(คลิปเต็ม) สปสช เพิ่มการเข้าถึงด้วยบริการ คลินิกพยาบาลชุมชนอบอุ่น | บ่ายนี้มีคำตอบ (17 ส.ค.66)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 16 ส.ค. 2023
  • บ่ายนี้มีคำตอบ | 17 ส.ค. 66 On Air
    สปสช เพิ่มการเข้าถึงการรักษา ด้วยบริการ 'คลินิกพยาบาลชุมชนอบอุ่น'
    .
    บ่ายนี้มีคำตอบ : พฤหัสบดี - ศุกร์ เวลา 13.00 น.
    ทางช่อง 9 กด 30

ความคิดเห็น • 7

  • @KavinnathManeerat
    @KavinnathManeerat 7 หลายเดือนก่อน +6

    คลินิกพยาบาล ดีจะตายไป ละเอียดละออ เอาใจใส่ ในราคาที่แสนถูก 😂

    • @Opoklury
      @Opoklury 6 หลายเดือนก่อน +2

      ยากับคลินิกหมอ ตัวเดียวกัน แต่ราคาต่างกันมากก

  • @sp.2687
    @sp.2687 5 หลายเดือนก่อน +2

    อันนี้พิธีกรก็น่าจะยังไม่เข้าใจวิชาชีพของเภสัชกรเลยเหมือนกัน
    การจ่ายยาทุกครั้ง
    ต้องซักประวัติ ,แนะนำการใช้ยา และอื่นๆ
    ถึงแม้ว่าคนไข้จะมาด้วยอาการอะไรหรือไม่ได้แจ้งอาการ หรือมาด้วยคำสั่งซื้อยา จำเป็นต้องตรวจสอบถาม
    >อะไรมา/มาด้วยอาการอะไร
    >เป็นตั้งแต่เวลาใดวันใด
    >ใครเป็นคนใช้ยา, ผู้ใหญ่หรือเด็ก (ถ้าเป็นเด็ก อายุเท่าไหร่/น้ำหนักเท่าไหร่)
    >มีประวัติแพ้ยาหรือไม่
    >มีโรคประจำตัวด้วยหรือไม่
    > ก่อนหน้านี้ใช้ยาหรืออาหารเสริมอะไรอยู่บ้าง, ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรอยู่
    *ถึงแม้ลูกค้าหรือคนไข้จะบอกว่าเอายานี้ยี่ห้อนี้ ก็ต้องซักประวัติทุกครั้ง (เพราะคนไข้บางคนแค่ยาสามัญ ยั่งพารายังกินกันผิดๆเลย)
    ถ้าคนไข้คนนั้นมีอาการผิดปกติอย่างเช่นหัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่ายโดยที่คนไข้เองไม่ทราบสาเหตุหรือมีโรคประจำตัวอยู่ เภสัชกรร้านยาจะวัดความดันเพื่อตรวจร่างกายความรุนแรงของอาการที่เป็น
    ถ้าคนไข้หรือลูกค้ามีอาการผิดปกติที่ไม่สามารถประคองตัวเองได้ หรือมีความรุนแรงของอาการที่เป็นนั้นๆ
    เภสัชกรร้านยาจะส่งต่อคนไข้ ไปยังสถานพยาบาลเพื่อพบแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัย หรือบางจำเป็นต้องใช้ยาระงับอาการฉุกเฉินทันที
    กรณีที่ไม่รุนแรงมาก จะจ่ายยาตามอาการและแนะนำการใช้ยา
    ปัจจุบันเริ่มมีร้านขายยาที่ติดตามอาการลูกค้าหรือคนไข้ของตัวเองที่จ่ายยาไปแล้วด้วย
    ตามด้วยกฎหมายขอบเขตของสภา ไม่สามารถจับตัวตรวจคนไข้ได้ ยกเว้นการใช้เครื่องวัดความดันให้กับคนไข้
    จึงจำเป็นต้องซักประวัติซักอาการให้ได้มากที่สุด
    เพราะการจ่ายยาทุกครั้ง ต้องประเมินอาการที่เป็นตอนนั้นทุกครั้ง
    .
    ทั้งหมดนี้เป็นกระบวนการที่ร้านยา มีมานานแล้ว และก็มีอยู่
    .
    อีกอย่างอยากจะให้รู้ไว้ว่า สำหรับคนที่ยังไม่รู้ว่าร้านขายยา ขายยังไง
    .
    ร้านขายยาเป็นประเภทขายยาสินค้าเวชภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
    .
    ร้านขายยา ไม่ใช่ ร้านชำ หรือร้านสะดวกซื้อ .
    ไม่ใช่ว่าลูกค้าหรือคนไข้จะมาขอซื้อ สั่งยาหน่อย เอายาอันนี้ เอายี่ห้อนี้ แล้วหยิบไปให้เลย มันไม่ใช่. หรือบางคนอาจจะโกหก ว่าแพทย์เขียนใบสั่งยาให้มาซื้อยา โกหกเภสัชกรไม่เนียนค่ะ
    รูปแบบใบสั่งยาก็ไม่ใช่ ลายมือก็ไม่ใช่ เขียนชื่อยาก็ไม่ใช่ ไม่ต้องมาโกหกกันหน้าซื่อๆ เพราะรู้ค่ะ
    และบางคน อาจจะบอกว่าเพื่อนฝากซื้อคนนั้นฝากซื้อคนนี้ฝากซื้อ แต่พอซักประวัติ กลับที่สั่งยาที่จะซื้อ ไม่ตรงกับอาการ เภสัชกรถึงกับช็อค เพราะ สั่งยาเองไม่ตรงอาการไม่ตรงโรค กลับไม่เชื่อ จะเอายานั้นให้ได้ยี่ห้อนี้ให้ได้บอกกินอันนี้แล้วหายอ่ะ จะเอาให้ได้บอกไปแล้วก็ไม่เชื่อไม่ฟัง แนะนำยาที่ให้ถูกกับอาการกับโรค กลับไม่เอา แต่อ้างว่าเพื่อนสั่งให้ซื้อ ทั้งๆที่บอกไปแล้วว่ากินผิดใช้ผิด
    .
    จึงอยากให้คนทั่วไปได้ทำความเข้าใจใหม่
    และยังไม่รู้หน้าที่และการจ่ายยาของเภสัชกร.

    • @roseravee9854
      @roseravee9854 4 หลายเดือนก่อน +3

      ขอบคุณค่ะ ในชีวิตยังไม่เคยเจอเภสัชที่ว่านี้เลย

    • @sp.2687
      @sp.2687 4 หลายเดือนก่อน

      @@roseravee9854 เข้าร้านยาก็ถามหาเภสัชกรค่ะ ไปซื้อยาด้วยอาการอะไรแจ้งอาการค่ะ
      อย่าวินิจฉัยเองและสั่งซื้อยาเองค่ะ
      เพราะในไทยคนส่วนใหญ่ที่เห็น ลูกค้าวินิจฉัยโรคซื้อยาเอง โดยไม่แจ้งอาการ เมื่อเภสัชสอบถามซักประวัติ ลูกค้าส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความร่วมมือ และอารมณ์หงุดหงิดเมื่อซักประวัติค่ะ
      เมื่อไหร่ที่ลูกค้าหรือคนไข้ร่วมมือ ก็จะได้ข้อมูลซักถามตามข้างบนนี้ค่ะ

  • @ilhamemaedosa
    @ilhamemaedosa 7 หลายเดือนก่อน +1

    ได้ยาง่าย เข้าถึงง่าย คนไทยดูแลตัวเองไม่เป็น กินบ้างไม่กินบ้างยังไงก็ได้เพราะไม่ต้องจ่ายตัง อาจได้ยาอันตรายจากการขาดองค์ความรู้ในบางแขนงของผู้ให้บริการ ผลลัพธ์คือ คนไข้ไป รพ น้อยลง แต่คนไข้หนัก เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยามากขึ้น

    • @sp.2687
      @sp.2687 5 หลายเดือนก่อน

      เพิ่งไปดูคลิปพยาบาลคนหนึ่ง แนะนำขายยาสามัญ แต่บอกว่าไม่รู้ข้อมูลตัวยาจริงๆ ทำงานได้2-3ปี เพิ่งจะรู้ว่ายาตัวนั้นใช้ยังไง...