียิ่งขึ้นครับ

  • @Sat_22_March
    @Sat_22_March 2 ปีที่แล้ว +16

    คำว่าตรีบูร เป็นคำเดียวกับคำว่า ตรีปุระ เป็นการอ้างเปรียบเปรยเหมือนเมืองที่ อสูรขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าว่ามิให้ใครทำลายได้ ในตำนาน รามายณะ หรือมหาภารตะ หรือป่าวนะครับ เพราะยุคนั้น ศาสนาพราหมณ์อาจจะมีอืทธิพลอยู่มาก

  • @user-ec2zb3ef8i
    @user-ec2zb3ef8i 2 ปีที่แล้ว +5

    ผมไม่กดข้ามโฆษณา เพื่อพี่หอย ครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      กราบบบบบ

  • @user-mi7ir6cw1m
    @user-mi7ir6cw1m 2 ปีที่แล้ว +28

    ที่อำเภอนครไทย (เมืองบางยาง) มีพิธีกรรมหนึ่งเรียกว่าเลี้ยงปาง...คือการเข้าทรงผีบรรพบุรุษที่เป็นนักรบในสมัยพ่อขุนบางกลางท่าว...โดยร่างทรงในพิธีนี้จะเป็นผู้หญิงที่สืบเชื้อสายตระกูลนักรบโบราณสมัยพ่อขุนบางกลางท่าวมาตามลำดับจนถึงปัจจุบันเรียกผีบรรพบุรุษนี้ว่าพ่อเฒ่า...โดยที่เรียกร่างทรงว่าบัวนางครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +4

      ขอบคุณครับ

    • @sahalop2
      @sahalop2 2 ปีที่แล้ว +5

      ลองอ่านสำเนียงหลวงพระบาง

    • @sukritstory6360
      @sukritstory6360 2 ปีที่แล้ว +1

      โอเค

    • @user-mi7ir6cw1m
      @user-mi7ir6cw1m 2 ปีที่แล้ว +1

      th-cam.com/video/cKEhB541yb4/w-d-xo.html
      การขับหมอเพื่อให้เกิดความเป็นมงคลต่อผู้ร่วมในพิธีเลี้ยงปางหลังเชิญพ่อเฒ่าลงประทับแล้ว...เป็นเพลงร้อง(ขับ)ในสำเนียงภาษานครไทยโบราณครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-mi7ir6cw1m ขอบคุณครับ

  • @paphonwitdaothaisong3083
    @paphonwitdaothaisong3083 2 ปีที่แล้ว +9

    24:30 ถ่าว แปลว่าขนาดกลาง ๆ ขนาดพอประมาณ คำนี้แม่ผมยังใช้อยู่คับ เช่น หม้อใบถ่าว คือหม้อใบขนาดกลาง ๆ
    อีกคำคือ “ถ่อง(ไม่ถึงครึ่ง), เคิ่ง(ครึ่ง), ข่อน(ค่อนหรือเกินครึ่ง)” ใช้บอกปริมาณคราว ๆ เป็นภาษาโบราณ แต่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาในคลิปคับ
    ขอบคุณที่ให้ความรู้คับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @user-nn6pm4bx3z
    @user-nn6pm4bx3z ปีที่แล้ว +1

    หลวก.. คือ​ ฉลาด​ หลักแหลม.. คำล้านนาก็ใช้อยู่.. ปัจจุบัน

  • @engsanisthachuaysri9577
    @engsanisthachuaysri9577 ปีที่แล้ว +3

    กดไลค์ กดติดตามไว้แล้วนะคะ วันนี้มาชมศิลาจารึกหลักที่1หน้า2ค่ะ เมื่อคืนชมด้านที่1สนุกมากค่ะ😊❤🎉

    • @engsanisthachuaysri9577
      @engsanisthachuaysri9577 ปีที่แล้ว +1

      เห็นภาพความสุขของคนสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหง ความสุขที่พ่อขุนท่านมอบให้คงไม่มีบ้านไหนเมืองไหนทำได้เหมือนอีกเลย ท่านให้สิทธิ์ให้เสียง ให้ค้าให้ขาย ให้ทำกินตามเสรีภาพ จริงๆ🙏🏻🙏🏻💝❤❤

  • @user-xw4wo9cn5d
    @user-xw4wo9cn5d ปีที่แล้ว +1

    โป่บ้านฉันเลือกว่าหัวหน้าภาษาอีสานคะพ่อโป่แม่โป่นั้นคืหน้าผูง

  • @user-yv3jk3hm8y
    @user-yv3jk3hm8y ปีที่แล้ว +2

    ผมว่าภาษาในหลักจารึกน่าจะคล้ายกลุ่มออกเสียงสำเนียงลาวสำเนียงล้านนาสำเนียงไทขืนซึ่งต่างกันกับภาษากรุงเทพ👽 สำคัญหลักอีกอย่างของนักประวัติศาสตร์นักโบราณคดีนักวิชาการและผู้ไฝ่รู้ทั่วไป คือรู้ภาษาในแถบอุษาคเนย์ ได้ซัก3-4ภาษาก็ดี จะทำให้อรรถรสในการค้นคว้า ในการเสพมีมุมมองเพิ่มเติมอีกเยอะบานจะไท

    • @monglha2773
      @monglha2773 11 หลายเดือนก่อน

      บางคำเป็นภาษาไทใหญ่ก็มีค่ะ

  • @pichaisukarasoji7658
    @pichaisukarasoji7658 2 ปีที่แล้ว +11

    มารอเพื่อให้ทราบว่าเพราะตอนที่ 1 ทิ้งท้ายได้น่าสนใจ & น่าตื่นเต้นมาก
    แต่ก็ไม่อยากให้ คุณหอย เป็นภาระมากเกิน ที่ต้องทำด้วยรีบในตอนต่อๆ
    ด้วยยังมีความเชื่อว่า กินอาหารให้อร่อย ต้องใจเย็นๆ ครับผ้ม

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

  • @user-tz4yj2zh4r
    @user-tz4yj2zh4r 2 ปีที่แล้ว +1

    ออกสำเนียงคร้ายๆลาวเลยครับสมัยนั้น

  • @fuckergamer8210
    @fuckergamer8210 ปีที่แล้ว +4

    เดิมภูมิภาคนี้ใช้ภาษาลาวเป็นภาษากลาง ใยสมุดข่อยสมัย ร.4 ก็บันทึกเป็นภาษาลาว
    ส่วนสำเนียงภาคกลางใช้ในราชสำนัก ตามวัฒนธรรมขอม แม้แต่ปัจจุบันชาวบ้านที่ใช้ภาษาสำเนียงไทยกลางอยู่ในรัศมีประมาณ 40 กิโลเมตรจากแม้น้ำเจ้าพระยาเท่านั้น (ตามเส้นทางเสด็จ)

    • @user-gt8qf5kd2t
      @user-gt8qf5kd2t 10 หลายเดือนก่อน

      ภาษาลาวนั้นเข้ามา ในยุค ร.3ถึง4 จากการกวาดเทครัว ในศึกเจ้าอนุวงศ์ไงครับ และการเทครัวเกิบหมดลาวเวียงจันทร์ มาไว้อีสาน และถึงกลาง ไม่แปลกที่มีภาษานี้มารวม จึงปรากฏ คนลาว ในภาคกลางหลายจังหวัด ที่เป็นชุมชน ไม่ใช่แค่อีสาน ต่อนนี้มีเขมรลาวมากมายในพื้นที่จากการย้ายถิ่น ยุคนั้น สยามมีพื้นที่มาก แต่คนน้อยจากการที่พม่ากวาดคนสยามไป จึงเทครัวมาเติม สยามรบบ่อย ไม่ต้องเป็นห่วง ล้านช้าง ละแวก มาตีทางฝั่งตะวันออก ที่อดีตระแวงตลอด มา สุดท้ายสยามก็ได้เมืองนั้นๆมา

    • @nitnit4127
      @nitnit4127 6 หลายเดือนก่อน

      หัวโป ในภาคอีสานคือ ผู้นำ หัวโจก หัวหน้าแก๊ง

    • @user-wo7db2ym6e
      @user-wo7db2ym6e หลายเดือนก่อน

      ภาษากำสุโขทัยครับภาษาลาว_ปู_อ่านเป็นภู_ภาษาสุโขทัย_อ่านว่า_ปู_ครับ_หมายถึงภู_ของภาษาลาวครับ

  • @nattawatphongkunta1000
    @nattawatphongkunta1000 9 หลายเดือนก่อน +1

    เลื้อนในภาษาเหนือ ความซุกซน ความกวนๆ การแกล้งคนอื่น คำหลายๆคำที่บ้านใช้เหมือนกัน ที่บ้านเป็นลาวทางน่าน ตกใจมากคำโราณทั้งนั้น เหมือนกับว่า สุโขทัยคือศูนย์กลางในการนำภาษาหลายๆที่มารวมกัน

    • @user-wo7db2ym6e
      @user-wo7db2ym6e หลายเดือนก่อน

      สุโขทัย_เป็น_หลาน_น่าน_เป็น_ปู่_ถ้าอยากรู้ใครเป็นหทวด_ให้ไปถามคนเมืองน่านครับ

  • @MrBoonmongkol
    @MrBoonmongkol ปีที่แล้ว +3

    น่าจะมีภาพตัวหนังสือในหลักศิลาจารึก​ ประกอบการแปลแต่ละประโยค​ ด้วยยิ่งดีครับ​ จะได้อ่านเป็น

  • @WorapatYommana
    @WorapatYommana 2 ปีที่แล้ว +18

    คำว่า ทรงศีลเมื่อพรรษา น่าสนใจมาก เพราะสามารถตีความได้ว่า
    1. ถืออุโบสถศีล (ศีล 8) ตลอดพรรษา (3 เดือน)
    2. เคร่งครัดในศีล 5 ตลอดพรรษา เช่น ไม่ลักขโมย ไม่ดื่มน้ำเมา
    ผมคิดว่าอย่างแรกมีความเป็นไปได้มากกว่า เพราะมีประเพณีถือศีลอุโบสถในวันพระ 8 ค่ำ 15 ค่ำอยู่ และศีล 5 เป็นศีลปกติที่ประชาชนรักษาอยู่แล้ว

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณครับ

    • @saowall333
      @saowall333 2 ปีที่แล้ว +2

      @@hoyapisak 8

  • @Pikajuu1
    @Pikajuu1 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ กับความรู้

  • @legolas9453
    @legolas9453 ปีที่แล้ว +1

    ภาษาในศิลาดูเป็นวรรณกรรมมากๆ

  • @user-vn2xu3xr6r
    @user-vn2xu3xr6r 2 ปีที่แล้ว +7

    คำ.และ..ภาษา...คำไทใหญ่+ขอม(เขมร)....ได้ความรู้มากครับอาจารย์

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

  • @teeraphanj
    @teeraphanj 2 ปีที่แล้ว +12

    มาดูด้านที่สอง พบคำทางเหนืออีกหลายคำเลย คำว่า โขง อาจจะได้ยินคุ้นหูเช่น ซุ้มประตูโขง ประตูโขง ซุ้มโขง ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป โขงนี้ ก็หมายถึง โพรง หรือกลวง ทางภาคเหนือ ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทยอง ออกเสียงกลวง ว่า โก๋ง หรือ ก๋วง คำว่า หลวก ทางเหนือ ออกเสียงเป็น หล๊วก คือ ฉลาด เช่น หลวกอย่างวอก แปลว่า ฉลาดเหมือนลิง คำว่า ปั่ว หรือ โป่ เห็นด้วยที่แปลว่า หัวหน้า ทางเหนือก็เรียกโป่ หรือหัวโป่ คำว่า ลุก ทางเหนือ ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทยอง มักถามว่า ลุกไหนมา แปลว่า มาจากไหน คนตอบก็จะตอบว่า ลุกบ้านมา หรือ ลุกเจียงใหม่มา พู้น ทางเหนือ ออกเสียงเป็น ปู้นนนน.. เท้า ทางเหนือออกเสียงเป็น เต๊า ก็หมายถึง ถึง หรือ จนถึง เช่น คืนฮุ่งเต๊าแจ้ง แปลว่า ทั้งคืนจนรุ่งเช้า หรือ ยังบ่มาเต๊าบ่าเดี่ยว แปลว่า ยังไม่มาจนกระทั่งตอนนี้
    ผมว่าศิลานี้สำเนียงเหนือมากๆ ครับ แค่คำว่า อันณึ่ง นี่ก็สำเนียงเหนือชัดๆ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

    • @yimrossukhone885
      @yimrossukhone885 2 ปีที่แล้ว +4

      ภาษาสุโขไท ไกล้เคียงภาษาเหนือครับ เพราะภูมิเทศติดกันครับ เคยไปศรีสัชนาลัยได้ยินเขาเพื่อนพูด ยังแปลกใจกับคำที่ใข้เหมือนกันหลายๆคำเลยครับ

    • @arthurtc6489
      @arthurtc6489 2 ปีที่แล้ว +4

      คำว่า"โป่" ในภาษาอีสานยังคงมีใช้บ้างครับแปลว่า ตัวใหญ่ ตัวหัวหน้า นางพญา หัวโจก เช่น แม่โป่ อาจจะเป็นสัตว์ที่ตัวใหญ่ที่สุดในฝูง หรือนางพญา ผมว่าน่าจะมีรากภาษาหรือเป็นตระกูลภาษาร่วมกันนะครับ สังเกตว่าภาษาเหนือ ไทใหญ่ อีสานมีหลายคำมากที่ใช้เหมือนกัน ความหมายเดียวกันครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      @@arthurtc6489 ขอบคุณครับ

    • @bbcnx8445
      @bbcnx8445 2 ปีที่แล้ว +1

      ส่วนแม่น้ำโขง ทางเหนือโบราณนิยมเขียนเป็นรูป/ขฺรฺอง/อ่านออกเสียงเป็น/ของ/ หมายถึงน้ำแม่ของ ไทกลางกลับเรียกว่าแม่น้ำโขง

  • @SongkiatAnantamas
    @SongkiatAnantamas ปีที่แล้ว +1

    กลับมาดูคลิปอีกครั้ง ได้ยินคำว่า "ถ่าว" เป็นคำที่หายไปนานแล้ว จริง ๆคำนี้ยังใช้กันอยู่มากในภาคใต้ แต่สะกดด้ววรรณยุกต์ต่างกัน "ถ้าว" แปลว่า ใหญ่

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @arnornchompumest647
    @arnornchompumest647 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีครับ !..ขอบคุณมากครับ คุณ อภิศักดิ์ ..

  • @user-uz9zm2lf5y
    @user-uz9zm2lf5y ปีที่แล้ว +1

    คำว่าทาวไม่ได้หายไปไหนมันเป็นภาษาอีสาน ยังใช้อยู่ แปลว่ารุ่นๆ กลาง ๆ

  • @bhyalor
    @bhyalor ปีที่แล้ว +2

    ตะพัง-โพย-สีใส
    (ตะพัง=แอ่งน้ำ
    โพย=รอบข้าง)
    น่าจะเป็นคูน้ำล้อมเป็นเกาะ

  • @freever5286
    @freever5286 2 ปีที่แล้ว +4

    รอเลย

  • @user-bo1zx8er2p
    @user-bo1zx8er2p 8 หลายเดือนก่อน +1

    น้ำโขงฤดูฝนขุ่น ฤดูแล้งใสงาม

  • @maekokchai2255
    @maekokchai2255 2 ปีที่แล้ว +2

    ตรีบูร =น่าจะความอุดมสมบูรณ์ สามอย่าง /ความสมบูรณ์ทั้งปี สามฤดูกาล ทั้งกรุง

  • @user-ot2up1wy7y
    @user-ot2up1wy7y 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขออนุญาตครับอ.าจารย์ถ่าวในภาษาอิสานแปลว่าครึ่งๆกลางๆเช่น มีฝีมือพอถ่าวๆ หมายถึงมีฝีมือพอกลางๆไม่เก่งกล้าไม่สุด ประมาณนี้ครับอาจารย์

  • @yimveerasak3543
    @yimveerasak3543 ปีที่แล้ว +2

    ชอบ ขอบคุณมากครับ อจารรย์ 🙏🏻❤

  • @user-se2ye9pr6f
    @user-se2ye9pr6f ปีที่แล้ว +1

    ทำงานไปฟังไปเพลินสุดๆ

  • @macbookpong
    @macbookpong 2 ปีที่แล้ว +4

    นั่งแถวหน้ารอฟังเลยครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-rw8ju3pd6k
    @user-rw8ju3pd6k 9 หลายเดือนก่อน +1

    ชอบมากค่ะ ทำออกมาให้เข้าใจง่ายดีค่ะ

  • @user-qd6uw4jz4t
    @user-qd6uw4jz4t 2 ปีที่แล้ว +2

    หลวง ใหญ่ ท่าว(เฒ่า) ราม เล็ก น้อย
    ในอำเภบ้านด่านลานหอย มีตำบลหนึ่งเรียกว่าหน่องเฒ่า ใน อำเภอเมือง บ้านเพชรไฝ มี คนชื่อ ไอ้ ท่าว หนึ่งคน บ้านขวางมี หนึ่งคน สอบถามแล้วได้ความว่าแปลว่าค่อนข้างใหญ่
    คำว่า ราม ได้ยินมาแต่เกิดแปลว่ากำลังงาม ไม่เล็กไม่ใหญ่ คนบ้านกล้วยเมืองเก่าจะรู้จักคำนี้ดี
    จบปิฏกไตร คือ เจนจบทั้ง 84000 คือ สามตระกล้าเป็นผู้แตกฉานในพระธรรมวินัย ถ้าทราบแต่อภิธรรม ดูไม่สม เพราะรับศาสนามาจากลังกา ถึงขั้นรจนาไตรภูมิพร้อมบานแผนกได้ ต้องเจนจัดทั้ง 84000 พระธรรมขันธ์

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @chansiwanett.
    @chansiwanett. 4 หลายเดือนก่อน +1

    ตรีบูร อาจเป็นวัด เวียง วัง คืออาณาเขตโดยรอบของเมือง ที่มี3สิ่งอยู่รวมกันโดยสมบูรณ์ครับ ผิดพลาดประการใดต้องของกรอบขออภัยด้วยครับ🙏

    • @user-wo7db2ym6e
      @user-wo7db2ym6e หลายเดือนก่อน

      อย่าคิดมากครับ_ภาษาผู้มาเยือน_ ่านว่าจะรีบูรณ์_ภาษาสุโขทัย_อ่านว่าตี่ปูนครับ

  • @tachaphongruengsri2842
    @tachaphongruengsri2842 2 ปีที่แล้ว +6

    ปั่ว ถ้าถาษาบ้านผม ต้องไปดูแลกัน จริงเท็จประการใดก็มิทราบ
    แต่อยากเสนออีก 1 ช่องทางครับ 🙏😊

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

  • @warinjane-ngan8312
    @warinjane-ngan8312 2 ปีที่แล้ว +11

    นาที่ที่ 24:20 -24:30 คำว่า ''ถ่าว '' ตรงกับภาษาทางภาคใต้ ออกเสียงด้วยสำเนียงใต้ ที่เเปล ว่า'' ใหญ่ '' ทางใต้ปัจจุบันยังใช้คำนี้กันอยู่ ครับ
    หรือเเค่ บังเอิญตรงกัน หรืออาจจะไม่เกี่ยวกันก็เป็นได้ ขอ อนุญาตเสริมเพิ่มเติมจากคนภาคใต้ครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

    • @afternoontea974
      @afternoontea974 2 ปีที่แล้ว +3

      อยุธยาเคยเอาเชลยโยนก ไปไว้หัวเมืองปักษ์ใต้อยู่นะครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      @@afternoontea974 ขอบคุณครับ

    • @user-jf5ry9oh7z
      @user-jf5ry9oh7z 2 ปีที่แล้ว +2

      ถ้า​ว​ เติบ​ นั้น​ คือใหญ่

    • @user-bc3jr3cz9t
      @user-bc3jr3cz9t 2 ปีที่แล้ว

      @@afternoontea974 คับ แต่ไม่ใช่ยุทุกพื้นที่และน้อยมาก แต่คำถ่าวใช้กันทุกคนทุกพื้นที่ทั่วภาคใต้

  • @Hunter_88888
    @Hunter_88888 2 ปีที่แล้ว +3

    อันราม ทางเหนือก็มีใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่ออกเสียง ฮาม , ร=ฮ คือขนาดพอเหมาะ เช่น ถ้วยฮาม, หมูมอกฮามๆ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @thanetuathawisamphun9597
    @thanetuathawisamphun9597 2 ปีที่แล้ว +3

    ทะเลหลวงมีจริง แต่เล็กกว่าที่ อบจ. เรียกว่าบึงใหญ่ อยู่ที่ ต.ตาลเตี้ย อ.เมืองสุโขทัย

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @PPinyosukhee
    @PPinyosukhee 2 ปีที่แล้ว +3

    รอครับ

  • @user-xf4eo8rv6t
    @user-xf4eo8rv6t 2 ปีที่แล้ว +1

    ตะโพย น่าจะหมายถึง ท่านำ้ ตะลิ่งนำ้

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-xu6be5eh5e
    @user-xu6be5eh5e 2 ปีที่แล้ว +32

    "แม่ญิง" ในสมัยก่อนคงอ่านแบบคนล้านนาแน่เลยครับคำนี้ จะออกเสียงนาสิก แต่แบบถ้ามีคนมาอ่านศิลาจารึกเป็นภาษาสุโขทัยคงจะขลังมากแน่เลยครับ 555

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณครับ

    • @CHiLLSME
      @CHiLLSME 2 ปีที่แล้ว +2

      เสียงนาสิกคือยังไงครับ
      แฟนเป็นคนเหนือ สอนออกเสียง ญ
      เค้าก็ไม่รู้จะสอนยังไง 555+

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +4

      @@CHiLLSME ขึ้นจมูกครับ บรรยายลำบาก ต้องให้เขาออกเสียง “ผู้ญิง” ให้ฟังครับ

    • @user-xu6be5eh5e
      @user-xu6be5eh5e 2 ปีที่แล้ว +4

      @@CHiLLSME ผมก็ไม่รู้จะสอนยังไงเหมือนกันครับ แต่จะพยายามอธิบายให้นะครับ คือมันเหมือนเราออกเสียงควบระหว่าง "น.หนูกับย.ยักษ์" อะครับ พอเราพูดปุ๊ปเสียงย.ยักษ์ที่เราออกเสียงมันจะขึ้นจมูกเวลาพูดครับ ลองดูครับ 555

    • @user-lx4we9qv6f
      @user-lx4we9qv6f 2 ปีที่แล้ว +2

      ภาษาเลย เรียกผู้หญิงว่า แหม่ ญิง ครับ ตัองได้ยินด้วยตนเองถึงจะรู้ว่าเขาออกเสียงยังไง

  • @pennaphakruebuddee6401
    @pennaphakruebuddee6401 2 ปีที่แล้ว +2

    โปมะยุหง่วน โปสุพลา

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @user-ez3qb1mm3z
    @user-ez3qb1mm3z ปีที่แล้ว +3

    ชอบมากๆค่ะ ฟังเกือบทุก ep.

  • @user-lf2eh3hu5d
    @user-lf2eh3hu5d 2 ปีที่แล้ว +4

    รักมากมายเลยช่องนี้

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-ui5lr7zo4y
    @user-ui5lr7zo4y 2 ปีที่แล้ว +5

    ข้อสังเกต...การอ่านเสียงวรรณยุกต์สมัยนั้นน่าจะอ่านเสียงตรงๆตามตัวอักษรและวรรณยุกต์นั้นๆ..เพราะคงยังไม่ได้จัดตัวอักษรเป็นสูง-กลาง-ต่ำอย่างทุกวันนี้..ร่องรอยเห็นจากพาสาลาวปัจจุบันเขาไม่มีอักษรสูงกลางต่ำ...เช่นเขาเขียน..น้องเขาก็ไม่อ่านหน๊องแต่อ่านเสียงโทคือหน้อง=น่อง..คำม่วน=คำหม่วน(คนผู้ไทจะออกเสียงคำหม้วน)...ดังนั้นอย่าอ่านตามหมู่อักษรไทยปัจจุบันน่าจะเป็นเสียงที่ถูกต้องกว่าให้ถือว่าทุกตัวอักษรเป็นอักษรกลาง

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @wilawanwongthip8644
    @wilawanwongthip8644 ปีที่แล้ว +1

    ขออนุญาตแบ่งปันข้อมูลนะคะ
    ในภาษาอีสานปัจจุบันทั่วไปคำว่า “มน” แปลว่า กลม,รี แต่มีคำศัพท์อีสานโบราณคำหนึ่งที่น่าสนใจคือคำว่า “แพ(ร)มน” หมายถึง ผ้าเช็ดหน้า,ผ้าเช็ดน้ำหมากผืนเล็ก ๆ บางทีผ้าขนหนูขนาดพอเหมาะที่เอามาพาดบ่าเวลาไปวัดก็เรียก “แพ(ร)มน” เช่นกัน ตอนที่คุณยายยังอยู่ท่านเรียกใช้คำนี้ประจำ แต่ปัจจุบันไม่ค่อยได้ยินใครพูดศัพท์คำนี้แล้ว ซึ่งผ้าทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นไม่ได้มีลักษณะ”กลม” หรือ “รี” แต่มีลักษณะเป็น “สี่เหลี่ยม” นั่นก็อาจเป็นไปได้ว่าคำว่า “มน” ที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่1 อาจจะแปลว่า “สี่เหลี่ยม” ก็เป็นได้ เพราะถ้าดูบริบทของคำจากประโยค “มีพิหารอันณื่ง มนใหญ่ สูงงามแก่กม” ก็น่าจะตรงกับลักษณะของวิหารที่เป็นสี่เหลี่ยมด้วยเช่นกัน

  • @charmpanngam7031
    @charmpanngam7031 11 หลายเดือนก่อน +1

    เยี่ยมมากค่ะ

  • @sacedobjectsiam
    @sacedobjectsiam 2 ปีที่แล้ว +3

    พระพุทธะชินราช งดงามครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      🙏🙏🙏

  • @hopkris7299
    @hopkris7299 2 ปีที่แล้ว +4

    สุดๆ สุดและสนุกกว่าที่เคยเรียนในห้องเรียน
    แหล่งความรู้ล้วนๆ นักเรียนควรดู

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับ

    • @hopkris7299
      @hopkris7299 2 ปีที่แล้ว

      @@hoyapisak รอด้านที่3และ4 อยู่นะครับ

  • @sweetoppo4793
    @sweetoppo4793 2 ปีที่แล้ว +8

    น้ำโขงเมื่อแล้ง น่ากินจริงๆนะครับ...ไปดูได้ คนสมัยสุไขทัยรู้จักน้ำโขงถึงน้ำอูโน้น
    ส่วนภาษาไทใหญ่ที่ยกมานั้นผิดหมดเลย(อั้วะคนไทใหญ่น่ะ)
    ตรีบูร...นั้น อีกแง่หนึ่งคือ ความบริบูรณ์ครับ(บริบทจารึกก็ฟ้องชัดอยู่แล้ว ว่าอุดมสมบูรณ์)

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณครับ

  • @BankTwenty20
    @BankTwenty20 2 ปีที่แล้ว +3

    พี่หอย ขอพระไชยราชา มาหลายคลิปแล้วนะคับ จัดให้หน่อยคับ 🙏♥️

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ
      บางระจันมีคนขอเป็นพันๆ หน ผมก็ยังไม่ได้ทำครับ

  • @Laosarut
    @Laosarut 2 ปีที่แล้ว +2

    รอด้านถัดไปและรอจารึกอื่น ๆ ต่อนะครับ เช่น วัดศรีชุมครับ ขอบพระคุณครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-cm4oq1mc7x
    @user-cm4oq1mc7x ปีที่แล้ว

    ปัว. อิสานคือรักษา
    ปั่ว อิสานคือนางในบริวาร

  • @sermsaksainua7880
    @sermsaksainua7880 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณในความรู้ครับ

  • @journeyman2530
    @journeyman2530 2 ปีที่แล้ว +3

    มากด้วยคุณค่าสมกับที่รอ .... ไม่ผิดหวัง

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @yimrossukhone885
    @yimrossukhone885 2 ปีที่แล้ว +2

    ปอย แปล ว่างานบุญ งานมงคล
    ตพังโปยสี น่าจะแปลว่าสระน้ำมงคล ครับน้ำเมื่อแล้งมีแปลว่า น้ำช่วงฝนแล้ง หรือหลังฤดูฝน ครับ น้ำฤดูฝนตอนน้ำเยอะ แหล่งน้ำต่างๆจะขุ่นครับ แหล่งน้ำจะใสช่วงฝนแล้ง

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @jsbsveg8150
    @jsbsveg8150 2 ปีที่แล้ว +1

    พี่อ่านน่าฟังดี

  • @natdanaifaesanthia4794
    @natdanaifaesanthia4794 2 ปีที่แล้ว +4

    Happy New Year Every days ฮะ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      สวัสดีปีใหม่เช่นกันครับ

  • @user-fg7hw6qg2m
    @user-fg7hw6qg2m ปีที่แล้ว +2

    ปัวระบัดพัดวีในภาษาอิสาน=รับใช้=ปัวนาง=นางรับใช้

  • @thekopengineer
    @thekopengineer 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากๆเลยครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @firstpisama8330
    @firstpisama8330 2 ปีที่แล้ว +2

    แม่น้ำโขงนั่นแหละ เพราะบรรพบุรุษของสุโขทัย คือไทเลือง มีความผูกพันกับ แม่น้ำอู แม่น้ำโขง

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ
      แล้วแม่น้ำโขงหน้าแล้งนี่มัน “ใสกินดี” ไหมครับ ?

  • @sukritstory6360
    @sukritstory6360 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-ih9fj7du5j
    @user-ih9fj7du5j 2 ปีที่แล้ว +5

    อยากให้อาจรณ์ แปล ศิลาจารึก วัดเขากบ บ้านผมเองครับ ที่นี่ ยังคงมีเจดีย์องค์ใหญ่ สมัยสุโขทัย มีวัดหัวเมืองที่กล่าวในจารึก ยังอยุ่ถึงทุกวันนี้

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

    • @user-gd7cr5sy1h
      @user-gd7cr5sy1h 2 ปีที่แล้ว

      สมัยก่อนนครสวรค์คือเมืองลูกของสุโขทัยหรือชายแดนเลยก็ว่าได้เลยมีศิลปสุโขทัยมาถึงในครสวรรค์

    • @pornsawanchansuwan1555
      @pornsawanchansuwan1555 2 ปีที่แล้ว

      สนับสนุนค่ะจะคอยรับฟังค่ะจารึกวัดเขากบนี้เป็นของสุโขทัยมีรอยพระพุทธบาทสุโขทัยด้วยและมีที่ยอดเขาหน่อ อีกที่นะคะพระพุทธบาทค่ะเก่าแท้เหมือนกันมากๆ

    • @suphatbuakla4485
      @suphatbuakla4485 ปีที่แล้ว

      @@user-gd7cr5sy1h ศิลปะสุโขทัย มีที่มาเลเซียด้วยครับเป็นพระพุทธรูป อยู่ที่ไทรบุรี ครับ

  • @user-km2lv9gv9c
    @user-km2lv9gv9c 2 ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยมมากครับ รอติดตามมาตลอดเลย

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @hgridd3791
    @hgridd3791 2 ปีที่แล้ว +1

    สนุกมากๆ เลยคับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-qy7gh4yx3t
    @user-qy7gh4yx3t 2 ปีที่แล้ว +1

    สนุกมาก รอตอนต่อไป

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @taspien
    @taspien 2 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบพระคุณมากครับอาจารย์ 🙏

  • @puttimethboonto3769
    @puttimethboonto3769 2 ปีที่แล้ว +1

    ดีมากเลยครับพี่หอย

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ
      ดร.วินัย ท่านทำไว้
      ดร.ตรงใจ ท่านช่วยให้ข้อมูลเพิ่มเติมครับ

  • @honeyhoneybee28
    @honeyhoneybee28 2 ปีที่แล้ว +1

    มาติดตามต่อค่า

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @nekanaluna
    @nekanaluna 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-xu1tc1pq5m
    @user-xu1tc1pq5m 2 ปีที่แล้ว +1

    มาฟังแล้วคร้าบบบ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @sutepchotchoung4860
    @sutepchotchoung4860 2 ปีที่แล้ว +1

    ติดตามตลอดนะครับคุณหอย

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @teerapatnaiyanate5058
    @teerapatnaiyanate5058 2 ปีที่แล้ว +2

    สุดยอดมากๆครับพี่

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @Coolerzebra
    @Coolerzebra 2 ปีที่แล้ว +2

    จะตามให้ครบ 4 ตอนครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-hs1bq8gk7y
    @user-hs1bq8gk7y 2 ปีที่แล้ว +1

    ตามมาฟังครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @copyxerox
    @copyxerox 2 ปีที่แล้ว +2

    ติดตามชมครับ รอตอน 2 อยู่เลย

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @user-co6no7tq6i
    @user-co6no7tq6i 2 ปีที่แล้ว +1

    ติดตามตลอดครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

    • @user-co6no7tq6i
      @user-co6no7tq6i 2 ปีที่แล้ว

      ปีใหม่นี้.ขอ.ให้อาจารย์ สุขภาพแข็งแรง.ร่ำรวยๆครับผม

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-co6no7tq6i ขอบคุณครับ มีความสุขเช่นกันนะครับ

  • @slowman555
    @slowman555 2 ปีที่แล้ว +1

    fc ครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-ds3rr8bb1m
    @user-ds3rr8bb1m 2 ปีที่แล้ว +2

    เข้ามาติดตามครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-nr3tk6se5e
    @user-nr3tk6se5e 2 ปีที่แล้ว +2

    ราม คล้ายคำว่าฮาม ของทางคำเมืองทางเหนือ บ้านผมแปลว่า
    ปานกลาง พอดี พอเหมาะ
    เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยมีใครใช้พูดกันครับ คุณหอย(ความคิดเห็นส่วนตัวครับ ผิดถูก ขออภัย ด้วยครับ)

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @loongchai5965
    @loongchai5965 2 ปีที่แล้ว +7

    เกือบพลาดอดดูแล้ว ตอน EP1 ลืมกดติดตาม EP หน้าไม่พลาดแน่ กดติดตามเรียบร้อยขอบคุณครับอาจารย์ ที่มาจาระไน ให้ฟังได้ฟังกันเพลินๆไม่ต้องอ่านเองครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ

  • @user-tg4gv5bd8w
    @user-tg4gv5bd8w ปีที่แล้ว

    อันรามคืออันฮาม ไม่เล็กไม่ใหญ่ ความคิดฉันนะ

  • @tyboonyong
    @tyboonyong 2 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดีปีใหม่ครับพี่หอย ขอบคุณสำหรับคลิบดีๆครับ ชอบมากๆเลยครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-xq2he4jk5t
    @user-xq2he4jk5t 5 หลายเดือนก่อน

    โขง ของ คลอง กลอง[ในคำว่าแม่น้ำแม่กลอง มาจากภาษามอญโบราณ คลอง จีนรับไปใช้ว่า 江 [กอง-กวางตุ้ง]
    กลวง ข่วง มาจากจีน 空 คง

  • @zabjoe
    @zabjoe ปีที่แล้ว

    ปั่ว ปั๋ว แปลว่า ปรนนิบัติ ได้ไหมครับ

  • @user-uc9mh2tc8t
    @user-uc9mh2tc8t 2 ปีที่แล้ว +1

    ผมติดตามอยู่พี่เรื่องหลักศิลาขอบคุณพี่หอยทากครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @mainaki1001
    @mainaki1001 2 ปีที่แล้ว

    ประเทศไทยนายหลวงร 9เป็นพระเจ้าสร้างโรงเรียนครับ

  • @user-cy8yg5uf4i
    @user-cy8yg5uf4i 2 ปีที่แล้ว +2

    ความรู้เน้นไปครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-nh2kh5vt1g
    @user-nh2kh5vt1g ปีที่แล้ว

    ตัวอักษรที่ใช้จารึกเขาเรียกว่าอักษรอะไรครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  ปีที่แล้ว +1

      อ่านอันนี้นะครับ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47

    • @user-nh2kh5vt1g
      @user-nh2kh5vt1g ปีที่แล้ว

      @@hoyapisak ครับ