Remaster EP.3 ปราสาทภูเพ็ก ค้นพบแหล่งตัดหินโบราณ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 ม.ค. 2024

ความคิดเห็น • 49

  • @user-cc1hh8fv8c
    @user-cc1hh8fv8c 4 หลายเดือนก่อน +23

    การตัดและย้ายหินขนาดใหญ่ชาวขอมเขาใช้ช้างลากครับ ซึ่งเขาจะทำกันเฉพาะหน้าแล้ง หน้าฝนเขาจะแกะสลักกัน ชาวขอมเขาถนัดในการใช้ช้าง และรู้ในก้อนหินนั้นคือรู้ที่เจาะเพื่อเสียมไม้เอาไว้มัดเชือกให้ช้างดึง ถ้ามัดกับก้อนหินช้างจะถูกับพื้นจะขาดง่าย ขอมจึงใช้วิธีมัดเชือกด้านบ่น ผมเห็นจากสารคดีการสร้างนครวัดครับ อีกเรื่องครับ อาจาร์ยเคยสงสัยมั้ยครับว่า ขอมหายไปไหนหลังจาก อาณาสลาย จริงๆขอมไม่ได้ไปไหนเลยครับ ก็ยังอยู่ที่เดิมหลังจากอาณาจักรล้านช้างเข้ามาปกครอง ขอมคือคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าโส้ ซึ่งกระจายกันอยู่ตามเทือกเขาภูพาน ส่วนชาวล้านช้างก็คือ ไทญ้อ หรือภูไท แล้วแต่จะเรียกตัวเอง พื้นที่ดังเดิมก็เป็นของชาวโส้และภูไท ตามประวัติก่อนตั่งเมืองสกลนครครับ อีกเรื่องครับ พระธาตุพนม อาจาร์ยก็พูดถูกครับภายในโครงสร้างของขอมครับ พระธาตุศรีคุณที่ อ.นาแกด้วย เพราะแม่น้ำก่ำสมัยก่อนคืนเส้นทางการคมนาคมครับ นครพนมไม่มีประวัติเลย ชาวโส้เรามีเรื่องเล่าเกียวกับพระอุรังคธาตุมารุ่นต่อรุ่นครับว่ามีความเป็นมาอย่างไร

  • @qazer4445
    @qazer4445 4 หลายเดือนก่อน +8

    😊ผมขอเสนอ ให้พี่น้องชาวสกล ตั้งบริษัทขึ้นมาบริหารจัดการ
    ชาวสกลทุกคนคือหุ้นส่วน
    ระดมทุน อัปเกรด ภูเขาลูกนี้ทั้งลูก
    สร้าง โปรเจคแห่งศัตวรรษ ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สร้างทั้งภูเขาไปเลย ดีไซด์ครอบของเก่าไว้ด้วยไม่ได้ทำลายทิ้ง สร้างให้อลังการ แบบใครเห็นต้องอึ้ง ชนิดที่นครวัตกลายเป็นกระต๊อบหินป่วยๆไปเลย คงสร้างงานเงินเข้าจังหวัดมหาสาร การท่องเที่ยวมันทำเงิน บริหารจัดการดีๆ เป็นมรดกไว้ให้ลูกหลานทำมาหากินตลอดกาล😊😊😊😊😊😊😊

    • @woravit11HermitAkgAmata
      @woravit11HermitAkgAmata 4 หลายเดือนก่อน

      กระต๊อบหินป่วยๆ ฮ่าๆๆ

  • @user-re5ft8er5w
    @user-re5ft8er5w 4 หลายเดือนก่อน +8

    ผมเคยเห็น หินแกะสลักเป็นรูปปราสาท มีขนาดเล็ก ยาวครึ่งเมตรถึง1เมตร มีลักษณะเหมือนกับตัวปราสาท..เป๊ะ แทบทุกที่ ผมคิดว่า นี่แหล่ะคือพิมพ์เขียวที่ได้รับมอบหมายมาให้สร้าง (ไม่ทราบว่า กรมศิลปากร ได้รวบรวมเก็บจากสถานที่ปราสาทต่างๆรวบรวมเก็บไว้หรือไม่? วัดต่างๆที่ครอบครองยังรักษาไว้หรือปล่าว?ปัจจุบันพิมพ์เขียวยังหลงเหลืออยู่หรือไม่? และในหลายๆสถานที่ ยังคงเห็นพิมพ์เขียวนี้อยู่บ้าง

  • @meechaisuphim8227
    @meechaisuphim8227 4 หลายเดือนก่อน +4

    ผมมีความภูมิใจในความที่เกิดเป็นคน สกลนคร ได้ความรู้รากเหง้าความเป็นมาของบรรพบุรุษ

  • @anothaipichaikamol7754
    @anothaipichaikamol7754 หลายเดือนก่อน

    เยี่ยมค่ะ..ชอบดูชอบฟังท่าน อ.ทั้งสอง ได้ความรู้ มีเหตุมีผลตามควร มีหลายวิชาประกอบกัน แสดงถึงคนโบราณรู้จริงฉลาดล้ำลึกมาก น่าภูมิใจแทนชาวสกลนคร

  • @theerapojboontee1835
    @theerapojboontee1835 4 หลายเดือนก่อน +7

    ผมพอจะอนุมานได้เลยว่าทำไมถึงไม่มีใครสานต่อเทคนิคการสร้างแบบนี้ ไม่ว่าในไทยหรือเขมร เพราะมันสิ้นเปลืองมาก ทั้งแรงงาน อาหาร เวลา กว่าจะเสร็จหลังหนึ่งๆ เผลอๆ จะมีการต่อต้านจากกลุ่มแรงงาน เพราะสร้างกันเป็นปีเป็นชาติ ไม่เสร็จสักที สู้แบบก่ออิฐไม่ได้ ผลิตได้เร็ว ขนย้ายง่าย สร้างได้เร็วกว่า แม้จะคงทนถาวรน้อยกว่า

  • @user-rk6nu7gc7i
    @user-rk6nu7gc7i 4 หลายเดือนก่อน +5

    ศิวลึงค์ ขนาดใหญ่ ก็มีอีกแห่งครับ อยู่สกลนคร นี้หละครับ ที่ ปราสาทพันนา ครับ

  • @jamesru5861
    @jamesru5861 4 หลายเดือนก่อน +4

    เป็นไปได้ไหมว่า ภูเพ็ค เป็นปราสาทหางไกลจากตัวเมืองหลวงขอมมาก เลยทำให้ทุกอย่างล่าช้า ข่าวสาร แรงงานที่ต้องใช้จำนาวนมาก กว่าจะตัดและเตรียมการก่อสร้างต้องใช้เวลานานมาก และกว่าจะสร้างบันไดทางขึ้นอีก ยอมคนสมัยก่อนสุดยอด

  • @user-tm8gp5ot3g
    @user-tm8gp5ot3g 4 หลายเดือนก่อน +3

    ผมคิดว่าคนสมัยนั้นคงตัวใหญ่กว่าคนสมัยนี้มาก เพราะเมื่อผมเป็นเด็กๆเคยได้ยินคนเฒ่าคนแก่พูดถึงเรื่องคนแปดศอกบ่อยๆ และอีกอย่างโดยหลักธรรมชาติแล้วคนมักไม่ทำอะไรที่มันหนักเกินตัวหลายๆเท่าถ้าคนแปดศอกมีจริงการที่จะใช้เครื่องมือที่มีขนาดใหญ่ๆก็เป็นเรื่องไม่เกินตัวเช่นคานงัดใหญ่ๆบวกน้ำหนักถ่วงดุลเเละน้ำหนักตัวคน สังเกตดูบานประตูตัวปราสาทก็ไม่เล็กๆครับน่าจะเหมาะสมกับคนสมัยนั้น (คิดไปซั่นล่ะว้า)

  • @pzpzzhz
    @pzpzzhz 4 หลายเดือนก่อน +5

    น่าทึ่งมากน้า ต้องใช้กี่ man day ในการสร้างน้า

  • @user-zu7bl5lq9k
    @user-zu7bl5lq9k 4 หลายเดือนก่อน +4

    ความคิดเห็นผมคิดว่าการเคลื่อนย้ายหรือยกหินขนาดใหญ่ใช้วิธีการคานถ่วงน้ำหนักหรือรอกถ่วงน้ำหนัก โดยใช้เชือกผูกกับหืนปลายคานด้านหนึ่ง ปลายคานอีกด้านถ่วงน้ำหนักให้สมดุล เหมือนการยกยอในลำคลอง จะใช้แรงงานน้อยและเคลื่อนไปยังที่สูงได้ไม่ยาก

    • @chillic2283
      @chillic2283 4 หลายเดือนก่อน

      อาจเป็นไปได้ทั้งสองทางค่ะ เชื่อเลยพวกท่านๆอดทนและฉลาดมากๆจนมีสิ่งนี้เอาไว้ให้พวกเราเห็นและสึกษาต่อไป

  • @user-vg8jd1ws1d
    @user-vg8jd1ws1d 4 หลายเดือนก่อน +3

    เป็นประโยชน์มากๆเลยครับ ความรู้มากมายทึ่ไม่มีในห้องเรียน นี่คือบรรพบุรุษที่สุดยอดยิ่งใหญ่บนแผ่นดินไทย

  • @user-in1bb8wq6r
    @user-in1bb8wq6r 4 หลายเดือนก่อน +2

    ท่านอาจารย์_อธิบายมีเหตุมีผล_สุดยอดครับผม

  • @chnatnat2561
    @chnatnat2561 4 หลายเดือนก่อน +3

    ได้ความรู้มากๆเลยครับ

  • @sinchaivana4027
    @sinchaivana4027 4 หลายเดือนก่อน +1

    สุดเลยครับอาจารย์ ถ่ายทอดความรู้มากมาย

  • @maryim406
    @maryim406 2 หลายเดือนก่อน +1

    เป็นบุญของลูกหลานคนไทยที่ได้เห็นคลิปของอาจารย์ฯที่ทรงความรู้ฉบับบริสุทธ์ิจริงๆพิสูตร์ได้ ขอขอบคุณท่านอาจารย์มาก็ครับ

  • @user-ef4yw9vr5g
    @user-ef4yw9vr5g 4 หลายเดือนก่อน +2

    ต้องใช้ความเพียร อดทนมากเลยกว่าจะตัดได้แต่ละชิ้น

  • @user-vg9ue2sh5h
    @user-vg9ue2sh5h 4 หลายเดือนก่อน +1

    ผมว่าคนโบราณ​เขาใช่ช้างลากด้วยคับ​ ใช่ช้าง​ลาก​

  • @user-ed7ez9xr1p
    @user-ed7ez9xr1p 4 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์...เอาการบรรยายมาลงด้วยครับ น่าสนใจ สนับสนุนดีครับ

  • @urimatracht
    @urimatracht 4 หลายเดือนก่อน +2

    ติดตามเสมอชอบครับอาจารย์ขอให้ทั้งสองท่านและทีมงานสุขภาพแข็งแรงตลอดไปขอบคุณครับ

  • @kenk324
    @kenk324 4 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์คร้บชาวกุยเขาเก่งเรื่องใช้แรงงานช้างมาแต่โบรานแล้ว. เห็นพระเจ้าสุริยะวรมันที่2 ขี่ช้างที่ปราสาทนครวัดไหม เขาต้องใช้แรงงานช้างเพื่อสร้างปราสาทด้วยแหละครับ

  • @samartlimvanabul5278
    @samartlimvanabul5278 4 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณอาจารย์ทั้งสองท่านครับ ที่จุดประกายที่มาอันเป็นรากฐานของการสร้างปราสาททุกชนิดได้อย่างสมเหตุสมผล น่าเชื่อถือและเป็นไปได้

  • @chorchang31
    @chorchang31 4 หลายเดือนก่อน +1

    พออนุมานได้มั้ยส่าใช้เวลาสร้างกี่ปี😊😊

  • @user-vq8oo3uu3r
    @user-vq8oo3uu3r 4 หลายเดือนก่อน

    ยี่งใหญมากบูรณครับ

  • @user-iq3rl4gq2o
    @user-iq3rl4gq2o 4 หลายเดือนก่อน

    😮โรงงานธรรมชาติเลย😂

  • @supinationjukrit9984
    @supinationjukrit9984 3 หลายเดือนก่อน

    ใช้ช้าง10~20เชือกลากขึ้นไป เรื่องน้ำกินน้ำใช้ เขาใช้น้ำฝนทำโอ่งดินเผาเก็บน้ำใช้มากๆ ส่วนข้าวเขาทำไร่ ในที่นั่น เนื้อสัตว์หาได้จากพรานคือหน้าที่สะเบียง ง่ายๆแค่นี้ คนโบราณฉลาดตามยุคในวิถีท้องถิ่นที่ตกทอดหลงเหลืออยู่ในท้องถิ่นชาวป่าชาวเขา

  • @luechaibaobabdee2761
    @luechaibaobabdee2761 4 หลายเดือนก่อน +1

    ❤❤❤

  • @user-hm9ll7iy3d
    @user-hm9ll7iy3d 4 หลายเดือนก่อน +1

    ตามความเห็นของผมน่าจะใช้วิธีชะลอไป

  • @user-im8lb8wh1s
    @user-im8lb8wh1s 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขุดค้นพัฒนาเพิ่มเติมอาจจะพบข้อมูลใหม่ๆอีกมาก

  • @user-ue3jq4oe1b
    @user-ue3jq4oe1b 4 หลายเดือนก่อน +1

    เราจะสร้างประสาทต่อจากอดีตให้เสร็จปัจจุบันนี้ได้ไหม

  • @shannonwheeler782
    @shannonwheeler782 4 หลายเดือนก่อน

    Very interesting ❤❤

  • @user-jh1du1px2r
    @user-jh1du1px2r 4 หลายเดือนก่อน +1

    ❤❤❤❤

  • @user-kl6bi3qg4t
    @user-kl6bi3qg4t 3 หลายเดือนก่อน

    ถ้าเอาหินจากข้างล่างขึ้นไปทุกวันนี้ก็ยากมากครับ

  • @tumsurasak7968
    @tumsurasak7968 4 หลายเดือนก่อน

    ฟังอาจารย์ทั้งสองท่านแล้ว ชาวขอมสมัยก่อนทำงานกับเป้นแบบแผนมากเลยครับ มีทั้งมัณฑนากร interior design. เขียนแบบ ทำเป็นจิ๊กซอว์ ก่อนจะมีแรงงานมาแกะสกัดหิน ไปทีละส่วน และโฟแมนคลุมงาน ย้ายหินไปถึงจุดก่อนจะมีวิศวกรทำคำนวนก่อนว่งอีกที 🙏🙏🙏🙏🙏🙏
    เครื่องเคลื่อนย้ายหิน ผมคิดว่า ฝายที่กั้นน้ำไม่ใช่เอาไว้แค่ดื่มกิน ผมคิดว่าน่าจะนำน้ำมาช่วยผ่อนแรงในการขนย้ายหินด้วย ครับ ความคิดผม น้าจะทำเป็นรางหรือร่องดิน โดยใช้แรงงานสัตว์ ลาก แล้วใช้น้ำราดในร่องดินช่วยในการผ่อนแรงทำให้เกิดการลื่นให้สัตว์ลากได้ง่ายขึ้น

  • @foxalone674
    @foxalone674 4 หลายเดือนก่อน

    อย่าให้พระเข้าไปหาประโยชน์จากที่นี่

  • @user-iq3rl4gq2o
    @user-iq3rl4gq2o 4 หลายเดือนก่อน

    โคตรอินดี้

  • @yuwaretkanchanakhan5409
    @yuwaretkanchanakhan5409 4 หลายเดือนก่อน

    เมื่อก่อนเขานี้อาจมีแต่หิน ไม่มีต้นไม้แบบสมัยนี้ ภูเขาหินโล้นๆ

  • @yukimiko1703
    @yukimiko1703 3 หลายเดือนก่อน

    เสียงแสบแก้วหู

  • @user-rs8ct8sn8s
    @user-rs8ct8sn8s 4 หลายเดือนก่อน

    พูดได้....ให้100 ขั้นก็ได้....ปัญญาสมอง...พูดได้...น่าสงสาร...อิอิ

  • @user-fc4q
    @user-fc4q 4 หลายเดือนก่อน +2

    อ. สรรค์สนธิ บุญโยทยาน

  • @WeerayuthSu-kx6dg
    @WeerayuthSu-kx6dg 4 หลายเดือนก่อน +1

    ภูเพรช

  • @user-vc1gf3dh6h
    @user-vc1gf3dh6h 4 หลายเดือนก่อน +1

    ใช้ช้างครับ

  • @atcharasuebpunkoye4780
    @atcharasuebpunkoye4780 4 หลายเดือนก่อน +4

    ผมคิดว่าการสร้างปราสาทแต่ละองก่วาจะเสร็จนะผมว่าจะตอ่งมีคนตายไม่ต่ำก่วาครึ่งพันเป็นแน่เช่นถูกหินทัพตกนั้งร้านมั้งเป็นลมล่นจากที่สูงมั้ง

    • @wongdeuancharoensao3357
      @wongdeuancharoensao3357 4 หลายเดือนก่อน +2

      ผมคิดว่าไข้ป่าก็น่าจะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งนะครับ

  • @niwatsingkaew
    @niwatsingkaew 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณท่านนักวิชาการทั้งหมดแต่ผมว่าสร้างก่อนนครวัดผมอยากรู้ว่านครวัดเอาหินจากแหล่งไหนอยากให้เขมรตอบผมว่าอารยธรรมขอมเกิดจากอิสานลงไปเขมรมากกว่า