ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขอให้วัดภูม่านฟ้า แกะสลัก ศิลป วัฒนธรรมไทย ทุกแขนง เพื่อจารึกให้ลูกหลานได้ เข้าใจในเรื่องราว ผู้คน การอยู่อาศัย การแต่งกาย การละเล่น เครื่องไม้เครื่องมือ ของคนไทยในยุค ต่างๆ จะเยี่ยมมากเลยครับ
สักวันจะไปดูถ้ามีบุญ
ต้องยอมรับ ปัญญาและความสามารถของคนสมัยก่อน สุดยอด ทั้งที่ไม่มีเครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้าแบบตอนนี้ ชาวขอมโปราณสุดยอดครับ (ไม่ใช่เขมรนะครับ)
เอามาสร้างพนมรุ้งที่บุรีรัมย์หมู่บ้านเราเป็นทางผ่านขึ้นปราสาท มีหินดินดานถูกดินทับถมอยู่สามเ้ส สงสัยเหนื่อยเลยวางทิ้งใว้จนถึงวันนี้ ทรงเดียวกันเป๊ะ วางใว้ตรวทางสามแพร่งในหมู่บ้าน คนแก่บอกว่ามันเปนทางเกวียนที่ไช้มาแต่โบราณ ทะลุไปถึงเขาพนมรุ้ง
แอดมินติดคำว่าเขมรโบราณแทบทุกที่ ทั้งที่ความจริงเป็นขอมเป็นผู้บังคับใช้ทาสเขมรเป็นแรงงาน ฉะนั้น คำว่า เขมร จึงไม่มีแกะสลัก หรือจารึกไว้ในตำนานการสร้างปราสาทในทุกที่
ใช่ เขมรคือแรงงาน ไม่มีศิลปใดๆขอมนั่นคือไท ไปดูที่นางรองวัดภูม่านฟ้าเด้อกำลังสร้าง
เพิ่งเคยเห็นสถานที่นี้ ทึ่งมากกับความพยายามคนสมัยโบราณ สถานที่แบบนี้ยังไม่เคยมีใครทำคลิปเผยแพร่
หินทรายที่จมอยู่ใต้ดินจะไม่แข็ง เป็นหินผุๆ เมื่อเปิดหน้าดินที่ปกปิดหินอยู่ หน้าหิน ไม่แข็ง เอาขวานฌฉาะเบาๆตบแต่เป็นรูปอะไรก็ง่าย แต่เมื่อโดนอากาศไปสัก2-3 วัน ผิวหินจะแข็งขึ้นเรื่อยๆ จนขวานเฉาะเบาๆเหมือนตอนแรกไม่ไได้แล้ว
ใช้แล้ว ไหม่ๆ แกะง่ายมาก เอาเหล็กขูดๆก็แกะลายได้ ถ้าเปืดหน้าไหม่ๆ
นั่นมัน ศิลาแลง ครับ ตอนขุดขึ้นมาใหม่จะตัดงาน หินทราย แข็งมากอยู่ใต้ดินก็แข็งเท่ากับบนพื้น แล้วที่ดูคลิปนี้ ไม่เห็นหลุมที่ขุดเลย มันเป็นโนนเขานะครับ
หินถูขี้ไคตัวนั้นบ้อ555
นี่งัยหลักฐานว่าใครสร้างประสาทหินต่างๆคนไทยเราเขาเป็นช่าง
@@สุรศักดิ์สัญญปรีดากุลร่องรอยการขุดเจาะหินบนลานหินตัดอำเภอสีคิ้วที่ตั้งอยู่บริเวณบ้านคลองตะแบกเป็นรอยที่ถูกสะกัดด้วยสิ่วเป็นร่องลึกความกว้างของร่องประมาณ ฟุตครึ่งถึงสองฟุต คาดว่าเมื่อตัดหินแล้วจะถูกลำเลียงไปตามน้ำลำตะคองที่ไหลมาจากคลองไผ่ ซึ่งลำตะคองจะห่างจากแหล่งหินตัดประมาณ 2 กม.สันนิฐานว่าหินเหล่านี้นำไปสร้างปราสาทเมืองเสมา อ.สูงเนิน ซึ่งมีร่องรอยการสร้างใหญ่โตมาก แต่สร้างไม่เสร็จ
ตอนยกหินขึ้นเป็นรูปปราสาท น่าจะใช้ดินถมเป็นทางลาดขึ้นไปไต่ระดับความสูง ตามที่ต้องการ ใช้กำลังคนและช้างลากขึ้นไปวางตามจุดที่ต้องการเสร็จแล้วก็ขนดินออก คนสมัยก่อนสุดยอดมากครับ
มีเหตุผล
ถ้าใช้ดินต้องเป็นดินที่แข็งพอสมควร คนถึงจะขึ้นไปเหยียบได้ และไม่ทรุดลง ผมคิดว่าน่าจะใช้หินนี่แหละก่อขึ้นเหมือนนั่งร้านในปัจจุบัน และคิดว่าน่าจะใช้กำลังคนหลายคน ยกต่อ ส่งกันเป็นชั้นๆไป
จากผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าต่อๆกันมาเมื่อตัดหินแล้วใช้ช้าง ลากมาที่ลำตะคอง บ้านคลองตะแบก( ยังมีหลักฐานหินตัดและปราสาทเก่า ในหมู่บ้านนี้หลงเหลืออยู่ ) ซึ่งเป็นลักษณะทางลาดชันลงไปประมาณ 1 กิโลเมตร แล้วนำหินล่องแพตามน้ำลำตะคองจนถึงลำน้ำมูลที่ อ.ท่าช้างแล้วล่องแพต่อไปที่พิมายเพื่อสร้างปราสาทครับ
มันมีลานหินทรายทุกที่ที่ก่อสร้างปราสาท
@@No-ty3ig ไม่จริง
ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
อ.ท่าช้างอยู่ที่ไหนครับ
คนโบราณยุคก่อนเขาเอาอะไรตัดน่ะ..ทำไมต้องหาอะไรที่มันโคตรยากๆทำน่ะ..แค่ทำไร่ทำนาอยู่บ้านมุ้งหญ้าคาหลังกระต๊อบก็น่าจะพอเพียงพอใจแล้ว..เครื่องมือยิ่งล้าสมัยก็ยังคิดพากันดันทุรังมาทำอีก..
ส่วนตัวนะครับ 1=การยกหินขึ้นไปช้อนเรียงสูงๆนั้น 1.1 น่าจะทำด้วยคันชั่ง (กระเดื่อง เรียกไม่ถูกเหมือนกันต้องขออภัย)โดยใช้ท่อนซุงใหญ่ๆมาทำเป็นชุดคันชั่งเเบบ 3 ขาสามารถย้ายได้ตามระดับความสูง หางยาวๆเพื่อใช้หางกระเดื่องถ่วงน้ำหนักก้อนหินที่ผูกมัดอีกปลายมีความเบาลอยขึ้นง่ายๆ (คล้ายเราทำคันกระเดื่อง ตักน้ำในบ่อสมัยก่อน) โดยผูกหินใส่ปลายคันชั่งอีกด้านหนึ่ง เเละคนก็จะดึงกดหางคันชั่งลง เเล้วหินก็จะลอยวางตามตำเเหน่งที่ต้องการ เมื่อความสูง สูงขึ้นเรื่อยๆ เขาก็จะใช้หินที่จะมาทำปราสาทนี่หล่ะวางเป็นฐานเเน่นๆมั่นคง เพื่อจะตั้งชุดขากระเดื่อง หรือทำคันชั่งไว้หลายระดับความสูง เช่นกระเดื่องชั้น1 วางชึ้นไปวางไว้ชั้น2 เเละชุด2ก็ยกต่อขึ้นไปเรื่อยๆ (ยิ่งขากระเดื่องยาวสูงก็จะยกได้สูงหลายเมตร).... พอปราสาทที่มีความสูงสุดเสร็จสมบูรณ์เเล้ว. ก็จะรื้อก้อนหินที่ทำฐานกระเดื่อง มาทำส่วนก่อสร้างที่ต่ำๆ เช่นทางเดิน กำเเพง เป็นต้น 1.2 หรือขากระเดื่องเเบบ 2ขายาวๆตามระดับความสูงของปราสาท เเบบฝังกับดินระบบทำงานก็ไม่ต้องนำหินมาวางเป็นฐานให้ยุ่งยาก เเต่ต้องใช้ขายาวมากๆ ระบบนี้ต้องย้ายเเกนเพลากระเดื่องไปตามระดับความสูงที่ต้องการ (ไม่ต้องห่วงเรื่องเสาไม้ยาว ยุคนั้นผมคิดว่าต้องมี เพราะยุคเราตอนผมเป็นเด็ก ผมก็เคยเห็นไม้ชนิดหนึ่ง คนเเก่เรียก#ไม้เเคนหิน# อยู่ป่าดงดิบยาวมากๆ ลำตรงเหมือนลำเทียนเลยสวยยาวหลายสิบเมตร เเต่ยุคนั้นอาจจะเป็นไม้ชนิดอื่น 1.3 เเบบลอกดึง เเบบนี้จะไม่ยุ่งยาก เท่ากับเเบบ 1.1-1.2....เเต่ต้องใช้เเรงงานสัตว์เช่นช้าง เพราะเเบบนี้ไม่มีอะไรมาช่วยถ่วงนำหนัก..เสาลอกใหญ่ ฝังดินลึกเเน่นหนา ไม้ค้ำยันขาลอกอย่าให้เอียงเวลาช้างดึงเชือกลอก (ทั้ง 1.1-1.2-1.3=ทำหลายๆชุดรอบปราสาท นั่งร้านรอบนอก รอบในปราสาท....อุปกรณ์เช่น เชือก เเกนเพลา ล้อลอก นั่งร้าน อื่นๆ ไม่ยากสำหรับเขาเลย ไม่ต้องห่วง ดูการออกเเบบสร้างปราสาทก็พอ....)(ดังนั้นการที่เขาจะใช้ดินถมเพื่อที่จะลากก้อนหินขึ้นไปนี่ ค่อนข้างจะยากกว่า ต้องใช้ดินมหาสาร เเละต้องทำเนินดินสลบยาวมากๆ ถ้าเปรียบระดับความสูงของปราสาทสูง 30-60 เมตร ต้องขนดินมาทำเนินลาดสลบยาว อย่างน้อยต้อง 2-3เท่าตัวของความสูงปราสาท...ตอนขนเข้าเเละตอนขนดืนออกเมื่อเสร็จ..ลำบากมากๆ(ข้อนี้ ความเป็นไปได้. ส่วนตัวให้ 90%)2=ส่วนการขนย้ายก้อนหินที่ตัดเตรียมไว้ ก็ตัดเอาท่อนซุงไม้เนื้อเเข็ง มาทำเป็นล้อกลมๆเหมือนรถเข็นเรานี่หล่ะ เเต่ต้องทำล้อใหญ่ๆเพิ่อรับน้ำหนักหินก้อนใหญ่ๆได้ เสร็จก็ใช้กระเดื่องยกใส่รถเข็น เเละคนก็เข็นไป หรือช้างลาก สมัยก่อนผมเด็กๆผม เห็นคนเฒ่าคนเเก่ที่บ้านขนไม้ท่อนซุง ยาว10กว่าเมตร เส้นผ่าศูนย์ท่อนซุงประมาณๆ 40 -60 cm น้ำหนักก็ลองคิดเอา เอามาทำเสาศาลาวัด 40-50 ต้นจากภูเขา เกือบ30กิโลเมตร ยังทำได้( ข้อนี้ ความเป็นไปได้ ส่วนตัวให้ 100%)3=ส่วนการตัดก้อนหินนั้น ผมคงนำไปเป็นการบ้าน....ทังหมดคือความคิดเห็นส่วนตัวเท่านั้น
ขอบคุณมากครับ สำหรับข้อมูล
การตัดก้อนหินคิดว่าเขาใช้ความร้อนนะแต่ใช้วิธีไหนไม่รู้นะในอดีตเคยเห็นลุง(เขาเป็นช่าง)เขาทำอะไรเขาจะมีเหล็กแหลมไว้ลนไฟเจาะรูไม้เจาะรูต่าางต่างเขาไม่ยอมใช้สว่านเลย
สุดยอด
@@ธาณี-ว9ฑใช้เหล็กแหลม ใช้สิ่วตอกสกัด เห็นร่องรอยการตัดหินแบบชัดเจน ที่ใช้สร้างปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
@@ธาณี-ว9ฑ อีสานเรียกว่าเหล็กซี เอาลนไฟให้แดงแล้วแทงลงตรงที่จะเจาะรู กับไม้น่ะ แต่นี้หิน ยุคหินเขามีวิธีของเขานั้นแหละ หน้าจะมีภาพตัดหินในปราสาทน่ะ และการก่อสร้างนั้น
ในนิมิต ของคุณไพรสาน ตอนที่ไปพบ ท่านที่เฝ้าดูแลปราสาทพนมรุ่ง จะอธิบายการทำก่อสร้าง การขนหิน การก่อสร้างไว้ บางส่วน ตอนนั้นบังเอิญได้เปิดฟัง ก็แบบธรรมดานั้นแหละว่างั้น ช่างใครถนัดด้านไหนก็ให้ช่างด้านนั้นมาดูแล มีเครื่องมือใช้เอง ทำเครื่องมือใช้เอง
คนโบราณท่านเก่งมากค่ะ มีความสามารถสร้างปราสาท ได้อย่างงดงาม ขอบคุณทีมงานทุกท่านค่ะที่ท่านถ่ายทอด ภาพมาให้ดู รายชื่อชงกับ ศิลปะโบราณสถาน
ขอบคุณแอดมินมากๆ ที่ทำให้ผมได้คำตอบ ว่าปราสาทหินพิมายแถวบ้านผม ตัวผมเองและทุกๆคนที่ได้ไปเห็นปราสาท ต่างก็มีคำถามขึ้มาเหมือนกัน ว่าผู้สร้างเขานำหินมาจากไหน ผมสงสัยมาเกินกว่าห้าสิบปี เพราะรัศมี 100 กิโลเมตรจาก อ.พิมาย ไม่มีภูเขาสักลูก,ไม่มีหินทรายแบบนี้สักก้อน ผมเพิ่งจะรู้ว่า ที่ อ.สีคิ้ว มีแหล่งหินตัด ก็วันนี้เอง (ผมโง่มาตั้งนาน 555..)ขอบคุณครับ_ แต่ก็ยังต้องมาสงสัยต่อไปอีก ว่าการขนย้ายก้อนหินเหล่านั้น เขาทำด้วยวิธีการใด? ส่วนการตัดหินยังพอมีการคาดเดา,สันนิษฐานได้หลากหลายวิธี_นำ
ถือว่าเป็นความสามารถมหัศจรรย์ของมนุษย์จริงๆ เพิ่งเคยเห็นแหล่งตัดหิน น่าทึ่งมาก
คนออกแบบปราสาทสุดยอด แล้วมาตัดหิน ตามแบบ บันไดยาวเป็นร้อยเมตรที่ปราสาทพนมรุ้งน่าทึ่งมาก คนออกแบบ แล้วไปสร้างบนภูเขาสูง เอาหินขึ้นไปสร้างใกล้ตรงภูเขาไฟได้อย่างไร
สมัยนั้น โลกเราแต่ละปี จะมีสภาวะเกือบไร้น้ำหนัก อยู่ปีละเดือนครึ่ง หรือ 45 วัน
@@อาดัมวงษ์สลาม ตามที่ท่านว่ามา ผมข้ออ้างอิงแหล่งข้อมูล ที่เชื่อถือได้ในระดับสากลด้วยครับ ขออภัยผมไม่ทราบมาก่อนเลยจริงๆ ถ้าเป็นทฤษฎีนั่งเทียนสมคบคิดหรือบอกเล่าต่อๆกันมาแต่หาหลักฐานพิสูจน์เป็นจริงไม่ได้ ไม่เอานะครับ
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์ไม่ได้ มีอีกเยอะครับ พีรามิด ใหญ่กว่านี้หลายเท่า มนุษย์สร้างมาแล้ว อะไรทั่คิดไม่ออกว่าสร้างยังงัย มักยกให้ต่างดาวสร้าง. วันหนึ่งพวกเจ้าจะรู้ ว่าสภาวะที่เกิดขึ้นเป็นจริงหรือไม่ อละที่บอกว่าช้างลากหินผิดถนัดครับ คนล้วนๆ และยกง่ายกว่ามนุษย์สมัยปัจจุบันเยอะ จะถามหาหลักฐาน เอาแดนสวรรค์กับนรกมาดูได้เมื่อใหร่ หลักฐานก็คงมีเมื่อนั้น และอะไรที่คิดว่าเป็นสากลแล้วเชื่อถือ คิดผิดครับ เมื่อแค่ร้อยปีที่แล้ว หากบอกว่ามนุษย์จะบินได้ คงไม่มีใครเชื่อ. แล้ววันนี้ละ อย่าว่าแค่บินบนอากาสเลย อวกาสบินมาแล้ว. วันหนึ่งมนุษย์ จะหายโง่
@@อาดัมวงษ์สลามเพ้อเจ้อ
@@อาดัมวงษ์สลามโอ้ววว...หลักการง่ายๆก็ไม่มีเหลือเลย... คงสนุกกับจินตนาการมากมายเลยนะ จินตนาการแบบไม่มีพื้นฐานของหลักการ คงเพ่นพ่านน่าดู
น่าทึ่งมากครับ ไม่มีเครื่องจักร แต่ตัเหินเป็นก้อนๆ รูปทรงเรขาคณิตได้ สุดยอดมากครับ คนโบราณ
ให้ไปฟังในยูทูบเรื่องนิมิตพิศวงค์ตอนปราสาทหินพนมรุ้งของอาจารย์ไพศาลแสนชัย
สมัยก่อนหินก็เหมือนดินเหนียวนี่แหละ/นอสตาบอกไว้
หินทรายเป็นหินที่ไม่แข็งมาก มีความเปราะแตกง่ายกว่าหินชนิดอื่น มีมากที่ภูพาน สกลนคร
คนออกแบบ การสร้างและตัดหินไปสุดยอดเลยครับ กระดาษยุคนั้นเขียนแบบกะบ่มี
เขาไม่เจาะรูกันตรงนี้หรอกครับ แผนกนี้เขาจะตัดตามขนาดที่ได้รับมอบหมายมาแบบหยาบๆ แล้วขนไปให้แผนกก่อสร้าง คัดเลือก ขัดเกลา ตัดแต่งตามแบบที่ต้องการอีกที เจาะรูน่าจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนจะยกขึ้นที่สูง
บ้านกรวด ตาพระยา สีคิ้ว
ไม่ใช่ละหานทราย
เคยดูภาพแกะสลักที่นครวัดใช้ช้างลากหินและแรงงานทาสทำครับ แล้วสร้างต่อเรื่อยไป หลายยุคหลายสมัยกว่าเสร็จคับ
ขอบคุณมากๆครับ กำลังค้นหาอยู่เลย เขาเอาหินก้อนใหญ่ๆมาทำปราสาทนั้น เอามาจากที่ไหนกันแน่ (เคยสันนิฐานไว้น่าจะเป็นแถวอิสาน เพราะร่องรอยการสร้างพระแกะสลักจากหินก็มาจากทางอิสาน) เลยคิดไปแบบนั้นครับ
การขนหินจะใช้ช้างลากจูงเป็นหลัก มีล้อเลื่อนที่ทำจากท่อนซุง การขนย้ายในเส้นทางที่ลำบาก จึงมีการเกิดอุบัติเหตุและมีคนเจ็บคนตายตายเป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะเป็นทาส และเชลยศึก ที่ถูกจับบังคับใช้แรงงาน
ทึ่งมากๆคนสมัยก่อน งานศิลปทำใด้ดีและสวยมากๆเลยครับ
โอ้โฮ คนสมัยก่อนมีคำพังเพย "ฝนทั่งจนเป็นเข็ม" สุดยอดไปเลย 👍👍👍 ก็คล้ายกะการทำแบบนี้เหมือนกัน
คนโบราณมีความสามารถมากๆ
คงมีอีกหลายที่นะ ที่ถูกตัดไปสร้างปราสาท..
ใช่ครับ เท่าที่ทราบมีที่ บ้านกรวด บุรีรัมย์ ด้วยครับ
ภูมิปัญญาที่ชาญฉลาดและมีความมานะบากบั่นมั่นคง...สุดยอดจริงๆ!..กว่าจะสร้างได้ต้องมีการสำรวจหาหินตามแหล่งต่างๆ ต้องวางแผนการขนย้ายตามสภาพท้องถิ่น ต้องมีช้างม้าวัวควายจำนวนมาก กำลังคนมากมาย แหล่งอาหารเเหล่งน้ำเช่นห้วยหนองคลองบึง พื้นที่การเพาะปลูก.. พื้นที่อยู่อาศัย มีการสร้างทางเพื่อติดต่อและขนย้าย...มาคิดดู มันยิ่งใหญ่มาก มันต้องมีแรงบันดาลใจ มันต้องมีความอดทน สามัคคี ที่สำคัญการสร้างให้สำเร็จของคนโบราณ..คือ..ความศรัทธา !!
ขอบคุณมากมายค่ะสำหรับคลิปนี้
สวัสดีครับผมมาชมด้วยคับ
ในยุคที่ไม่มีเครื่องมือนำนวยความสะดวก กว่าจะใด้แต่ละก้อน ต้องใช้ความมุมานะขนาดไหน คนโบรานเก่งจริงๆ
สิ่งก่อสร้างตามศาสนาเป็นความศร้ทธา และความเชื่อ การรับจ้าง และการทำโทษ กดขี่อย่างนั้นหา พอไม่ ประกอบด้วย องค์ประกอบหลายอย่าง สาธุ สาธุ สาธุ
ขอบคุณมาก..สงสัยมานาน...แชร์ครับ ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ฮาเคยอ่านในสารานุกรมเยาวชน...
ก่อนไปดูสถานที่จริง มีการหาข้อมูลพอสมควรครับ
ดีมากๆ พี่สนใจ เป็นคำถามติดใจมานาน มีครั้งหนึ่งไปเขาวัง ดูเขาขนปูน ขนอิฐ ขึ้นยอดเขาใช้หลักการเดียวกับปู่พี่ขนเรือขุดจาก บนเขามาบ้านครับ...ต่างยุคแต่ใช้พื้นฐานเดียวกัน..คงมีโอกาสได้เจอกันสักครั้ง หลังสค. ถ้าลงใต้ไปแวะบ้านพี่ คิมถนนเอเชียครับ กม.1218
ตัดแล้ว เอาไม้ยางแห้งวางในร่องเอาดินเหนียวปิดหัวปิดท้าย แล้วเอาน้ำมาเทให้เต็ม เมื่อไม้แห้งโดนน้ำจะขยายตัว เหมือนไฮโดรริค ดันขยายทำให้หินแตกแบบยาว เมื่อจะให้สั้น ก็ใช้เหล็กสกัดตอก
แรงดันมากขนาดนั้นเลยเหรอ
ขอบคุณครับที่เอามาลงให้ดู
สกลนคร บ้านผมก็มีครับ ปราสาทภูเพ็ก มีที่เขาไปสะกัดหินด้วยเยอะมาก
เก่งไปตามสมัยนะ ยิ่งกรุงโรมก็สุดยอด
ลอง google ดูสารคดี หินที่ใหญ่กว่านี้มากๆ 1000ตัน ก็ตัดกันมาแล้วตรงและคมมาก และไม่ได้เจาะรูให้ลากยก และก็อย่าด่วนสรุปว่าต่างดาวสร้างละกัน
คนเราสมัยก่อนอาจจะมีร่างกายกระดูกที่ใหญ่กว่ามนุษย์ปัจจุบันก็อาจจะเป็นได้อาจจะมีกำลังเยอะกว่าเรามากมายเพราะได้ยินตนเเก่เฒ่าพูดถึงคน8ศอก และตำนานโบราณก็มียักษ์ด้วย ทุกวันนี้มนุษย์กินอยู่สบายกว่าอดีตมากมายหลายเท่า
เคยเห็นนะเเต่เป็นหินกรวด อยู่ในวัดบ้านเเท่นบัลลังก์ อำเภอนางรอง ทำคล้ายๆบัลลังก์
ผมอยุ่แท่นบัลลังก์ครับ
ผมว่า เอากระเพาะ แกะเป่าลม แล้วใช่เชือกผูก เป็นหมู่ก้อนหิน แล้วใช้เรือลากไปตามลำน้ำ
เจาะหินให้เป็นรูใข้ลิ่มไม้แข็งตอกเข้า 12:38 รูหินเอาน้ำมารดลิ่มไม้ไม้ขยาย 13:29 ตัว หินจะอตกเป็นเส้นตรง
ผมรู้จักคุณ คุณสมชาย ผมเคยเป็นลูกน้องคุณ ชื่นชมครับทำค่อไปนะครับ
ผมไม่รู้จักคุณคุณเป็นใคร
อยากรู้ว่าคนสมัยก่อนใช้อะไรตัดหิน มันยากมากๆ ขนาดสมัยนี้ว่ามีเครื่องมือที่ทันสมัยยังว่า ยากเลย ค่ะ ทึ่งในความสามารถของคนยุคโบราณมาก ๆ ค่ะ
สุดยอดฝีมือคนไทยโบราณ
นับถือคนโบราณเขาสุดยอด สมัยนั้นคนอิสานเราได้ทำก่อสร้างประสาทด้วยหรือเปล่า น่าจะมีแล้วสืบมา
บรรพบุรุษของคนอิสานทุกวันนี้แหละครับ คนแถวนี้ไม่ได้อพยพมาจากเทือกเขาอัลไตอะไรนั่นหรอกครับ จำได้มั้ยเมื่อก่อน เราเรียกตัวเองว่า เสียม หรือ สยาม เพิ่งมาเปลี่ยนไม่กี่ปีมานี่ ทุกวันนี้ ทาง สิงคโปร์ หรือ มาเลย์ ก็ยังเรียกเราว่า เสียม อยู่ครับ เสียมน่าจะเป็นภาษา ขอม
@@suchartmanpru ใช่ครับเราคนที่นี่ดูก้อนหินก็รู้
การตัด ตัดได้ เสมอกันเลย ขนาดตอนนี้มีเครื่องมือดีๆยัฃตัดยังต้องใช้เวลา นาน อยากรู้ว่า ใช้เครื่องมือชนิดใด ตัด
สิ่วครับ เอาให้เปะเลยก็ได้ แค่หินเหลี่ยมๆ จิ๊ปๆ เขาแกะเป็นพุทธรูปทั้งยังยังทำได้ นี่แค่ สี่เหลี่ยม
มันแข็งเพราะกาลเวลาเมื่อแรกคงตัดง่ายอยู่และคงเห็นลาวารุ่นก่อนๆแข็งตัว
ผมตามหาจุดเอาหินไปสร้างปราสาทมานาน..โดนใจเลย..เหล็กที่ใช้ตัดหินต้องกล้าแข็งหรือเหลี่ยมหินตระกูลเพชรมิฉะนั้นจะเหี้ยนสึกเร็ว..การตัดโดนใช้แรงจลแรงกลึงจากวงล้อขนาดใหญ่..มีแท่นขาชายสามขา..หมุนล้อหนึ่งครั้งจะได้แรงจล50-100 รอบ/นาที..ใช้ระบบล้อเลื่อนระบบกลึงเป็นหลัก. เอาชุงทั้งท่อนมากลึงมาหมุนเป็นเครื่องมือตัด..หินทุกก้อนจะเจาะก่อนการเคลื่อนย้าย.เพื่อลากดึง...เพื่อสอดหวายหรือเชือกหนังช้างดึงขึ้นเลื่อน..การเคลื่อนย้ายใช้เกวียนเทียมช้าง-ควายวัวในการชักลาก..หินกนักสิบตันขึ้นไปใช้เลื่อนช้างดึงและช้างดันส่วนล้อก็เหมือนลูกคิด.คือเป็นเกวียนขนาดใหญ่.เคลื่อนย้ายในฤดูแล้งเท่านั้นวันโลสองโล....ช้างสุรินทร์คือแรงงานที่ยังเห็นเป็นรูปธรรมที่เห็นอยู่..การนำหินขึ้นสร้างปราสาทเขามิได้ยก..แต่ใช้เนินดินถมรอบปราสาทแล้วลากเลื่อนขึ้นไปคือตัวปราสาทอยู่ต่ำกว่าเนินดินมีลอกไม้ทำด้วยชุงทดแรงช่วย..เมื่อสร้างปราทเสร็จก็จะเอาเนินดินออก
ขอบคุณมากครับ สำหรับความรู้ที่แชร์ ไว้มีโอกาสจะไปดูที่อื่นด้วยครับ
คิดเหมือนเราเลย เราก็คิดอย่างนี้เหมือนกันมาก่อนแล้วก็มาเจอคอมเม้านท์นี้พอดี เยี่ยม
การคัดหินแบบโบราณเครื่องตัดน่าจะหมุนแบบชิงช้า..ส่วนหัวตัดน่าจะเป็นเหล็กหรือหินตระกูลเพชร.วงล้อหนึ่งน่าจะมี8-16 หัว.หมุนปั่นทั้งวัน..ชุง/เลื่อน/กลึง เป็นเครื่องมือหลักในการผ่อนแรงคน..ผมสงสัยมากก็ตอนงัดหินออกมานี้แหละ..เพราะร่องมันแคบมากหรือจะใช้ลิ้มตอกแล้วดึงกับแรงช้าง
ขอบคุณค่ะ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
คิดเยอะไปครับ ดูคลิปนี้ th-cam.com/video/JTDzT7HNsg4/w-d-xo.html
สมัยเรียนป.2ป.3..อายุประมาณสิบสองสิบสามปี...ตรงข้ามบ้านคลองตะแบก(บ้านยาย)...มีลานหินตัด...มีวัดป่าชื่อวัดเขาเหิบ...เคยขึ้นไปเล่นในป่า..เจอหินลักษณะแบบนี้มากมายก่ายกอง...บางแผ่นหินมีรูเจาะคล้ายปากไห...น่าจะเป็นการสำรวจคุณภาพเนื้อหิน...ดีใจครับว่าเราเคยไปสำรวจครั้งหนึ่ง...ไล่หลังมาไม่กี่ปี...มีการขึ้นป้ายว่าเป็นแหล่งหินตัด..
เทคนิคแบบนี้มาจากอินเดียแน่นอน ดูได้จาก วิหารไกรลาศ แห่งอินเดีย วิหารศักดิ์สิทธิ์ สร้างจากหินยักษ์ก้อนเดียว เทคนิคการใช้หินแบบนี้ต้องยกให้ คนอินเดียโบราณ
เกี่ยวไรกับอินเดียหรึ...???!!!
@@diiwazavbn9061 เอ้อ....เอ้อ....เอ้อ.....
คนยุคนั้นต้องตัวใหญ่มากนะคับ
7-June-2024.8.08.Pmคนยุคนั้นลูกผู้ชายอกสามศอกค่ะพูดกันติดปากจนถึงปัจจุบันนี้ค่ะ...............❤❤
ปราสาทหินพิมายผมยกให้อันดับหนึ่ง เพราะสร้างบนที่ราบลุ่มห่างไกลจากแหล่งหินตัดมาก
ความพยายามสูงมาก
สมัยก่อนเครนก็ไม่มียก..ไฟเบ่อร์ก็ไม่มี..ไฟฟ้าก็ยังไม่มี..ภูมิปัญญาของคนโบราณ..และความอุสาหะโดยแท้จริง..ความสามัคคีสําคัญมาก
เขามีรอกชักไงกะดูการยกบ้านหรือเคลื่อนย้ายบ้านหลักสูตรเดียวกันเคยเห็นการยกบ้านสูงไหม
@@No-ty3ig ช้างน่าจะตายหลายตัวจากการถูกบังคับใช้แรงงานด้วย คนโบราณไม่ได้คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนคงใช้แรงงานอย่างหนัก
คนในสมัยนั้นเก่งมากๆๆๆนะคับ
สถาปนิคสมัยนั้น สุดยอดเลยนะครับ
ถ้าในหินมิซิลิกอน และซิลิกอนไวต่อปฏิกิริยาของด่างและความร้อน เป็นไปได้ไหมครับว่าคนสมัยก่อนรู้จักวิธีผลิตด่างเข้มข้นเพื่อนำมาสกัดหิน ส่วนการขนย้าย ถ้าเจาะรูเพื่อขนย้าย ไม้ที่สอดเข้ารูคงต้องแข็งมากๆ ถึงจะรับน้ำหนักหินได้ สมมุติว่าการสร้างปราสาทแต่ละแห่งต้องมีการเตรียมการโดยใช้เวลานานพอสมควร และหินที่นำไปใช้ก็อยู่ในอาณาเขตปกครองของตนเอง และการไปมาหาสู่ในเขตปกครองก็พอมีเส้นทางติดต่อกัน ถ้าใช้ชาวบ้านระหว่างทางขนย้ายช่วยกันขนในแต่ละช่วงของหมู่บ้านนั้น ถ้าสมัยนั้นมีไม้ไผ่จำนวนมากและชาวบ้านรู้จักทำไม้ไผ่เป็นล้อหมุนเหมือนสายพานผลิตอาหารในโรงงานอุตสาหกรรม หินหนึ่งก้อนอาจใช้ล้อเคลื่อนสองตัววางสลับกันไปเรื่อยๆกับคนอีกจำนวนหนึ่งช่วยออกแรงดึง พอจะช่วยทำให้สร้างปราสาทได้ไหมครับ....
เยี่ยมครับปัญญาฝีมือ
อยากไห้ทีมงานถ่ายทำ ตามถ่ายชีวิต กบหงอนหรือกบมีหงอนครับที่เพชรบูรณ์
หรุมกะทะน้าจะหรุมีนำ้วนนะนำ้ไหลก้อนหินหมุน วนแม่นำ้โขงก็มีครับ
ที่เม้นกันเรื่องเคลื่อนย้ายมันอาจเป็นไปได้ แต่ก็ว่าจริงๆเขาจะเคลื่อนย้ายด้วยวิธีไหน อยากรู้มาก
ช้างไงครับสมัยก่อนช้างเยอะแยะ
สมัยก่อนเค้าเพิ่งแต่สัตว์ๆชนิดนั้นคือช้างๆก็เปรียบเสมือนเครื่องจักรมาตลอดในยุคก่อนๆจนถึงปัจจุบันก็ยังมีลากไม้ลงจากภูเขาอยู่บ้างแต่ยุคก่อนหน้าช้างเป็นสัตว์ที่น่าสงสารที่สุดไม่ว่าด้านการรบด้านการก่อสร้าง
ใช้หินกระกูลเพชรหรือเหล็กชุบพิเศษตโดยใช้แรงกลึงของวงล้อเกวียนขนาดใหญ่หมุนทั้งวันเป็นพลังจลของแรงหมุนเป็นพลัง..ใช้น้ำเป็นตัวช่วยหล่อลื่น.ไล่ฝุ่นหินไหลออก .เครื่องตัดอีกแนวคิดือมันคล้ายกบไสไม้ขนาดใหญ่มีดึงสองข้างดึงไปดึงมาทั้งวันจนเป็นรอยลึก
ใช่คับ
แล้วเครื่องมือเหล่านั้นหายไปไหนหมดไม่มีหลงเหลือหรือเป็นเรื่องเล่ามาบ้างเลยหรือ
บนเขาเอาพลังน้ำไหนมา ไม่เห็นมีล่องลอยทางน้ำเลย
@@pongsila2525 น้ำแค่หล่อลื่นครับแรงจลอาจใช้คนหรือสัตว์
คนเรียรวิทย์จะคิดออกดีว่าพวเรียนสังคม..รู้เรื่องโลหะหรืออโลหะ..ตระกูลหินแข็งอ่อน..รู้แรงเสียสีเสียดทาน..รู้ลอรู้ลิ้ม.ารทดแรง
ใช้อะไรตัดละครับ ถึงได้ตรงจริงๆ และขนไปยังไง มันหนักและใหญ่มหึมา สุดยอดคนโบราณสมองจริงๆ
เข้าทำเมื่อ2พันปีก่อนมั้ง เข้าใช้เหล็กตัดและใช้ช้างขน
@@onsen8602 ผมว่าคนโบราณสมัยนั้นตัวใหญ่มีพละกำลังมาก และฉลาดไอคิวสูงจริงๆครับ
เอาอะไรตัดคนสมัยเก่งมากๆ
ขอมคือสยามโยราญครับ
บ้านผมเดะนิ ตรงข้ามทางเข้าหมู่บ้านคลองตะแบก 😅😅
พระเจ้าชัยวรมันฯยืมเครื่องเจียรมาจากมนุษย์ต่างดาวหรือเปล่าหรืออาจเช่ามาก็ได้ รวมทั้งเครนด้วย
น่าจะทิ้งใบเจียรใว้ให้ดด้วย
ใกล้เคียงที่สุดอาจเอาวิธีหรือเทคโนโลยีมาจากฝั่งอียิปต์ก็ได้นะ เพราะอินเดียก็ตัดหินได้เทพเหมือนกัน ส่วนเเถวบ้านเราเห็นว่าถ่ายโอนจากฝั่งอินเดียมาอีกที อินเดียฝั่งชาวทมิฬ
ยุคนั้น ช่างตัดหิน น่าจะมีหลายทีม ออกไปหาหิน กันหลายที่ เเล้วขนส่งไปรวมกันที่สถานที่สร้างปราสาท
แค่ตัดหินสมัยนั้นไม่รู้ใช้เครื่องมืออะไร ไหนจะเจาะรูอีกมีเครื่องมืออะไร ที่ไม่ใช้ไฟฟ้าทำได้บ้าง
สมัยนั้นบ้านเมืองคงเจริญจนถึงขีดสุด มีวิศวะกรรมล้ำหน้ามากไม่แพ้อียิปโบราณเลย
@@noploblem8432 คุณรู้รึปล่าว ??การรบสมัยก่อนไม่ใช่เพื่อแย่งชิงเมืองหรือดินแดนอย่างเดียว แต่เขาจะรบเพื่อแย่งคนหรือเทครัวเชลยศึก ใครแพ้จะถูกกวาดต้อนมาเพื่อเป็นแรง เมืองไหนแรงงานเชลยยิ่งเยอะก็ยิ่งพัฒนาได้เร็ว เพราะได้แรงงานฟรีๆโดยไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง ยิ่งมีทาสเยอะๆก็ยิ่งหาทรัพยากรได้เยอะ สมัยก่อนสิ่งที่มีค่าเช่นเดียวกับทองคือ พวกเพชรพลอยโลหะสำริดเงิน พวกงาช้างพวกไม้ที่มีค่าและของป่าต่างๆ เพราะมีหลักฐานว่าดินแดนแถบเป็นชุมทางค้าขายจากซีกโลกตะวันตก อาหรับเปอร์เซียกับซีกตะวันออกเช่นจีน จาม เวียดนามของพวกโจฬะบกโจฬะน้ำ ชวา มลายู ที่มีหลักฐานเช่นการค้าขายโลหะสำริดกับกวางสีของจีนเพื่อทำกลองมโหระทึก มีการสันนิษฐานว่าอาจจะมีแหล่งผลิตลูกปัดอยู่ในแถบนี้ด้วยและอื่นๆอีกเยอะแยะ ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องมีคนงานไว้ทำเหมืองเก็บของป่า ยิ่งทาสเยอะก็ยิ่งร่ำรวย มีทาสเยอะก็ปลูกข้าวได้เยอะ สินค้าส่งออกก็ยิ่งมีเยอะ ไม่ใช่เอาทาสไว้แค่สร้างเมืองเท่านั้นนะคุณ!!! อย่าคิดว่าเมืองที่อยู่ไกลทะเลแล้วเส้นทางการค้าจะไม่ผ่าน เพราะทุกเมืองได้ติดต่อแลกเปลี่ยนกันหมด
เทคโนโลยีของเขมร และช้ากว่าอียิปต์เป็นพันปี
@@wy6880 หลักฐานอะไรบอกเป็นของเขมร
@@noploblem8432 อิยิปก้อใช้ทาส..ยิวไง
ศิลปะงัยเป็นของเขมร สมัยนั้น ไทยยังไม่เกิด ที่นี่คืออณาจักรขอม
ดูลักษณะแล้ว คงเป็นทะเลมาก่อน มีหลุมน้ำวน และกลายเป็นตะกอนทรายวนรอบหลุม นานวันก็คงแข็งตัว .
คลิปดี,ติดตามเป็นกำลังใจครับ,ชอบครับ,,สุดยอด,,,
ขอบคุณมากครับ
@@mrtorungchillax ,ครับผม
เชื่อเลย นครวัตร นครธม ต้องมาเอาที่ตรงนี้แน่นอนครับ
ไกลไปจ้า แหล่งหินทรายที่นี่น่าจะนำไปสร้างปราสาทหินพิมายนะครับ ส่วนนครวัด นครธม เค้ามีแหล่งหินทรายที่เขาพนมกุเลนห่างออกไปประมาณ 50 กม. ครับ
@@takedazu ขอบคุณครับผม นี่คือความรู้อีกความรู้นึงเก็บไว้เล่าให้รุ่นหลังได้ฟังครับ ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
เขาพนมรุ้ง ขนาดเดินขึ้นยังยากเลย คนที่ขนขึ้นไปสร้างแรงศรัทธาต่อพระศิวะเจ้าอันแรงกล้าเขาขนขึ้นไปใด้ยังไงสมัยนี้นใช้อะไรทุ่นแรง
เมื่อก่อนคนตัวใหญ่สูงเป็นสามสิบเมตรนี้วแต่ละนิ้วเท่าเสาสำเร็จหินก้อนหนึ่งยกคนเดียวสบาย.แบกไปสร้างปราสาทสามเดือนเสร็จ..ใช้เชือกตัดหินใส่คาถานิดหน่อยก็ขาดแล้ว
อยากรู้ตัดหินออกจากพื้นใด้ยังไงครับ
น่าจะใช้ลิ่มตอกอัดเข้าไปจนหินแยกออกจากกัน เหมือนที่เขาทำเหมืองหินอ่อน
@@รัตนาภรณ์คงประดิษฐ์ ใช่ๆที่คุณว่ามาน่าจะเป็นไปได้เคยเห็นคลิปที่มีคนนั่งตอกลงหินแล้วหินแตกเป็นเเผ่น
ตกลงหินที่ใช้สร้างปราสาทคือ หินจากภูเขาใช่ไหม
ใช้เครื่องมือชนิดใหนตัดคัฟ
งานตันหินโบราณนี่อย่างโหดจริงๆ
สมัยนั้นเขาใช้อะไรตัด หรือตัดแบบไหนครับ
อยากรู้เอาอะไรตัดสมัยนั้น
เคยคิดอยู่เหมือนกันว่าหินที่เอามาสร้างปรสาททั้งหลาย เอามาจากแหล่งไหน
อยากรู้วิธีการตัดหินมากกว่า. หินแข็งขนาดนั้น. และใช้จำนวนมากมามหาศาล. ตัดใด้กริบมาก. ทุกวันนี้. ยังสงสัยอยู่เลย.
อุปกรณ์ตัดหินเอาไว้ที่ไหนครับ
พันกว่าปีมาแล้วนะ ผมคิดว่าหินแบบนี้สมัยนั้นอาจจะไม่แข็งเท่าปัจจุบันนี้ก็ได้นะผมคิดว่านะ เพราะว่าหินพวกนี้มีอายุหลายล้านปีมาแล้ว ยิ่งอยู่ยิ่งแข็ง
ใช่พูดถูกเป็นอย่างที่คิด1000เปอเซนไม่ต้องสงไส
หินที่อยู่ใต้ดินจะอ่อนกว่านี้ พอโดนอากาศก็จะแข็งขึ้นมากครับ
จริงไหมครับที่เค้าบอกว่าหินศิลาแลงสามารถใช้ของมีคมตัดหรือมีดตัดได้เลยเพราะหินที่ตอนตัดมันอยู่ในดินมันจะนิ่ม อันนี้ผมดูมาจากช่องของอ.ตุ๊กบางประอินอะครับ มันจริงไหมครับ
จริงครับเพราะเมื่อก่อนผมเคยเอา หินศิลาแลง มาทำบ้าน ในราคาถูก
ใช่ครับ ศิลาแลง ในดินจะนิ่ม
น่าจะใช้แรงงานสัตว์ช่วยขนย้ายหิน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย การตัดเหล็ก น่าจะใช้เหล็ก ค่อยสกัดไปเรื่อยๆครับ
คนโบราณ เอาเครื่องมือ ชนิดไหน ตัด
บรรพบุรุษของเรามีความพยายามมากที่สุด..ใช้นักโทษทำรึว่าใช้ชาวบ้านทำมะดาก่อสร้างทำคงใช้เวลาเป็นร้อยๆปีแล้วเอาขึ้นไปยอดเขาได้ไงงองงมีเหตุผลที่พอเชื่อถือได้ไหมถนนหนทางไม่มีรึว่าสมัยก่อนเจริญกว่าทุกวันนี้งึดเนาะ
ตอนอาจจะมีเครื่องมือเครื่อข่ายที่รองรับการสร้างปราสาทด้วยหิน แต่ก็นึกภาพไม่ออกจริงๆ คงต้องมีความอุสาหะมาก ที่เขาเรียกยุคหิน เพราะมีสถาปัตยกรรมทั่วโลก อารยธรรมโบราณหลายๆ แห่ง ที่สร้างด้วยหิน
ยุคนี้ 700-800 ปี ที่แล้ว เป็นยุคที่มีการใช้เหล็กแล้วครับ ใช้เหล็กตอก สกัด เจาะรู ช่วยชักลาก ดึง ยก
อยากรู้จังว่าคนโบรานเอาเหล็กสกัดมาจากใหนนำมาตัดหิน?! ผมคิว่าไม่น่ามีเหล็กในยุคหินพันปี.ตอบด้วยครับ
เรื่องหินก่อนไปเป็นปราสาทนี่...ขอยาพารา2เม็ดฮับ✌😇😇😇😇🤣🤣🤣🤣🤣
ตัดหินได้ก็สร้างปราสาทได้ แต่ทุกวันนี้ยังไม่มีใครรู้ว่าคนโบราณเขาใช้อะไรตัดก้อนหิน เพราะทุกส่วนได้ฉากเเละเรียบขนานทุกด้าน วิศวะกรสมัยใหม่ลองเอากระดาษแซกในรอยหน้าประกบแล้วแต่แซกไม่ได้(ค่าความละเอียดห่างกันแค่0.02มม.)
ใช้เครื่องโซ่เลื้อยหินครับ การขนส่งก็ใช้สิบล้อขน
คงไม่มีใครตอบได้ว่าเขาใช้อะไรต้ด และไม่มีใครรู้จริงหรอกผมว่าเขาเอาก้อนหินที่ตัดได้แล้วเคลื่อนย้ายไปสร้างปราสาทตามที่ต่างๆได้ด้วยวิธีใด สิ่งที่คนปัจจุบันเดาวิธีการ หรือสันนิฐานวิธีการมันไม่น่าจะถูก น่าเสียดายที่คนในปัจจุบันไม่รู้จริง
ปราสาทบายนมีพระฤาษีชื่อรุขะมูลเป็นประธานในการสร้างมีฤทธิ์มีเดชมากรอบรู้วิชาเทพสามารถบัลดาลของหนักให้เบาได้(เอกสารไม่มีบันทึกอยากรู้ต้องไปค้นหาในหินที่จารึกไว้เมื่อหลายพันปีเขียนเป็นภาษาบาลีอยู่กับหินเท่านั้น)
หนักมากๆสงสารคนทำและช้างม้าวัวควายที่กว่าจะเอามาได้ยกยังไง?
ใช้อะไรตัดครับ
หินทรายนำมาขัดผิวได้..นำมาลับมีดได้ใช่ไหม..เห็นคนสมัยก่อนเขาทำขายกัน ในโคราช
สมัยนั้นมันหน้าจะไม่แข็งและเบามากความรู้สึกจะเหมือนอิฐเผาเบาๆแข็งแรงนิดนึ่งสามารถใช้รถเกวียนและช้างรากไปและสีของมันจะไม่ใช่สีนี้ มันจะออกสี ไข่ เวลาผ่านมาหลายพันปีหินพวกนี่แข็งตัวมากขึ้นและหนักมากขึ้น
หินที่กองๆนั้น คงมีสถานการสงครามน้ำท่วมแผ่นดินไหว หรือเตรียมย้ายพักขนไประหว่างทาง
อุบลก็มี
ขอให้วัดภูม่านฟ้า แกะสลัก ศิลป วัฒนธรรมไทย ทุกแขนง เพื่อจารึกให้ลูกหลานได้ เข้าใจในเรื่องราว ผู้คน การอยู่อาศัย การแต่งกาย การละเล่น เครื่องไม้เครื่องมือ ของคนไทยในยุค ต่างๆ จะเยี่ยมมากเลยครับ
สักวันจะไปดูถ้ามีบุญ
ต้องยอมรับ ปัญญาและความสามารถของคนสมัยก่อน สุดยอด ทั้งที่ไม่มีเครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้าแบบตอนนี้ ชาวขอมโปราณสุดยอดครับ (ไม่ใช่เขมรนะครับ)
เอามาสร้างพนมรุ้งที่บุรีรัมย์หมู่บ้านเราเป็นทางผ่านขึ้นปราสาท มีหินดินดานถูกดินทับถมอยู่สามเ้ส สงสัยเหนื่อยเลยวางทิ้งใว้จนถึงวันนี้ ทรงเดียวกันเป๊ะ วางใว้ตรวทางสามแพร่งในหมู่บ้าน คนแก่บอกว่ามันเปนทางเกวียนที่ไช้มาแต่โบราณ ทะลุไปถึงเขาพนมรุ้ง
แอดมินติดคำว่าเขมรโบราณแทบทุกที่ ทั้งที่ความจริงเป็นขอมเป็นผู้บังคับใช้ทาสเขมรเป็นแรงงาน ฉะนั้น คำว่า เขมร จึงไม่มีแกะสลัก หรือจารึกไว้ในตำนานการสร้างปราสาทในทุกที่
ใช่ เขมรคือแรงงาน ไม่มีศิลปใดๆ
ขอมนั่นคือไท ไปดูที่นางรองวัดภูม่านฟ้าเด้อกำลังสร้าง
เพิ่งเคยเห็นสถานที่นี้ ทึ่งมาก
กับความพยายามคนสมัยโบราณ สถานที่แบบนี้ยังไม่เคยมีใครทำคลิปเผยแพร่
หินทรายที่จมอยู่ใต้ดินจะไม่แข็ง เป็นหินผุๆ เมื่อเปิดหน้าดินที่ปกปิดหินอยู่ หน้าหิน ไม่แข็ง เอาขวานฌฉาะเบาๆตบแต่เป็นรูปอะไรก็ง่าย แต่เมื่อโดนอากาศไปสัก2-3 วัน ผิวหินจะแข็งขึ้นเรื่อยๆ จนขวานเฉาะเบาๆเหมือนตอนแรกไม่ไได้แล้ว
ใช้แล้ว ไหม่ๆ แกะง่ายมาก เอาเหล็กขูดๆก็แกะลายได้ ถ้าเปืดหน้าไหม่ๆ
นั่นมัน ศิลาแลง ครับ ตอนขุดขึ้นมาใหม่จะตัดงาน หินทราย แข็งมากอยู่ใต้ดินก็แข็งเท่ากับบนพื้น แล้วที่ดูคลิปนี้ ไม่เห็นหลุมที่ขุดเลย มันเป็นโนนเขานะครับ
หินถูขี้ไคตัวนั้นบ้อ555
นี่งัยหลักฐานว่าใครสร้างประสาทหินต่างๆคนไทยเราเขาเป็นช่าง
@@สุรศักดิ์สัญญปรีดากุลร่องรอยการขุดเจาะหินบนลานหินตัดอำเภอสีคิ้วที่ตั้งอยู่บริเวณบ้านคลองตะแบกเป็นรอยที่ถูกสะกัดด้วยสิ่วเป็นร่องลึกความกว้างของร่องประมาณ ฟุตครึ่งถึงสองฟุต คาดว่าเมื่อตัดหินแล้วจะถูกลำเลียงไปตามน้ำลำตะคองที่ไหลมาจากคลองไผ่ ซึ่งลำตะคองจะห่างจากแหล่งหินตัดประมาณ 2 กม.สันนิฐานว่าหินเหล่านี้นำไปสร้างปราสาทเมืองเสมา อ.สูงเนิน ซึ่งมีร่องรอยการสร้างใหญ่โตมาก แต่สร้างไม่เสร็จ
ตอนยกหินขึ้นเป็นรูปปราสาท น่าจะใช้ดินถมเป็นทางลาดขึ้นไปไต่ระดับความสูง ตามที่ต้องการ ใช้กำลังคนและช้างลากขึ้นไปวางตามจุดที่ต้องการเสร็จแล้วก็ขนดินออก คนสมัยก่อนสุดยอดมากครับ
มีเหตุผล
ถ้าใช้ดินต้องเป็นดินที่แข็งพอสมควร คนถึงจะขึ้นไปเหยียบได้ และไม่ทรุดลง ผมคิดว่าน่าจะใช้หินนี่แหละก่อขึ้นเหมือนนั่งร้านในปัจจุบัน และคิดว่าน่าจะใช้กำลังคนหลายคน ยกต่อ ส่งกันเป็นชั้นๆไป
จากผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าต่อๆกันมาเมื่อตัดหินแล้วใช้ช้าง ลากมาที่ลำตะคอง บ้านคลองตะแบก( ยังมีหลักฐานหินตัดและปราสาทเก่า ในหมู่บ้านนี้หลงเหลืออยู่ ) ซึ่งเป็นลักษณะทางลาดชันลงไปประมาณ 1 กิโลเมตร แล้วนำหินล่องแพตามน้ำลำตะคองจนถึงลำน้ำมูลที่ อ.ท่าช้างแล้วล่องแพต่อไปที่พิมายเพื่อสร้างปราสาทครับ
มันมีลานหินทรายทุกที่ที่ก่อสร้างปราสาท
@@No-ty3ig ไม่จริง
ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
อ.ท่าช้างอยู่ที่ไหนครับ
คนโบราณยุคก่อนเขาเอาอะไรตัดน่ะ..ทำไมต้องหาอะไรที่มันโคตรยากๆทำน่ะ..แค่ทำไร่ทำนาอยู่บ้านมุ้งหญ้าคาหลังกระต๊อบก็น่าจะพอเพียงพอใจแล้ว..เครื่องมือยิ่งล้าสมัยก็ยังคิดพากันดันทุรังมาทำอีก..
ส่วนตัวนะครับ
1=การยกหินขึ้นไปช้อนเรียงสูงๆนั้น
1.1 น่าจะทำด้วยคันชั่ง (กระเดื่อง เรียกไม่ถูกเหมือนกันต้องขออภัย)โดยใช้ท่อนซุงใหญ่ๆมาทำเป็นชุดคันชั่งเเบบ 3 ขาสามารถย้ายได้ตามระดับความสูง หางยาวๆเพื่อใช้หางกระเดื่องถ่วงน้ำหนักก้อนหินที่ผูกมัดอีกปลายมีความเบาลอยขึ้นง่ายๆ (คล้ายเราทำคันกระเดื่อง ตักน้ำในบ่อสมัยก่อน) โดยผูกหินใส่ปลายคันชั่งอีกด้านหนึ่ง เเละคนก็จะดึงกดหางคันชั่งลง เเล้วหินก็จะลอยวางตามตำเเหน่งที่ต้องการ เมื่อความสูง สูงขึ้นเรื่อยๆ เขาก็จะใช้หินที่จะมาทำปราสาทนี่หล่ะวางเป็นฐานเเน่นๆมั่นคง เพื่อจะตั้งชุดขากระเดื่อง หรือทำคันชั่งไว้หลายระดับความสูง เช่นกระเดื่องชั้น1 วางชึ้นไปวางไว้ชั้น2 เเละชุด2ก็ยกต่อขึ้นไปเรื่อยๆ (ยิ่งขากระเดื่องยาวสูงก็จะยกได้สูงหลายเมตร).... พอปราสาทที่มีความสูงสุดเสร็จสมบูรณ์เเล้ว. ก็จะรื้อก้อนหินที่ทำฐานกระเดื่อง มาทำส่วนก่อสร้างที่ต่ำๆ เช่นทางเดิน กำเเพง เป็นต้น
1.2 หรือขากระเดื่องเเบบ 2ขายาวๆตามระดับความสูงของปราสาท เเบบฝังกับดินระบบทำงานก็ไม่ต้องนำหินมาวางเป็นฐานให้ยุ่งยาก เเต่ต้องใช้ขายาวมากๆ ระบบนี้ต้องย้ายเเกนเพลากระเดื่องไปตามระดับความสูงที่ต้องการ (ไม่ต้องห่วงเรื่องเสาไม้ยาว ยุคนั้นผมคิดว่าต้องมี เพราะยุคเราตอนผมเป็นเด็ก ผมก็เคยเห็นไม้ชนิดหนึ่ง คนเเก่เรียก#ไม้เเคนหิน# อยู่ป่าดงดิบยาวมากๆ ลำตรงเหมือนลำเทียนเลยสวยยาวหลายสิบเมตร เเต่ยุคนั้นอาจจะเป็นไม้ชนิดอื่น
1.3 เเบบลอกดึง เเบบนี้จะไม่ยุ่งยาก เท่ากับเเบบ 1.1-1.2....เเต่ต้องใช้เเรงงานสัตว์เช่นช้าง เพราะเเบบนี้ไม่มีอะไรมาช่วยถ่วงนำหนัก..เสาลอกใหญ่ ฝังดินลึกเเน่นหนา ไม้ค้ำยันขาลอกอย่าให้เอียงเวลาช้างดึงเชือกลอก
(ทั้ง 1.1-1.2-1.3=ทำหลายๆชุดรอบปราสาท นั่งร้านรอบนอก รอบในปราสาท....อุปกรณ์เช่น เชือก เเกนเพลา ล้อลอก นั่งร้าน อื่นๆ ไม่ยากสำหรับเขาเลย ไม่ต้องห่วง ดูการออกเเบบสร้างปราสาทก็พอ....)
(ดังนั้นการที่เขาจะใช้ดินถมเพื่อที่จะลากก้อนหินขึ้นไปนี่ ค่อนข้างจะยากกว่า ต้องใช้ดินมหาสาร เเละต้องทำเนินดินสลบยาวมากๆ ถ้าเปรียบระดับความสูงของปราสาทสูง 30-60 เมตร ต้องขนดินมาทำเนินลาดสลบยาว อย่างน้อยต้อง 2-3เท่าตัวของความสูงปราสาท...ตอนขนเข้าเเละตอนขนดืนออกเมื่อเสร็จ..ลำบากมากๆ
(ข้อนี้ ความเป็นไปได้. ส่วนตัวให้ 90%)
2=ส่วนการขนย้ายก้อนหินที่ตัดเตรียมไว้ ก็ตัดเอาท่อนซุงไม้เนื้อเเข็ง มาทำเป็นล้อกลมๆเหมือนรถเข็นเรานี่หล่ะ เเต่ต้องทำล้อใหญ่ๆเพิ่อรับน้ำหนักหินก้อนใหญ่ๆได้ เสร็จก็ใช้กระเดื่องยกใส่รถเข็น เเละคนก็เข็นไป หรือช้างลาก สมัยก่อนผมเด็กๆผม เห็นคนเฒ่าคนเเก่ที่บ้านขนไม้ท่อนซุง ยาว10กว่าเมตร เส้นผ่าศูนย์ท่อนซุงประมาณๆ 40 -60 cm น้ำหนักก็ลองคิดเอา เอามาทำเสาศาลาวัด 40-50 ต้นจากภูเขา เกือบ30กิโลเมตร ยังทำได้
( ข้อนี้ ความเป็นไปได้ ส่วนตัวให้ 100%)
3=ส่วนการตัดก้อนหินนั้น ผมคงนำไปเป็นการบ้าน....
ทังหมดคือความคิดเห็นส่วนตัวเท่านั้น
ขอบคุณมากครับ สำหรับข้อมูล
การตัดก้อนหินคิดว่าเขาใช้ความร้อนนะแต่ใช้วิธีไหนไม่รู้นะในอดีตเคยเห็นลุง(เขาเป็นช่าง)เขาทำอะไรเขาจะมีเหล็กแหลมไว้ลนไฟเจาะรูไม้เจาะรูต่าางต่างเขาไม่ยอมใช้สว่านเลย
สุดยอด
@@ธาณี-ว9ฑใช้เหล็กแหลม ใช้สิ่วตอกสกัด เห็นร่องรอยการตัดหินแบบชัดเจน ที่ใช้สร้างปราสาทภูเพ็ก สกลนคร
@@ธาณี-ว9ฑ อีสานเรียกว่าเหล็กซี เอาลนไฟให้แดงแล้วแทงลงตรงที่จะเจาะรู กับไม้น่ะ แต่นี้หิน ยุคหินเขามีวิธีของเขานั้นแหละ หน้าจะมีภาพตัดหินในปราสาทน่ะ และการก่อสร้างนั้น
ในนิมิต ของคุณไพรสาน ตอนที่ไปพบ ท่านที่เฝ้าดูแลปราสาทพนมรุ่ง จะอธิบายการทำก่อสร้าง การขนหิน การก่อสร้างไว้ บางส่วน ตอนนั้นบังเอิญได้เปิดฟัง ก็แบบธรรมดานั้นแหละว่างั้น ช่างใครถนัดด้านไหนก็ให้ช่างด้านนั้นมาดูแล มีเครื่องมือใช้เอง ทำเครื่องมือใช้เอง
คนโบราณท่านเก่งมากค่ะ มีความสามารถสร้างปราสาท ได้อย่างงดงาม ขอบคุณทีมงานทุกท่านค่ะที่ท่านถ่ายทอด ภาพมาให้ดู รายชื่อชงกับ ศิลปะโบราณสถาน
ขอบคุณแอดมินมากๆ ที่ทำให้ผมได้คำตอบ ว่าปราสาทหินพิมายแถวบ้านผม ตัวผมเองและทุกๆคนที่ได้ไปเห็นปราสาท ต่างก็มีคำถามขึ้มาเหมือนกัน ว่าผู้สร้างเขานำหินมาจากไหน ผมสงสัยมาเกินกว่าห้าสิบปี เพราะรัศมี 100 กิโลเมตรจาก อ.พิมาย ไม่มีภูเขาสักลูก,ไม่มีหินทรายแบบนี้สักก้อน ผมเพิ่งจะรู้ว่า ที่ อ.สีคิ้ว มีแหล่งหินตัด ก็วันนี้เอง (ผมโง่มาตั้งนาน 555..)ขอบคุณครับ_ แต่ก็ยังต้องมาสงสัยต่อไปอีก ว่าการขนย้ายก้อนหินเหล่านั้น เขาทำด้วยวิธีการใด? ส่วนการตัดหินยังพอมีการคาดเดา,สันนิษฐานได้หลากหลายวิธี_
นำ
ถือว่าเป็นความสามารถมหัศจรรย์ของมนุษย์จริงๆ เพิ่งเคยเห็นแหล่งตัดหิน น่าทึ่งมาก
คนออกแบบปราสาทสุดยอด แล้วมาตัดหิน ตามแบบ บันไดยาวเป็นร้อยเมตรที่ปราสาทพนมรุ้งน่าทึ่งมาก คนออกแบบ แล้วไปสร้างบนภูเขาสูง เอาหินขึ้นไปสร้างใกล้ตรงภูเขาไฟได้อย่างไร
สมัยนั้น โลกเราแต่ละปี จะมีสภาวะเกือบไร้น้ำหนัก อยู่ปีละเดือนครึ่ง หรือ 45 วัน
@@อาดัมวงษ์สลาม ตามที่ท่านว่ามา ผมข้ออ้างอิงแหล่งข้อมูล ที่เชื่อถือได้ในระดับสากลด้วยครับ ขออภัยผมไม่ทราบมาก่อนเลยจริงๆ ถ้าเป็นทฤษฎีนั่งเทียนสมคบคิดหรือบอกเล่าต่อๆกันมาแต่หาหลักฐานพิสูจน์เป็นจริงไม่ได้ ไม่เอานะครับ
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์ไม่ได้ มีอีกเยอะครับ พีรามิด ใหญ่กว่านี้หลายเท่า มนุษย์สร้างมาแล้ว อะไรทั่คิดไม่ออกว่าสร้างยังงัย มักยกให้ต่างดาวสร้าง. วันหนึ่งพวกเจ้าจะรู้ ว่าสภาวะที่เกิดขึ้นเป็นจริงหรือไม่ อละที่บอกว่าช้างลากหินผิดถนัดครับ คนล้วนๆ และยกง่ายกว่ามนุษย์สมัยปัจจุบันเยอะ จะถามหาหลักฐาน เอาแดนสวรรค์กับนรกมาดูได้เมื่อใหร่ หลักฐานก็คงมีเมื่อนั้น และอะไรที่คิดว่าเป็นสากลแล้วเชื่อถือ คิดผิดครับ เมื่อแค่ร้อยปีที่แล้ว หากบอกว่ามนุษย์จะบินได้ คงไม่มีใครเชื่อ. แล้ววันนี้ละ อย่าว่าแค่บินบนอากาสเลย อวกาสบินมาแล้ว. วันหนึ่งมนุษย์ จะหายโง่
@@อาดัมวงษ์สลามเพ้อเจ้อ
@@อาดัมวงษ์สลามโอ้ววว...หลักการง่ายๆก็ไม่มีเหลือเลย... คงสนุกกับจินตนาการมากมายเลยนะ จินตนาการแบบไม่มีพื้นฐานของหลักการ คงเพ่นพ่านน่าดู
น่าทึ่งมากครับ ไม่มีเครื่องจักร แต่ตัเหินเป็นก้อนๆ รูปทรงเรขาคณิตได้ สุดยอดมากครับ คนโบราณ
ให้ไปฟังในยูทูบเรื่องนิมิตพิศวงค์ตอนปราสาทหินพนมรุ้งของอาจารย์ไพศาลแสนชัย
สมัยก่อนหินก็เหมือนดินเหนียวนี่แหละ/นอสตาบอกไว้
หินทรายเป็นหินที่ไม่แข็งมาก มีความเปราะแตกง่ายกว่าหินชนิดอื่น มีมากที่ภูพาน สกลนคร
คนออกแบบ การสร้างและตัดหินไปสุดยอดเลยครับ กระดาษยุคนั้นเขียนแบบกะบ่มี
เขาไม่เจาะรูกันตรงนี้หรอกครับ แผนกนี้เขาจะตัดตามขนาดที่ได้รับมอบหมายมาแบบหยาบๆ แล้วขนไปให้แผนกก่อสร้าง คัดเลือก ขัดเกลา ตัดแต่งตามแบบที่ต้องการอีกที เจาะรูน่าจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนจะยกขึ้นที่สูง
บ้านกรวด ตาพระยา สีคิ้ว
ไม่ใช่ละหานทราย
เคยดูภาพแกะสลักที่นครวัดใช้ช้างลากหินและแรงงานทาสทำครับ แล้วสร้างต่อเรื่อยไป หลายยุคหลายสมัยกว่าเสร็จคับ
ขอบคุณมากๆครับ กำลังค้นหาอยู่เลย เขาเอาหินก้อนใหญ่ๆมาทำปราสาทนั้น เอามาจากที่ไหนกันแน่ (เคยสันนิฐานไว้น่าจะเป็นแถวอิสาน เพราะร่องรอยการสร้างพระแกะสลักจากหินก็มาจากทางอิสาน) เลยคิดไปแบบนั้นครับ
การขนหินจะใช้ช้างลากจูงเป็นหลัก มีล้อเลื่อนที่ทำจากท่อนซุง การขนย้ายในเส้นทางที่ลำบาก จึงมีการเกิดอุบัติเหตุและมีคนเจ็บคนตายตายเป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะเป็นทาส และเชลยศึก ที่ถูกจับบังคับใช้แรงงาน
ทึ่งมากๆคนสมัยก่อน งานศิลปทำใด้ดีและสวยมากๆเลยครับ
โอ้โฮ คนสมัยก่อนมีคำพังเพย "ฝนทั่งจนเป็นเข็ม" สุดยอดไปเลย 👍👍👍 ก็คล้ายกะการทำแบบนี้เหมือนกัน
คนโบราณมีความสามารถมากๆ
คงมีอีกหลายที่นะ ที่ถูกตัดไปสร้างปราสาท..
ใช่ครับ เท่าที่ทราบมีที่ บ้านกรวด บุรีรัมย์ ด้วยครับ
ภูมิปัญญาที่ชาญฉลาดและมีความมานะบากบั่นมั่นคง...สุดยอดจริงๆ!..กว่าจะสร้างได้ต้องมีการสำรวจหาหินตามแหล่งต่างๆ ต้องวางแผนการขนย้ายตามสภาพท้องถิ่น ต้องมีช้างม้าวัวควายจำนวนมาก กำลังคนมากมาย แหล่งอาหารเเหล่งน้ำเช่นห้วยหนองคลองบึง พื้นที่การเพาะปลูก.. พื้นที่อยู่อาศัย มีการสร้างทางเพื่อติดต่อและขนย้าย...มาคิดดู มันยิ่งใหญ่มาก มันต้องมีแรงบันดาลใจ มันต้องมีความอดทน สามัคคี ที่สำคัญการสร้างให้สำเร็จของคนโบราณ..คือ..ความศรัทธา !!
ขอบคุณมากมายค่ะสำหรับคลิปนี้
สวัสดีครับผมมาชมด้วยคับ
ในยุคที่ไม่มีเครื่องมือนำนวยความสะดวก กว่าจะใด้แต่ละก้อน ต้องใช้ความมุมานะขนาดไหน คนโบรานเก่งจริงๆ
สิ่งก่อสร้างตามศาสนาเป็นความศร้ทธา และความเชื่อ การรับจ้าง และการทำโทษ กดขี่อย่างนั้นหา พอไม่ ประกอบด้วย องค์ประกอบหลายอย่าง สาธุ สาธุ สาธุ
ขอบคุณมาก..สงสัยมานาน...แชร์ครับ ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ฮา
เคยอ่านในสารานุกรมเยาวชน...
ก่อนไปดูสถานที่จริง มีการหาข้อมูลพอสมควรครับ
ดีมากๆ พี่สนใจ เป็นคำถามติดใจมานาน มีครั้งหนึ่งไปเขาวัง ดูเขาขนปูน ขนอิฐ ขึ้นยอดเขา
ใช้หลักการเดียวกับปู่พี่ขนเรือขุดจาก บนเขามาบ้านครับ...ต่างยุคแต่ใช้พื้นฐานเดียวกัน..คงมีโอกาสได้เจอกันสักครั้ง หลังสค. ถ้าลงใต้ไปแวะบ้านพี่ คิมถนนเอเชียครับ กม.1218
ตัดแล้ว เอาไม้ยางแห้งวางในร่องเอาดินเหนียวปิดหัวปิดท้าย แล้วเอาน้ำมาเทให้เต็ม เมื่อไม้แห้งโดนน้ำจะขยายตัว เหมือนไฮโดรริค ดันขยายทำให้หินแตกแบบยาว เมื่อจะให้สั้น ก็ใช้เหล็กสกัดตอก
แรงดันมากขนาดนั้นเลยเหรอ
ขอบคุณครับที่เอามาลงให้ดู
สกลนคร บ้านผมก็มีครับ ปราสาทภูเพ็ก มีที่เขาไปสะกัดหินด้วยเยอะมาก
เก่งไปตามสมัยนะ ยิ่งกรุงโรมก็สุดยอด
ลอง google ดูสารคดี หินที่ใหญ่กว่านี้มากๆ 1000ตัน ก็ตัดกันมาแล้วตรงและคมมาก และไม่ได้เจาะรูให้ลากยก และก็อย่าด่วนสรุปว่าต่างดาวสร้างละกัน
คนเราสมัยก่อนอาจจะมีร่างกายกระดูกที่ใหญ่กว่ามนุษย์ปัจจุบันก็อาจจะเป็นได้อาจจะมีกำลังเยอะกว่าเรามากมายเพราะได้ยินตนเเก่เฒ่าพูดถึงคน8ศอก และตำนานโบราณก็มียักษ์ด้วย ทุกวันนี้มนุษย์กินอยู่สบายกว่าอดีตมากมายหลายเท่า
เคยเห็นนะเเต่เป็นหินกรวด อยู่ในวัดบ้านเเท่นบัลลังก์ อำเภอนางรอง ทำคล้ายๆบัลลังก์
ผมอยุ่แท่นบัลลังก์ครับ
ผมว่า เอากระเพาะ แกะเป่าลม แล้วใช่เชือกผูก เป็นหมู่ก้อนหิน แล้วใช้เรือลากไปตามลำน้ำ
เจาะหินให้เป็นรูใข้ลิ่มไม้แข็งตอกเข้า 12:38 รูหินเอาน้ำมารดลิ่มไม้ไม้ขยาย 13:29 ตัว หินจะอตกเป็นเส้นตรง
ผมรู้จักคุณ คุณสมชาย ผมเคยเป็นลูกน้องคุณ ชื่นชมครับทำค่อไปนะครับ
ผมไม่รู้จักคุณคุณเป็นใคร
อยากรู้ว่าคนสมัยก่อนใช้อะไรตัดหิน มันยากมากๆ ขนาดสมัยนี้ว่ามีเครื่องมือที่ทันสมัยยังว่า ยากเลย ค่ะ ทึ่งในความสามารถของคนยุคโบราณมาก ๆ ค่ะ
สุดยอดฝีมือคนไทยโบราณ
นับถือคนโบราณเขาสุดยอด สมัยนั้นคนอิสานเราได้ทำก่อสร้างประสาทด้วยหรือเปล่า น่าจะมีแล้วสืบมา
บรรพบุรุษของคนอิสานทุกวันนี้แหละครับ คนแถวนี้ไม่ได้อพยพมาจากเทือกเขาอัลไตอะไรนั่นหรอกครับ จำได้มั้ยเมื่อก่อน เราเรียกตัวเองว่า เสียม หรือ สยาม เพิ่งมาเปลี่ยนไม่กี่ปีมานี่ ทุกวันนี้ ทาง สิงคโปร์ หรือ มาเลย์ ก็ยังเรียกเราว่า เสียม อยู่ครับ เสียมน่าจะเป็นภาษา ขอม
@@suchartmanpru ใช่ครับเราคนที่นี่ดูก้อนหินก็รู้
การตัด ตัดได้ เสมอกันเลย ขนาดตอนนี้มีเครื่องมือดีๆยัฃตัดยังต้องใช้เวลา นาน อยากรู้ว่า ใช้เครื่องมือชนิดใด ตัด
สิ่วครับ เอาให้เปะเลยก็ได้ แค่หินเหลี่ยมๆ จิ๊ปๆ เขาแกะเป็นพุทธรูปทั้งยังยังทำได้ นี่แค่ สี่เหลี่ยม
มันแข็งเพราะกาลเวลาเมื่อแรกคงตัดง่ายอยู่และคงเห็นลาวารุ่นก่อนๆ
แข็งตัว
ผมตามหาจุดเอาหินไปสร้างปราสาทมานาน..โดนใจเลย..เหล็กที่ใช้ตัดหินต้องกล้าแข็งหรือเหลี่ยมหินตระกูลเพชรมิฉะนั้นจะเหี้ยนสึกเร็ว..การตัดโดนใช้แรงจลแรงกลึงจากวงล้อขนาดใหญ่..มีแท่นขาชายสามขา..หมุนล้อหนึ่งครั้งจะได้แรงจล50-100 รอบ/นาที..ใช้ระบบล้อเลื่อนระบบกลึงเป็นหลัก. เอาชุงทั้งท่อนมากลึงมาหมุนเป็นเครื่องมือตัด..หินทุกก้อนจะเจาะก่อนการเคลื่อนย้าย.เพื่อลากดึง...เพื่อสอดหวายหรือเชือกหนังช้างดึงขึ้นเลื่อน..การเคลื่อนย้ายใช้เกวียนเทียมช้าง-ควายวัวในการชักลาก..หินกนักสิบตันขึ้นไปใช้เลื่อนช้างดึงและช้างดันส่วนล้อก็เหมือนลูกคิด.คือเป็นเกวียนขนาดใหญ่.เคลื่อนย้ายในฤดูแล้งเท่านั้นวันโลสองโล....ช้างสุรินทร์คือแรงงานที่ยังเห็นเป็นรูปธรรมที่เห็นอยู่..การนำหินขึ้นสร้างปราสาทเขามิได้ยก..แต่ใช้เนินดินถมรอบปราสาทแล้วลากเลื่อนขึ้นไปคือตัวปราสาทอยู่ต่ำกว่าเนินดินมีลอกไม้ทำด้วยชุงทดแรงช่วย..เมื่อสร้างปราทเสร็จก็จะเอาเนินดินออก
ขอบคุณมากครับ สำหรับความรู้ที่แชร์ ไว้มีโอกาสจะไปดูที่อื่นด้วยครับ
คิดเหมือนเราเลย เราก็คิดอย่างนี้เหมือนกันมาก่อนแล้วก็มาเจอคอมเม้านท์นี้พอดี เยี่ยม
การคัดหินแบบโบราณเครื่องตัดน่าจะหมุนแบบชิงช้า..ส่วนหัวตัดน่าจะเป็นเหล็กหรือหินตระกูลเพชร.วงล้อหนึ่งน่าจะมี8-16 หัว.หมุนปั่นทั้งวัน..ชุง/เลื่อน/กลึง เป็นเครื่องมือหลักในการผ่อนแรงคน..ผมสงสัยมากก็ตอนงัดหินออกมานี้แหละ..เพราะร่องมันแคบมากหรือจะใช้ลิ้มตอกแล้วดึงกับแรงช้าง
ขอบคุณค่ะ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
คิดเยอะไปครับ ดูคลิปนี้ th-cam.com/video/JTDzT7HNsg4/w-d-xo.html
สมัยเรียนป.2ป.3..อายุประมาณสิบสองสิบสามปี...ตรงข้ามบ้านคลองตะแบก(บ้านยาย)...มีลานหินตัด...มีวัดป่าชื่อวัดเขาเหิบ...เคยขึ้นไปเล่นในป่า..เจอหินลักษณะแบบนี้มากมายก่ายกอง...บางแผ่นหินมีรูเจาะคล้ายปากไห...น่าจะเป็นการสำรวจคุณภาพเนื้อหิน...ดีใจครับว่าเราเคยไปสำรวจครั้งหนึ่ง...ไล่หลังมาไม่กี่ปี...มีการขึ้นป้ายว่าเป็นแหล่งหินตัด..
เทคนิคแบบนี้มาจากอินเดียแน่นอน ดูได้จาก วิหารไกรลาศ แห่งอินเดีย วิหารศักดิ์สิทธิ์ สร้างจากหินยักษ์ก้อนเดียว เทคนิคการใช้หินแบบนี้ต้องยกให้ คนอินเดียโบราณ
เกี่ยวไรกับอินเดียหรึ...???!!!
@@diiwazavbn9061 เอ้อ....เอ้อ....เอ้อ.....
คนยุคนั้นต้องตัวใหญ่มากนะคับ
7-June-2024.8.08.Pm
คนยุคนั้นลูกผู้ชายอกสามศอกค่ะ
พูดกันติดปากจนถึงปัจจุบันนี้ค่ะ
...............❤❤
ปราสาทหินพิมายผมยกให้อันดับหนึ่ง เพราะสร้างบนที่ราบลุ่มห่างไกลจากแหล่งหินตัดมาก
ความพยายามสูงมาก
สมัยก่อนเครนก็ไม่มียก..ไฟเบ่อร์ก็ไม่มี..ไฟฟ้าก็ยังไม่มี..ภูมิปัญญาของคนโบราณ..และความอุสาหะโดยแท้จริง..ความสามัคคีสําคัญมาก
เขามีรอกชักไงกะดูการยกบ้านหรือเคลื่อนย้ายบ้านหลักสูตรเดียวกันเคยเห็นการยกบ้านสูงไหม
@@No-ty3ig ช้างน่าจะตายหลายตัวจากการถูกบังคับใช้แรงงานด้วย คนโบราณไม่ได้คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนคงใช้แรงงานอย่างหนัก
คนในสมัยนั้นเก่งมากๆๆๆนะคับ
สถาปนิคสมัยนั้น สุดยอดเลยนะครับ
ถ้าในหินมิซิลิกอน และซิลิกอนไวต่อปฏิกิริยาของด่างและความร้อน เป็นไปได้ไหมครับว่าคนสมัยก่อนรู้จักวิธีผลิตด่างเข้มข้นเพื่อนำมาสกัดหิน ส่วนการขนย้าย ถ้าเจาะรูเพื่อขนย้าย ไม้ที่สอดเข้ารูคงต้องแข็งมากๆ ถึงจะรับน้ำหนักหินได้ สมมุติว่าการสร้างปราสาทแต่ละแห่งต้องมีการเตรียมการโดยใช้เวลานานพอสมควร และหินที่นำไปใช้ก็อยู่ในอาณาเขตปกครองของตนเอง และการไปมาหาสู่ในเขตปกครองก็พอมีเส้นทางติดต่อกัน ถ้าใช้ชาวบ้านระหว่างทางขนย้ายช่วยกันขนในแต่ละช่วงของหมู่บ้านนั้น ถ้าสมัยนั้นมีไม้ไผ่จำนวนมากและชาวบ้านรู้จักทำไม้ไผ่เป็นล้อหมุนเหมือนสายพานผลิตอาหารในโรงงานอุตสาหกรรม หินหนึ่งก้อนอาจใช้ล้อเคลื่อนสองตัววางสลับกันไปเรื่อยๆกับคนอีกจำนวนหนึ่งช่วยออกแรงดึง พอจะช่วยทำให้สร้างปราสาทได้ไหมครับ....
เยี่ยมครับปัญญาฝีมือ
อยากไห้ทีมงานถ่ายทำ ตามถ่ายชีวิต กบหงอนหรือกบมีหงอนครับที่เพชรบูรณ์
หรุมกะทะน้าจะหรุมีนำ้วนนะนำ้ไหลก้อนหินหมุน วนแม่นำ้โขงก็มีครับ
ที่เม้นกันเรื่องเคลื่อนย้ายมันอาจเป็นไปได้ แต่ก็ว่าจริงๆเขาจะเคลื่อนย้ายด้วยวิธีไหน อยากรู้มาก
ช้างไงครับสมัยก่อนช้างเยอะแยะ
สมัยก่อนเค้าเพิ่งแต่สัตว์ๆชนิดนั้นคือช้างๆก็เปรียบเสมือนเครื่องจักรมาตลอดในยุคก่อนๆจนถึงปัจจุบันก็ยังมีลากไม้ลงจากภูเขาอยู่บ้างแต่ยุคก่อนหน้าช้างเป็นสัตว์ที่น่าสงสารที่สุดไม่ว่าด้านการรบด้านการก่อสร้าง
ใช้หินกระกูลเพชรหรือเหล็กชุบพิเศษตโดยใช้แรงกลึงของวงล้อเกวียนขนาดใหญ่หมุนทั้งวันเป็นพลังจลของแรงหมุนเป็นพลัง..ใช้น้ำเป็นตัวช่วยหล่อลื่น.ไล่ฝุ่นหินไหลออก .เครื่องตัดอีกแนวคิดือมันคล้ายกบไสไม้ขนาดใหญ่มีดึงสองข้างดึงไปดึงมาทั้งวันจนเป็นรอยลึก
ใช่คับ
แล้วเครื่องมือเหล่านั้นหายไปไหนหมดไม่มีหลงเหลือหรือเป็นเรื่องเล่ามาบ้างเลยหรือ
บนเขาเอาพลังน้ำไหนมา ไม่เห็นมีล่องลอยทางน้ำเลย
@@pongsila2525 น้ำแค่หล่อลื่นครับแรงจลอาจใช้คนหรือสัตว์
คนเรียรวิทย์จะคิดออกดีว่าพวเรียนสังคม..รู้เรื่องโลหะหรืออโลหะ..ตระกูลหินแข็งอ่อน..รู้แรงเสียสีเสียดทาน..รู้ลอรู้ลิ้ม.ารทดแรง
ใช้อะไรตัดละครับ ถึงได้ตรงจริงๆ และขนไปยังไง มันหนักและใหญ่มหึมา สุดยอดคนโบราณสมองจริงๆ
เข้าทำเมื่อ2พันปีก่อนมั้ง เข้าใช้เหล็กตัดและใช้ช้างขน
@@onsen8602 ผมว่าคนโบราณสมัยนั้นตัวใหญ่มีพละกำลังมาก และฉลาดไอคิวสูงจริงๆครับ
เอาอะไรตัดคนสมัยเก่งมากๆ
ขอมคือสยามโยราญครับ
บ้านผมเดะนิ ตรงข้ามทางเข้าหมู่บ้านคลองตะแบก 😅😅
พระเจ้าชัยวรมันฯยืมเครื่องเจียรมาจากมนุษย์ต่างดาวหรือเปล่าหรืออาจเช่ามาก็ได้ รวมทั้งเครนด้วย
น่าจะทิ้งใบเจียรใว้ให้ดด้วย
ใกล้เคียงที่สุดอาจเอาวิธีหรือเทคโนโลยีมาจากฝั่งอียิปต์ก็ได้นะ เพราะอินเดียก็ตัดหินได้เทพเหมือนกัน ส่วนเเถวบ้านเราเห็นว่าถ่ายโอนจากฝั่งอินเดียมาอีกที อินเดียฝั่งชาวทมิฬ
ยุคนั้น ช่างตัดหิน น่าจะมีหลายทีม ออกไปหาหิน กันหลายที่ เเล้วขนส่งไปรวมกันที่สถานที่สร้างปราสาท
แค่ตัดหินสมัยนั้นไม่รู้ใช้เครื่องมืออะไร ไหนจะเจาะรูอีกมีเครื่องมืออะไร ที่ไม่ใช้ไฟฟ้าทำได้บ้าง
สมัยนั้นบ้านเมืองคงเจริญจนถึงขีดสุด มีวิศวะกรรมล้ำหน้ามากไม่แพ้อียิปโบราณเลย
@@noploblem8432 คุณรู้รึปล่าว ??
การรบสมัยก่อนไม่ใช่เพื่อแย่งชิงเมืองหรือดินแดนอย่างเดียว แต่เขาจะรบเพื่อแย่งคนหรือเทครัวเชลยศึก ใครแพ้จะถูกกวาดต้อนมาเพื่อเป็นแรง เมืองไหนแรงงานเชลยยิ่งเยอะก็ยิ่งพัฒนาได้เร็ว เพราะได้แรงงานฟรีๆโดยไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง ยิ่งมีทาสเยอะๆก็ยิ่งหาทรัพยากรได้เยอะ สมัยก่อนสิ่งที่มีค่าเช่นเดียวกับทองคือ พวกเพชรพลอยโลหะสำริดเงิน พวกงาช้างพวกไม้ที่มีค่าและของป่าต่างๆ เพราะมีหลักฐานว่าดินแดนแถบเป็นชุมทางค้าขายจากซีกโลกตะวันตก อาหรับเปอร์เซียกับซีกตะวันออกเช่นจีน จาม เวียดนามของพวกโจฬะบกโจฬะน้ำ ชวา มลายู ที่มีหลักฐานเช่นการค้าขายโลหะสำริดกับกวางสีของจีนเพื่อทำกลองมโหระทึก มีการสันนิษฐานว่าอาจจะมีแหล่งผลิตลูกปัดอยู่ในแถบนี้ด้วยและอื่นๆอีกเยอะแยะ ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องมีคนงานไว้ทำเหมืองเก็บของป่า ยิ่งทาสเยอะก็ยิ่งร่ำรวย มีทาสเยอะก็ปลูกข้าวได้เยอะ สินค้าส่งออกก็ยิ่งมีเยอะ ไม่ใช่เอาทาสไว้แค่สร้างเมืองเท่านั้นนะคุณ!!! อย่าคิดว่าเมืองที่อยู่ไกลทะเลแล้วเส้นทางการค้าจะไม่ผ่าน เพราะทุกเมืองได้ติดต่อแลกเปลี่ยนกันหมด
เทคโนโลยีของเขมร และช้ากว่าอียิปต์เป็นพันปี
@@wy6880 หลักฐานอะไรบอกเป็นของเขมร
@@noploblem8432 อิยิปก้อใช้ทาส..ยิวไง
ศิลปะงัยเป็นของเขมร สมัยนั้น ไทยยังไม่เกิด ที่นี่คืออณาจักรขอม
ดูลักษณะแล้ว คงเป็นทะเลมาก่อน มีหลุมน้ำวน และกลายเป็นตะกอนทรายวนรอบหลุม นานวันก็คงแข็งตัว .
คลิปดี,ติดตามเป็นกำลังใจครับ,ชอบครับ,,สุดยอด,,,
ขอบคุณมากครับ
@@mrtorungchillax ,ครับผม
เชื่อเลย นครวัตร นครธม ต้องมาเอาที่ตรงนี้แน่นอนครับ
ไกลไปจ้า แหล่งหินทรายที่นี่น่าจะนำไปสร้างปราสาทหินพิมายนะครับ ส่วนนครวัด นครธม เค้ามีแหล่งหินทรายที่เขาพนมกุเลนห่างออกไปประมาณ 50 กม. ครับ
@@takedazu ขอบคุณครับผม นี่คือความรู้อีกความรู้นึงเก็บไว้เล่าให้รุ่นหลังได้ฟังครับ ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
เขาพนมรุ้ง ขนาดเดินขึ้นยังยากเลย คนที่ขนขึ้นไปสร้างแรงศรัทธาต่อพระศิวะเจ้าอันแรงกล้าเขาขนขึ้นไปใด้ยังไงสมัยนี้นใช้อะไรทุ่นแรง
เมื่อก่อนคนตัวใหญ่สูงเป็นสามสิบเมตรนี้วแต่ละนิ้วเท่าเสาสำเร็จหินก้อนหนึ่งยกคนเดียวสบาย.แบกไปสร้างปราสาทสามเดือนเสร็จ..ใช้เชือกตัดหินใส่คาถานิดหน่อยก็ขาดแล้ว
อยากรู้ตัดหินออกจากพื้นใด้ยังไงครับ
น่าจะใช้ลิ่มตอกอัดเข้าไปจนหินแยกออกจากกัน เหมือนที่เขาทำเหมืองหินอ่อน
@@รัตนาภรณ์คงประดิษฐ์ ใช่ๆที่คุณว่ามาน่าจะเป็นไปได้เคยเห็นคลิปที่มีคนนั่งตอกลงหินแล้วหินแตกเป็นเเผ่น
ตกลงหินที่ใช้สร้างปราสาทคือ หินจากภูเขาใช่ไหม
ใช้เครื่องมือชนิดใหนตัดคัฟ
งานตันหินโบราณนี่อย่างโหดจริงๆ
สมัยนั้นเขาใช้อะไรตัด หรือตัดแบบไหนครับ
อยากรู้เอาอะไรตัดสมัยนั้น
เคยคิดอยู่เหมือนกันว่าหินที่เอามาสร้างปรสาททั้งหลาย เอามาจากแหล่งไหน
อยากรู้วิธีการตัดหินมากกว่า. หินแข็งขนาดนั้น. และใช้จำนวนมากมามหาศาล. ตัดใด้กริบมาก. ทุกวันนี้. ยังสงสัยอยู่เลย.
อุปกรณ์ตัดหินเอาไว้ที่ไหนครับ
พันกว่าปีมาแล้วนะ ผมคิดว่าหินแบบนี้สมัยนั้นอาจจะไม่แข็งเท่าปัจจุบันนี้ก็ได้นะผมคิดว่านะ เพราะว่าหินพวกนี้มีอายุหลายล้านปีมาแล้ว ยิ่งอยู่ยิ่งแข็ง
ใช่พูดถูกเป็นอย่างที่คิด1000เปอเซนไม่ต้องสงไส
หินที่อยู่ใต้ดินจะอ่อนกว่านี้ พอโดนอากาศก็จะแข็งขึ้นมากครับ
จริงไหมครับที่เค้าบอกว่าหินศิลาแลงสามารถใช้ของมีคมตัดหรือมีดตัดได้เลยเพราะหินที่ตอนตัดมันอยู่ในดินมันจะนิ่ม อันนี้ผมดูมาจากช่องของอ.ตุ๊กบางประอินอะครับ มันจริงไหมครับ
จริงครับเพราะเมื่อก่อนผมเคยเอา หินศิลาแลง มาทำบ้าน ในราคาถูก
ใช่ครับ ศิลาแลง ในดินจะนิ่ม
น่าจะใช้แรงงานสัตว์ช่วยขนย้ายหิน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย การตัดเหล็ก น่าจะใช้เหล็ก ค่อยสกัดไปเรื่อยๆครับ
คนโบราณ เอาเครื่องมือ ชนิดไหน ตัด
บรรพบุรุษของเรามีความพยายามมากที่สุด..ใช้นักโทษทำรึว่าใช้ชาวบ้านทำมะดาก่อสร้างทำคงใช้เวลาเป็นร้อยๆปีแล้วเอาขึ้นไปยอดเขาได้ไงงองงมีเหตุผลที่พอเชื่อถือได้ไหมถนนหนทางไม่มีรึว่าสมัยก่อนเจริญกว่าทุกวันนี้งึดเนาะ
ตอนอาจจะมีเครื่องมือเครื่อข่ายที่รองรับการสร้างปราสาทด้วยหิน แต่ก็นึกภาพไม่ออกจริงๆ คงต้องมีความอุสาหะมาก ที่เขาเรียกยุคหิน เพราะมีสถาปัตยกรรมทั่วโลก อารยธรรมโบราณหลายๆ แห่ง ที่สร้างด้วยหิน
ยุคนี้ 700-800 ปี ที่แล้ว เป็นยุคที่มีการใช้เหล็กแล้วครับ ใช้เหล็กตอก สกัด เจาะรู ช่วยชักลาก ดึง ยก
อยากรู้จังว่าคนโบรานเอาเหล็กสกัดมาจากใหนนำมาตัดหิน?! ผมคิว่าไม่น่ามีเหล็กในยุคหินพันปี.ตอบด้วยครับ
เรื่องหินก่อนไปเป็นปราสาทนี่...ขอยาพารา2เม็ดฮับ✌😇😇😇😇🤣🤣🤣🤣🤣
ตัดหินได้ก็สร้างปราสาทได้ แต่ทุกวันนี้ยังไม่มีใครรู้ว่าคนโบราณเขาใช้อะไรตัดก้อนหิน เพราะทุกส่วนได้ฉากเเละเรียบขนานทุกด้าน วิศวะกรสมัยใหม่ลองเอากระดาษแซกในรอยหน้าประกบแล้วแต่แซกไม่ได้(ค่าความละเอียดห่างกันแค่0.02มม.)
ใช้เครื่องโซ่เลื้อยหินครับ การขนส่งก็ใช้สิบล้อขน
คงไม่มีใครตอบได้ว่าเขาใช้อะไรต้ด
และไม่มีใครรู้จริงหรอกผมว่าเขาเอาก้อนหินที่ตัดได้แล้วเคลื่อนย้ายไปสร้างปราสาทตามที่ต่างๆ
ได้ด้วยวิธีใด
สิ่งที่คนปัจจุบันเดาวิธีการ หรือสันนิฐานวิธีการมันไม่น่าจะถูก
น่าเสียดายที่คนในปัจจุ
บันไม่รู้จริง
ปราสาทบายนมีพระฤาษีชื่อรุขะมูลเป็นประธานในการสร้างมีฤทธิ์มีเดชมากรอบรู้วิชาเทพสามารถบัลดาลของหนักให้เบาได้(เอกสารไม่มีบันทึกอยากรู้ต้องไปค้นหาในหินที่จารึกไว้เมื่อหลายพันปีเขียนเป็นภาษาบาลีอยู่กับหินเท่านั้น)
หนักมากๆสงสารคนทำและช้างม้าวัวควายที่กว่าจะเอามาได้ยกยังไง?
ใช้อะไรตัดครับ
หินทรายนำมาขัดผิวได้..นำมาลับมีดได้ใช่ไหม..เห็นคนสมัยก่อนเขาทำขายกัน ในโคราช
สมัยนั้นมันหน้าจะไม่แข็งและเบามากความรู้สึกจะเหมือนอิฐเผาเบาๆแข็งแรงนิดนึ่งสามารถใช้รถเกวียนและช้างรากไปและสีของมันจะไม่ใช่สีนี้ มันจะออกสี ไข่
เวลาผ่านมาหลายพันปีหินพวกนี่แข็งตัวมากขึ้นและหนักมากขึ้น
หินที่กองๆนั้น คงมีสถานการสงครามน้ำท่วมแผ่นดินไหว หรือเตรียมย้ายพักขนไประหว่างทาง
อุบลก็มี