(คลิปเต็ม) การจัดทำงบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2567 | ฟังหูไว้หู (23 ก.พ. 66)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 47

  • @uraiwanhompluem2927
    @uraiwanhompluem2927 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ ท่านมีความรู้มาก
    คนที่วิจารณ์เรื่องเสียงควรจะขอโทษนะคะ

  • @singhamamae8919
    @singhamamae8919 ปีที่แล้ว +3

    ชอบรายการอาจารย์วีระมาก ๆ ค่ะ

  • @terdpongjanthaphan2380
    @terdpongjanthaphan2380 ปีที่แล้ว +7

    ท่านอาจจะพูดไม่ชัด แต่ความรู้ความสามารถท่านมีมากเป็นประโยชน์กับประเทศ ดีกว่าพวกนักการเมืองที่เสียงดังฟังชัด แต่มีแค่เสียง ความรู้ไม่มี มารับตำแหน่งต้องไปถามปลัดว่าให้ทำอะไรบ้าง ต้องทำยังไง

  • @jugtai
    @jugtai ปีที่แล้ว +4

    งบประมาณ 3.35ล. เงินเดือนขรก.20% สวัสดิการปชช.20% งบลงทุนไม่น้อยกว่า20%ใช้คืนเงินกู้? สุดท้ายเหลือเผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉินประมาณแสนห้า แค่เงินเฟ้อก็หมดแล้ว ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ 1like

  • @สุรินทร์หอมกลิ่น-ด8ฟ

    🥰🥰🥰

  • @thongchaipansi589
    @thongchaipansi589 ปีที่แล้ว

    ท่านผอเท่มาก

  • @วราภรณ์ม่วงใหญ่
    @วราภรณ์ม่วงใหญ่ ปีที่แล้ว +1

    อจช่วยอธิบายให้เข้าใจได้หมัยคะ

  • @countryhomestay1283
    @countryhomestay1283 ปีที่แล้ว +1

    บางครั้ง บางจังหวะ ขัดคุณนุ่นมากไปครับ

    • @kjnarathip3480
      @kjnarathip3480 ปีที่แล้ว +1

      เค้าคั่นเเพื่อโฆษณาครับ ในยูทูปมันเลยดูว่าขัด เค้าออนใน tv

  • @วราภรณ์ม่วงใหญ่
    @วราภรณ์ม่วงใหญ่ ปีที่แล้ว +1

    อยากทราบว่าเงินทอนหมายถึง​อะไร​คะ

    • @woody_0
      @woody_0 ปีที่แล้ว

      มีไหน

  • @woody_0
    @woody_0 ปีที่แล้ว +1

    ใครมาเป็นต่อ รบกวนพรรคประชานิยม อย่าแจกเยอะ วินัยการคลังมันมาดีละ

  • @user-nx5st5qy3f9
    @user-nx5st5qy3f9 ปีที่แล้ว +2

    สมดุลย์เทียบการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาประเทศ
    อยู่กับสถานการณ์ลงทุนโครงสร้างของประเทศด้วยครับ🙏

  • @tirug2000
    @tirug2000 ปีที่แล้ว

    ฟัง แขกรับเชิญ พูดไม่รู้เรื่อง เสียงอู้อี้มาก

  • @arpsri9675
    @arpsri9675 ปีที่แล้ว +1

    คิดว่า ตอนนี้แต่ละจังหวัดจะมีจุดศูนย์กลางทางเศรษฐกิจประจำพื้นที่ คือหมายถึง ตัวจังหวัด ซึ่งถือว่าเป็นพื้นที่ ที่มีผู้คนอยู่อาศัยรวมตัวกัน มากกว่าอำเภออื่นๆ ถ้ารัฐบาลชุดที่กำลังจะมาบริหาร ดูเรื่องโครงสร้างสังคม โดยมีการกำหนด พื้นที่เศรษฐกิจ ทำมาตรการโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมให้ไปในรูปแบบเดียวกัน คิดว่าดีและสวยกว่า การที่ประชาชนสร้างตามแบบที่ตัวเองต้องการมั้ย ยกตัวอย่างสถาปัตยกรรม Haussmann ของฝรั่งเศษ หรือสถาปัตยกรรมทางยุโรป เราจะเห็นว่าบ้านเมือง หรือตึกจะสร้างออกมาในรูปแบบที่เป็นไปลักษณะเดียวกัน เวลามองแล้วมันสวย และดูเป็น Unity. ถ้าพื้นที่เศรษฐกิจหรือตัวจังหวัด ต่างคนต่างสร้าง ผลคือ? ความไม่เป็นระเบียบ ? ถ้าออกแบบให้สวยแล้วทำออกมา ในแบบเดียวกันหมด เมืองคงสวยมาก จริงมั้ย??? แล้วถ้าประชาชนเห็นด้วยว่าแนวคิดนี้ดี จะทำยังไง???
    1. รัฐบาลเพิ่มศูนย์ ผลิตปูนซีเมนต์ และ steel
    2. แต่ละจังหวัด ออกแบบตึกพาณิชย์ ที่มีรูปแบบเดียวกัน (จัดการประกวดการออกแบบ และให้ประชาชน โหวต)
    3. ควรทำตึกพาณิชย์ ที่สูงกว่าที่เป็นอยู่ สมมุติว่ารัฐกำหนดว่า ประชาชนจะไม่มีค่าใช้จ่าย และไม่จำเป็นต้องเวรที่ดินคืน แต่รัฐจะทำการสร้างตามแบบ ประชาชนยังเป็นเจ้าของตึก สมมุติตอนนี้ ตึกพาณิชย์อยู่ที่ 3 ชั้น แล้วรัฐบาลออกแบบทำตึกพาณิชย์ 10 ชั้น เมื่อสร้างเสร็จ ประชาชน เอาไป 4 ชั้นแรก ส่วน 6 ชั้นข้างบน ถือเป็นพื้นที่ของรัฐบาล คือรัฐอาจมีโครงการทำเป็นพื้นที่อาศัยให้คนมาเช่า กำหนดระยะเวลารัฐมีส่วนแบ่ง 100 ปี หลังจากนั้นรัฐคืนความเป็นเจ้าของให้กับเจ้าของตึก
    3. ผลคือ เกิดการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ขนาดยักษ์ เกิดความสวยงานเป็นระเบียบ
    4. เจ้าของตึกได้ตึกใหม่โดยไม่ต้องลงทุน
    5. รัฐช่วยเร่ง ให้เกิดพื้นที่อาศัยที่มีคุณภาพให้แก่ประชาชน
    6. รัฐสร้างรายได้จากการสร้างเมือง
    7. ตึกทุกตึก รัฐคำนวณว่า ให้ชั้น สองชั้นข้างล่าง มีคุณสมบัติสามารถเป็นร้านอาหาร ฉนั้นจะมีการวางท่อดูดควันไว้ ทุกตึก
    8. ถ้ารัฐสามารถเนรมิตร เมืองได้ มันก็น่าจะสามารถปรับขนาดทางเดินเท้า พื้นที่สีเขียว บวกแทรกรถไฟใต้ดินได้ทุกอำเภอเมือง ของทุกจังหวัด ???
    คิดถึงกรณีถ้าเป็นกรุงเทพ.....จะสร้างออกมาก็คงสวยมาก....เริ่มจากตรงไหน ยังไง???
    1. สมมุติมีเป้าหมาย ลดการมีรถส่วนตัว และเพิ่มประสิทธิภาพรถไฟฟ้า
    2. เริ่มจากพื้นที่เศรษฐกิจที่ดีที่สุด = แถวสยาม สีลม?
    3. ต่อไป กรุงเทพควรมีตึกจอดรถสาธารณะ คือทำแบบเป็นตึกจอดอัตโนมัติ มีลิฟท์ 5 ตัว เอาไว้ยกรถอัตโนมัติ ทำตึกจอดรถก่อน เพราะเวลาสร้าง คงมีการห้ามรถเข้า ห้ามการสัญจร
    4. ถ้าปรับตึกแถว แต่ละตึกคงมีคนอยู่ไม่มาก เหมือนๆ ว่า 1 ตึกน่าจะมีอยู่ ไม่เกิน 3 ครอบครัว
    5. ในขณะที่ประชาชนย้ายออก รัฐจ่ายเงินเสมือน เช่าหน้าร้านขายของให้เจ้าของตึก
    6. รัฐจ่ายค่าชดเชย เมื่อคนที่ค้าขายตรงนั้นต้องย้ายออก 1 หน้าร้าน จ่าย 100,000 บาท (ถ้าไม่มีคนเช่า เจ้าของตึกก็ได้เงินไป) แต่ถ้ามีคนเช่า ก็ให้เงินนั้นแก่ผู้เช่า เพื่อไปตั้งตัวที่อื่น
    7. ถ้าทำสองฝั่งถนนพร้อมกัน รัฐจะสามารถปรับถนนตรงกลางได้ คือจะขุดถนน เพื่อทำรถไฟใต้ดิน + นำสายไฟลงดิน ก็ได้ เพราะสองฝั่งคนได้ย้ายออกแล้ว
    8. เลือกตั้งที่กำลังจะเกิด ทำใบให้ลงคะแนนเรื่องพื้นที่เศรษฐกิจ (พื้นที่ตัวจังหวัด) ว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย เรื่องการทำเมืองให้เป็นรูปแบบเดียวกัน จะได้ถือเป็การสำรวจความคิดเห็นคนทั้งชาติด้วย ก็น่าจะดี
    9. กำหนดก็ได้ว่า จุดไหนเป็นจุดตึกสูง และรอบๆ ก็ทำตึกในรูปแบบเดียวกัน
    เมืองในอุดมคติ....ลองมาวิเคราะห์เรื่องตึกสูงระฟ้า ที่กำลังเป็นที่นิยม... ซึ่งส่วนมากไม่ใช่พื้นที่อาศัย แต่เป็นอาคารสำนักงาน....เรานึกดู ยังว่า ประชาชนจะมีวิถีชีวิตแบบไหน ???
    1. มีตึกระฟ้า แล้วประชาชนอยู่นอกเมือง ถึงเวลาก็เข้ามาทำงาน?
    2.ทำตึกสูงเต็มไปหมด แล้วประชาชนก็อยู่บนตึก และบางตึกก็เป็นตึกสำนักงาน
    3. ทำตึกไม่สูงมาก ประชาชนอยู่ และมีพื้นที่พาณิชย์ชั้นล่าง ประชาชนอยู่อย่างกระจายทั้งเมือง
    4. ถ้าทำตึกจอดรถสาธารณะ แสดงว่าแลนที่ใช้จอดรถ จะเปลี่ยนเป็นทางเท้าที่กว้างขวาง?
    5. ถ้าปิดพื้นที่ปรับตึกสองข้างและขุดถนนเพื่อมำรถไฟใต้ดิน แบบไม่ต้องรอ TMB = ได้ทั้งตึกสวย ได้ทั้งงานขนส่งสาธารณะ = ลดจำนวนคนใช้รถยนต์ เพราะคุณภาพการขนส่งสาธารณะดี ทั่วถึง

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      6. ถ้ารัฐออกแบบช่วงบนสำหรับ เป็นที่อยู่อาศัย เครื่องซักผ้า + เครื่องอบผ้าแห้ง สำคัญมาก ไม่ควรมีการตากผ้าที่ทำให้เสีย ทัศนียภาพ
      7. นึกดูว่าถ้าทำการผลิต ส้วม ที่ได้มาตรฐานจำนวนมาก ผลิตเครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้าที่ได้มาตรฐานจำนวนมาก งานเดินท่อต่างๆ สามารถวางระบบได้ ใหม่หมดเลย นึกดู ถ้ามีการแยกท่อน้ำกิน ท่อน้ำใช้ (กรณีที่ระบบกรองน้ำยังไม่ถึงขั้นดีมาก) แต่ถ้าทำแบบกินได้ทั้งหมดก็ดี
      8. ถ้าทำการปรับเมืองใหญ่ขนาดนั้นคงจะเจอปัญหาเรื่องขาดแรงงาน วิธีแก้คือ กำหนดชายไทยที่มีอายุ 24 ปี มาทำงานตรงนี้เป็นเวลา 1 ปี ??? โดยเมื่อครบเวลา 1 ปีแล้ว ชายไทยทุกคนจะมีความรู้เรื่องการสร้างบ้านที่ถูกสุขลักษณะ มีความรู้เรื่อง maintenance บ้าน สามารถซ่อมแซมและดูและไฟฟ้าได้ด้วยตัวเอง แบบนี้จะสร้างอะไรต่อไป มันก็มีหลักที่ถูกต้องเพราะทุกคนมีความรู้ ถึงจะจ้างคนมาสร้าง ก็มีความรู้ในการทักท้วงช่างที่มาสร้างได้ คิดว่าเป็น 1 ปีที่คุ้มค่าของ ชายไทยทุกคน?
      9. แบบตึกคงจะต้องสวย แข็งแรง และผ่านการออกแบบอย่างดีมากๆ คือ ตึกค่อนไปทาง luxury look คุณภาพที่ออกมามันถึงจะอยู่ได้เป็นร้อยปี ...เหมือรที่นักท่องเที่ยว ต้องถ่ายรูปตึก เหมือนเวลาที่ยักท่องเที่ยวไปเที่ยวแถบยุโรปแล้วต้องถ่ายภาพตึก บ้านเมือง แบบนั้น
      10. คุ้มมัน ในมุมมองประชาชน...บางคนอยู่ตึกเก่าๆ ตั้งแต่รุ่นปู่ ย่า ตึกซอมซ่อ แต่ไม่มีเงินทุนปรับปรุงใดๆ....อันนี้ เมื่อทำเสร็จพื้นที่อยู่อาศัยขนาดเพิ่มขึ้น และระบบดีกว่าเดิม ??? ....แล้วอยากตกแต่งเพิ่มเติม....อืม มันก็ต้องวางงานนี้ในกับสถาปนิกที่ทำงานนี้ ที่ต้องออกแบบให้ดีที่สุด
      11. ถ้ารัฐคำนวณแล้วว่ามีรายได้เยอะเกินไป ก็ทำการคำนวณความเหมาะสมแบ่งรายได้ตรงนั้นให้ประชาชนเจ้าของตึก ....คือจุดประสงค์ของรัฐบาลไม่ใช่หาเงิน แต่ยกระดับเมือง และโครงสร้างสังคม ....เอาตัวเลขที่เหมาะสม ในการบริหาร ที่ภาคเอกชน และสวัสดิการให้กับประชาชน.....อืม..ถ้ารัฐมีเงินให้กับเจ้าของตึกเป็นส่วนแบ่งจากรายได้ผู้เช่า...นั่นคือ ภาระที่หนักคือผู้เช่า ซึ่งก็คือกลุ่มประชาชนที่รัฐควรดูแลเช่นกัน.....แต่ การที่มีตึกในลักษณะ luxury นั่นมันบ่งบอดว่าการเช่านั่น จุดประสงค์เพื่อธุรกิจ สำนักงาน หรือกลุ่มคนรายได้สูง.....เพราะมันคือพื้นที่เศรษฐกิจ.....ใช้คำว่า luxury อาจจะไม่เหมาะสม ใช้คำว่า ดูดี สวย สะท้อนสถาปัตยกรรม ที่น่าสนใจ เป็น tourist attractions
      12. แนวโน้มคือ ??? มีร้านค้า ที่ทันสมัย หรือร้านอาหารอย่างดี ไม่ใช่เฉพาะบนห้างหรู แต่เป็นร้านตามตึก เหล่านั้น ....ส่วนร้านค้าที่ ล้าสมัยหรือเจ้าของล้าสมัย ....แนวโน้มคือ อาจตัดสินใจปล่อยให้คนเช่า แล้วย้ายออก ไปอยู่รอบนอก และมีรายได้จากคนมาเช่าเพื่อทำธุรกิจ.....หรือตึกใหม่ที่สร้างทำขึ้นเพื่อจุดประสงค์ทางธุรกิจ ค้าขาย โดยที่เจ้าของตึกยังมีส่วนความเป็นเจ้าของ แต่ด้านที่อยู่อาศัยให้เปลี่ยนวิถีชีวิตไปอยู่คอนโดที่มีจุดประสงค์ไว้เป็นที่อยู่อาศัยโดยเฉพาะ หรือไม่ก็อยู่บ้านในหมู่บ้านจัดสรร ???......แต่ถ้าทำแบบนี้ เจ้าของตึกมีความเสี่ยงต้องแบกรับภาระค่าบ้าน ถ้าไม่มีคนเช่าทำธุรกิจ???......แต่รัฐสามารถเลือกทำ เริ่มจากพื้นที่เศรษฐกิจที่มีความต้องการสูง ???....ครที่อยู่ตึกติดถนน เค้าอยากไปอยู่คอนโด หรือบ้านเงียบๆ หรืออยู่ตรงตึกที่ประกอบอาชีพเลยเพื่อสะดวกเรื่องการเดินทาง???
      ถ้าทำตรงนี้ คิดว่าจะสามารถแก้เรื่องน้ำท่วมได้ด้วย เพราะสามารถวางระบบท่อ ตอนทำเรื่องสายไฟลงดิน
      ก่อนจะไปถึงตรงนั้น คงต้องแก้ปัญหาคนที่จนมากๆ หรือคนที่บำบากก่อน ? ชอบโครงการที่เอาบ้านที่ กั้นทางน้ำออก แล้วสร้างให้คนในชุมชนอาศัย เพราะจะบอกเค้าย้ายออก เค้าคงไม่ย้าย ......แต่ถ้าสร้างเสร็จ แล้วรัฐเปิดรับลงชื่อว่า หากมีคนอยากขาย รัฐจะเป็นตัวกลางให้กับภาคเอกชน....อย่างน้อย การที่ประชาชนทายื่นความจำนง รัฐน่าจะได้ข้อมูล ภาพรวมถึงความเป็นไปได้ ในอนาคตที่จะพัฒนาที่ดินตรงนั้น เพื่อสร้างเป็นพื้นที่เศรษฐกิจหรือเปล่า

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      ร้านอาหารดัง ที่ยอดขายสูงๆ ทางยูทูป คนเหล่านี้น่าจะได้รับการติดต่อมาทำอาหารขาย ถ้ารัฐทำการสร้างจริงๆ.....เงินยังคงหมุนเวียนเฉพาะบางกลุ่ม??? ทำไงดี มันจะกระจายไปยังคนที่ลำบาก เพราะร้านยูทูปที่ขายดี นั่นคืออร่อย เค้าจะเปิดที่ไหนก็ได้..... แต่...รัฐก็ต้องดูแลพื้นที่ ที่ต้องการปั้นให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ ...ถ้าอาหารไม่อร่อย หรือร้านค้าที่นำมาขายไม่น่าสนใจ มันก็ไม่ดึงดูดคน....
      ตรงแถบแถวรอบพระบรมมหารราชวัง แถวตรอกข้าวสาร น่าทำ เพราะสามารถสร้างสถาปัตยกรรม ที่ดูสง่างาม คือ ใส่ความเป็นไทย + ตะวันตก ตรงนั้น เข้าใจว่าอยู่ใกล้สวนสาธารณะด้วย รถไม่ค่อยมีเพราะส่วนมากเป็นส่วนราชการ เข้าใจว่าตอนนี้รถไฟฟ้า ไปถึงแล้ว ถ้าทำการสร้างขึ้น คาดว่าจะเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยว High-end และ ชาวต่างชาติที่ ทำงานที่ไทย ...ฝรั่งชอบใช้ รถไฟฟ้า เดินทาง ถนนแถวนั้นก็กว้างขวาง
      มันคงดูเข้ากับวัดพระแก้ว และ วังแถวนั้นมากเลย คิดว่าทำตึกจอดรถก็สะดวก พื้นที่เยอะแถวนั้น และถ้าทำแถบนั้น แล้วมีตำรวจ ไปยืนรักษาความปลอดภัย 24 ชม. มันก็ดูเหมาะสม เพราะมันเป็นเขต ที่ควรมี top security. ซึ่งก็คือความปลอดภัยของคนที่มาเยือน และผู้อยู่อาศัย.....แต่มองอีกมุม เหมือนทำให้เพิ่มความวุ่นวายในเขตสงวนมั้ย???
      ย่านคนที่รวยที่สุดในนิวยอร์ก คือแถว Metropolitan museum คือเค้าอยู่กันอย่างเงียบสงบ บนตึก ทั้งๆที่เปิดพื้นที่ ให้คนเดินผ่าน แต่ก็ดูเงียบสงบ สภาพแวดล้อม มันทำให้นึกถึงพื้นที่บริเวณนั้นหากเป็นเมืองไทย
      วิเคราะห์ดูมันก็เหมือน คนมีเงิน วัยที่ยังชอบเที่ยวชอบปาร์ตี้ก็มีทำเลรองรับ และคนมีฐานะที่อาจจะเริ่มมีอายุชอบความสงบก็อยู่อีกทำเล และแถวนั้น จะทำ top security ก็ไม่น่าเกลียด...ถ้ามหาเศรษฐีระดับโลกมาลงทุนทำธุรกิจ เค้าคงอยากอยู่แถวนี้
      ตึกไม่น่าจะสูงเกิน 12 ชั้น 3 ชั้นล่างสามารถทำเป็นขายของ และร้านอาหาร ชั้นช่วงกลางเป็น ออฟฟิศ และช่วงบนเหลือ เป็นที่พักอาศัย ???? หรือจะแยกเป็นกลุ่มตึก.....ตึกที่เป็นเฉพาะที่อาศัย และตึกกลุ่มร้านอาหารและออฟฟิศ อยู่ด้วยกัน......อืม...จริงๆตึกที่อยู่อาศัยกับออฟฟิศคิดว่ามันอยู่ด้วยได้ เพราะที่อยู่อาศัย คงไม่มีคนอยากอยู่ชั้นล่าง คงชอบอยู่ชั้นสูงๆ ฉนั้นช่วงล่างคือออฟฟิศ ??? ยังคงคิดแบบจากวิถีทาง สไตล์ยุโรป.... ที่นิวยอร์ก แถว Hudson ที่เพิ่งเกิดใหม่ เป็นตึกระฟ้า สร้างแบบสไตล์ millennium ไม่เห็นเป็นที่นิยม คนไม่ค่อยไปเดิน ...เค้าทำสไตล์ตึกห้างชอปปิ้ง เหมือนประเทศไทย แต่ไม่เป็นที่นิยม ร้านค้าเงียบ คนไม่เข้า .....เพราะอะไร??? เพราะมันดูเย็นชา มันดู เป็น monopoly มันไม่กระจายรายได้
      มีข้าวกิน มีเสื้อผ้าดีๆใส่ มีสภาพแวดล้อมที่ดูอบอุ่น สังคมที่ไปไหนมาไหนถึงกัน เราควรมีสถาปัตยกรรมที่เวลาดูแล้วควรรู้สึกแบบนั้น
      ไปดูแถว financial district ตึกสไตล์สมัยใหม่แบบกระจก สูงมองเห็นเป็นตึกอนาคตหุ่นยนต์ กลางคืนแถวนั้นเงียบ ไม่มีคนอยู่ ไม่มีใครอยากอยู่ตึกแบบนั้น
      อืม......นึกอีกที เหมือนถ้าทำตึกขึ้นมา จะเอาแบบปารีส มันคงได้ยินเสียงรถ?? มองออกหน้าต่างมันคงไม่สวยเหมือนยุโรป....เว้นเสียแต่จะทำทั้งย่านที่มีรัศมีอน่างน้อย 500เมตร
      หากสร้างตึกในย่านที่ผู้คนมากมายอยู่แล้วอาจจะไม่เหมาะทำเป็นที่อยู่อาศัย ตึกสามารถปรับเป็น สามชั้นล่างให้เป็นร้านค้า (แบบถ้าเป็นร้านอาหาร ก็มีระเบียงนั่ง ?? และ อีกชั้นที่เหลือ เป็นออฟฟิส มันน่าจะช่วยลดร้านค้าที่ขายอยู่บนถนนได้??? มีออฟฟิศกระจายอยู่ทั่วเมือง ??? และส่วนคอนโด ก็แทรกตัว แถวนั้น เพื่ออำนวยความสะดวกให้กันคนทำงานในย่านนั้น ??? ตึกที่สร้างก็ดูมาความเป็น มืออาชีพ ตอนนี้ร้านอาหาร จะอยู่เฉพาะระดับคนเดิน ซึ่งเราก็เห็นว่ามันแออัด สร้างความไม่สะดวกแก่คนเดิน.....ถ้าเพิ่มเป็นสามระดับ ??? คิดว่าดี??? ร้านอาหารคงอยู่ได้ ถ้าทำอร่อย สะอาด เพราะมีคนทำงานออฟฟิศ ชั้นบนทุกตึก
      ส่วนกลุ่มรถเข็น เราก็จัดพื้นที่ขายดีๆ น่ารักๆ ให้........แต่ดูตามความเป็นจริงและแนวโน้มการสร้าง....เค้าคงสร้างตึกสูงสมัยใหม่เพิ่มขึ้น และตึกแถว คงจะค่อยๆ หายไป พื้นที่สีเขียวก็แทรกอยู่ระหว่างตึกสูงเหล่านั้น....จำนวนตึกน้อยลง แต่ว่าจะมีแต่ตึกสูง ......มันคงเป็นแบบนั้น......ประชาชนส่วนใหญ่ชอบแบบไหน???
      วิถีตึกสูง คนสร้างอสังหาริมทรัพย์ และห้างสรรพสินค้า คงรวยมาก รายได้ประชาชน คิดว่าจะเป็นลักษณะไหน ทิศทางใด????

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      แบบของตึก ....???
      บางคนมีตึกห้องเดียว บางคนมีตึกสองห้อง ?? ถ้าทำตามขนาดความกว้างของแต่ละคน ....คนที่มีห้องเดียว ถ้าทำสูงขนาด 12 ชั้น จะใช้ประโยชน์ยังไง...ไม่เหมาะ
      สมมุติ ใช้มาตรการกำหนด ว่า 1 ยุนิตของการออกแบบคือ 5 ห้อง (20 เมตร) เจ้าของที่อยู่ติดกันคือกลุ่มเดียวกัน เราได้การออกแแบยูนิตที่มีขนาดใหญ่ .....3 ชั้นล่าง ทำร้านอาหาร ร้านขายของ.....5 ชั้นบน เป็นที่พัก ของเจ้าของตึก ( ครอบครัวละชั้น - ในกรณีที่แต่ละครอบครัวมี 1 ห้องตึกมารวมกัน = 5 ครอบครัว = 1 ยูนิต) และช่วงกลาง 4 ชั้น อาจทำให้คน มาเช่าทำออฟฟิส ??? หรือสามารถเป็น hostel ได้ ??? ความยาวที่ 20 เมตรของแต่ละเซ็ต แบ่งทำ sky bridge ( เป็นกระจก ที่มองเห็นด้านนอก) ห้องสุดท้ายของยูนิต.....ถ้าเป็นสามชั้นล่าง ก็เหมือนมีบริเวณนั่งกินข้าวริมหน้าต่างทั้งสามชั้น.....ถ้าเป็นส่วนชั้นที่เป็นออฟฟิศ ก็เป็นเหมือน มุมนั่งผ่อนคลาย ( หรือ ตรงชั้นออฟฟิส จะทำเป็นทึบ เพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอย?) และชั้นอยู่อาศัย เจ้าของบ้านก็มีระเบียง รับอากาศ ... ตรงที่เป็น สะพานแก้ว คงไม่หนา ฉนั้นจะเหลือพื้นที่ ทำน้ำพุ ชั้นดิน.....คงมีคนออกแบบได้สวยกว่าที่คิดไว้อยู่หรอก...พื้นที่ใช้สอยสำหรับเจ้าของตึก กรณีมี 5 ครอบครัว คิดว่าไม่น้อย สำหรับกรุงเทพ พื้นที่ ยาว 20 เมตร กว้าง (ความลึกของตึก)....เหมาะหรือเปล่า???? มีคนต้องการออฟฟิศ ขนาด 20 × 7.5 เมตร เยอะมั้ย ??? ถ้ารวมกัน นั้นคือการเป็นเจ้าของร่วม เป็นหุ้นส่วนของรายได้ ที่เข้ามาแต่ละยูนิต......รัฐก็สามารถออกแบบให้มีทางเลือกว่า เจ้าของตึกประสงค์จะอยู่ อาศัยที่เดิม หรือ อยากจะปล่อยให้ทำเชิงธุรกิจทั้งตึก ???
      รัฐมีการออกแบบภายในตึกให้เลือกว่า.....
      1. ร้านอาหาร หรือร้านขายของ + สำนักงาน + ที่อยู่อาศัย
      2. ร้านอาหาร หรือร้านขายของ + โฮสเตล + ที่อยู่อาศัย
      3. ร้านอาหาร หรือร้านขายของ + ที่ผลิต ผลิตภัณฑ์ แปรรูปอาหาร ( SME ).
      .....จริงๆ ควรทำจุดดูดควันอาหาร ที่ทุกชั้นสามารถทำเรื่องอาหารแปรรูปได้??? อาจจะเป็นพวกอาหารอบแห้ง ที่ไม่ใช่ควัน ??? หรือพวกอบเบเกอรี่ ??? ......ตึกสร้างมาตั้งสวย เอามาทำอาหารทั้งตึก ???? เหมาะหรือไม่เหมาะ???.....ตอนนี้คนก็ work from home.
      4. ตรงที่เปิดโล่ง เป็น sky bridge มีเหมือนมีคุณสมบัติ จุดพักตา และช่องลมที่ผ่านแต่ละช่วงตึก สร้างอากาศหมุนเวียน ด้านข้างของตึกสามารถ เป็นไม้เลื้อยสีเขียว เวลามอง ก็จะเห็นตุดเชื่อมระหว่างยูนิต เป็นสีเขียว และ skybridge ตรงที่ระดับคนเดินที่อยู่ข้างล่าง skybridge ก็อาจเป็นน้ำพุ และต้นไม้ประดับสีเขียว ทำแบบนี้เป็นแนวยาวตลอด.....สวย???? และเจ้าของตึกน่าจะชอบ ??? เป็นโอกาสดี ที่จะยกระดับ รูปลักษณ์ร้านอาหารและร้านค้าในประเทศไทย.....เหมือนได้มูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น 4 ชั้นตรงช่วงกลางของทุกตึก
      ถ้า 12 ชั้น แต่ละชั้น ให้ที่ 4 เมตร (ใส่เพดาน คงเหลือที่ 3.5 เมตร สูง ......แสดงว่าทั้งตึก สูงประมาณ 50-52 เมตร .....เหมาะสม???....ถ้าสูง 12 ชั้นต้องมีลิฟท์อยู่แล้วทุกยูนิต.....ทำเป็นลิฟแก้วติดด้านหลัง ของห้องตึกที่สละทำ skybridge??? ....ตึกทุกตึก ทำประตูที่เปิดเชื่อม skybridge ได้??? ถ้าต่อกันยาว ก็เชื่อม ซ้าย-ขวา แต่ก็ทำกฏให้ประตูซ้ายปิดตาย เว้นเสียแต่ เจ้าของมีสองยูนิต ต้องการเชื่อมถึงกัน ....... skybridge ควรทำเฉพาะ ชั้นที่ 4 ถึงชั้นสูงสุด ส่วนสามชั้นล่าง เป็นร้านอาหาร หรือ ร้านขายของ ก็สามารถ ทำเป็นช่องหน้าต่าง.....ถ้าใช้ประโยชน์เป็นร้านอาหาร ก็เหมาะเป็นมุมโต๊ะนั่งติดหน้าต่าง ทำเป็นร้านค้า ก็มีลมโกรก เห็นพื้นผนังสีเขียว ไม้เลื้อย ข้างตึก ( เลือกไม้เลื้อยพันธุ์ที่ใบไม้รกเกินไป แบบให้สีเขียวบางๆ ใบเล็กๆ)
      ถ้าทำสวยขนาดนั้น คงต้องออกกฏหมายห้ามตากผ้า ทุกครัวเรือนคงต้องบังคับใข้เครื่องอบผ้า....ตอนนี้มีมาตราการซื้อรถยนต์ได้ส่วนลด 150,000 บาท....ลองนึกดู นั่งได้เครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า กี่เครื่อง (ถ้าต้นทุน เป็น mass production)???........อืม.......แต่เมืองไทยเมืองร้อน คิดว่าผ้าแห้งเร็ว......ตอนนี้ แต่ละตึก นิยมติดตั้งแอร์ส่วนที่ระบายความร้อนตรงส่วนบนของระเบียง......ถ้าทำระแนงปิดตัวแอร์ และทำราวตากผ้า ใต้แอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องใช้ ตู้อบผ้าให้เปลืองไฟ

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      สำหรับตลาดสด พื้นที่กว้าง สามารถอำนวยความสะดวกให้กับพ่อค้ารายย่อย ด้วยการทำเป็น Indoor market แบบเปิดโล่ง สามชั้น มีการต่อท่อ ทำอ่างล้างผัก เตรียมเนื้อ ขนาดหน้ากว้างร้านที่ 2 เมตร ลึกซัก 3 เมตร กลังคาสามารถทำแบบไฮโดรลิก คือถ้าวันฝนตก หลังคาก็เลื่อนปิด และวันไหนอากาศดี ก็เปิดโล่งข้างบน สามชั้น โดยตรงกลางเปิดโล่ง เป็นลักษณะ นั่งระเบียง Indoor ทำเพดานสูง จะได้ไม่ต้องใช้แอร์ และทำเปิดโล่ง เหมือนเวลาเดิน วัด หรือ วิหารที่ มีหน้าต่างฐานใหญ่ เปิด ตลอดทั้งตึก.....คิดว่า...สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี ให้กับพ่อค้าแม่ค้าด้วย....ดูดี เป็นระเบียบ

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      เหมือน 12 ชั้นจะสูงไป??? ถ้าเหลือ 10 ชั้น ? และแต่ละยูนิตคือ 6 ห้อง ....จะลงตัวพอดี คือ 3 ชั้นล่าง อาหาร , 4 ชั้นกลาง ออฟฟิศ, 3 ชั้นบน คือบ้าน สำหรับ 6 ครอบครัว (ชั้นละสองครอบครัว - duplex) 4 เมตรด้านข้างช้าย เป็นพื้นที่สีเขียว และ Skybridge.....ถ้าทำ สามชั้นล่าง จะโล่ง , ชั้นที่ 4 ขึ้นไป เป็น Skybridge ( เหมือนตึกแก้วลอยอยู่) การที่ทำข้างล่างโล่ง ใส่น้ำพุ และ อาจมี ที่พิงพนักใต้ร่มเงาไม้......ถ้าอนาคต ถนนมีการเปลี่ยนแปลง...สมมุติ ระบบรถไฟฟ้าดีมาก และคนใช้รถน้อยลง บางถนนอาจเปลี่ยนเป็น ทางเดิน และตรงช่องว่างระหว่างตึก จะสามารถกลายเป็นทางเดินไปด้วยได้......แบบนี้ รัฐก็ลดราคาค่าสร้างเพราะมันคล้ายๆกับว่า ตรงช่องว่างระหว่างตึกเป็นเหมือนทางของหลวง??? ลองนึกดู ถ้าออกแบบดีมากๆ แล้วมอง ช่องว่างระหว่างตึก เป็นช่องที่ตรงกันไปทั้งแนว กับตึกที่สร้างอยู่ตรงข้าม ??? คงเป็นจุดที่นักท่องเที่ยว ทั้งไทยและต่างประเทศต้องมาถ่ายรูป ตึกสิบแถวคู่ขนาน มองเห็น ช่องพื้นที่สีเขียวได้ตรงกันตลอดแนว.....ถ้า 12 ชั้นไม่สูงไป ก็ดี อืม....แต่ 5 ห้องเล็กไป ??? ควรรวมเป็นยูนิตละ 6 ห้อง..... concept ตึกแบบนี้ แต่ Exterior แตกต่างกัน ( ออกแบบใน Theme เดียวกัน แต่ไม่เหมือนกัน 100 % ก็ได้??? ) มี option ให้ roof มีสระว่ายน้ำได้ แต่ลูกบ้านต้องจ่ายรับผิดชอบตรงนี้ ทำให้คนข้างล่างมองดูแล้วเหมือนมีหลังคา แต่ มองมุมสูง จะเห็นว่า เป็นสระว่ายน้ำ ??? ทำไมต้องสระว่ายน้ำ.???....เพราะแน้วโน้ม คนจะต้องการสระว่ายน้ำ กรณีปรับเป็นตึกที่อยู่อาศัย ทั้งตึก...??? การทำให้ตึกดูมีรูปลักษณ์ควรมีหลังคา มันลดความกระด้าง มันดูมีดีไซน์ มันแทรกศิลปะทางสถาปัตยกรรมได้มากกว่า....???.....ซึ่งเป็นผลดีต่อการท่องเที่ยว....เราจะเห็นได้ว่านักท่องเที่ยวนิยมถ่ายรูปกับตึกแบบไหน....นั่นคือเค้าชอบ ชอบคือ อยากอยู่แบบนั้น??? คนไทยอยากอยู่แบบไหน ถ้าเนรมิตได้???....อืมถ้าเป็นตึกอาศัยทั้งตึก คนทำร้านอาหารก็ลำบาก??? ...... จุดประสงค์คือกระตุ้นอาชีพ กระตุ้นรายได้ กระตุ้นกิจกรรมทางธุรกิจ.......แต่ยังไงแล้ว 3 ชั้นด้านล่าง ทำไว้เพื่อทำธุรกิจค้าขาย เหมาะแล้วหล่ะ เพราะระดับไม่สูง คนก็ไม่อยากอยู่ เพราะมันติดถนน ถ้าจะทำตึกติดถนน เป็นตึกที่พัก คงเริ่มได้ที่ชั้น 5 ขึ้นไป ( ชั้น 4 ก็ ปรับเป็นชั้นฟิสเนส และมี สระว่ายน้ำที่ rooftop)......ทำไมต้องทำดีขนาดนั้น ทั้งๆ ที่ยังมีคนจนมากมายในประเทศ???......เพราะคิดว่า การทำตึกในย่านกรุงเทพไม่ควรมีการสร้างและทุบทิ้งบ่อยๆ เพราะทันกระทบคนสัญจร และคนอยู่อาศัยที่หนาแน่น ทำแล้วให้ประชาชนรู้สึกว่า อยากอยู่แบบนี้ คือคุณภาพดีที่สุดแล้ว และรู้สึกชอบภูมิใจในงานตึกงานออกแบบ....คือเต็ม capacity แล้ว.....ถ้าต้องการเพิ่ม ก็เป็นเรื่องการขยายตัวเมือง มากกว่าการแก้ตัวตึกที่สร้างเสร็จ.....ที่เึงเรื่องสน้างตึกใหม่ในเมือง เพราะคิดว่ากรุงเทพตึกไม่สวย การค้าขายยังไม่เป็นระเบียบ........สมมุติประชาชนเห็นด้วย คงต้องฝากความหวังกับทางฝ่ายสถาปัตยกรรมมากๆ......นี่คือการส้รางเมืองครั้งใหญ่ และค่ดว่าคงอยู่เป็นร้อยปี.....แม้ว่าเมื่อครบกำหนดส่งความเป็นเจ้าของให้เจ้าของตึก....เค้าก็ไม่คิดจะเปลี่ยน เพราะคิดว่าตึกคุณภาพดีแล้ว ส่วนสูงของตึกก็ให้เหมาะสมกับทัศนียภาพ คือสร้างตึกสูง ก็ได้ใช้ประโยชน์มาก แต่สูงเกินไป ก็ทำลายความเป็น เมืองที่ urban......หาจุดเหมาะสม......ส่วนตัวอยากเห็นตึกที่มองดูแล้วมีความเป็นบ้าน.......คิดว่าควรมีการกำหนดโทนสีที่ใช้ มันจะได้กลมกลืน???
      ตรง Skybridge มันจะออกมา คล้ายกับ Uffizi Gallery ที่ Florence. เราปรับใส่ลวดลายที่เป็นลักษณะไทยลงไปได้ มีนาฬิกา ขนาดซักเท่า พัดลม ติดอยู่ตรงฐานของ skybridge ก็สวยดี

  • @user-rm7of5jq8f
    @user-rm7of5jq8f ปีที่แล้ว

    เอาตังมา จะซื้อจะซื้อ
    นำเข้า กับส่งออก เป็นยังไงบ้าง
    ส่วนมากอยากมีส่วนร่วม ซะเป็นส่วนใหญ่
    ชาติอื่นเค้า ไปปล้นนอกบ้านแถมแจกอีก
    แต่บางชาติก็ช่วยเค้าให้เค้าปล้น เบิร์นกันเอง
    ลงเอยแค่เป็น ที่พักผ่อน เจริญแล้ว

  • @arpsri9675
    @arpsri9675 ปีที่แล้ว

    ระบบนายทุน......นั้นดี เพราะทำให้เกิดอิสระ.....แต่ ปัญหาคือคนฐานรากลำบาก.......สมมุติว่า....ในความเป็น ทุยนิยม การแข่งขันไม่ใช่มีแต่ฝ่ายเอกชนแข่งขัน รัฐบาลก็เข้ามาแข่งขันด้วย???? คิดว่าผลประโยชน์จะตกไปที่ผู้บริโภคมากขึ้นมั้ย????
    รัฐไม่จับสินค้าทุกตัว รัฐจับเฉพาะสินค้าขั้นพื้นฐาน เช่น ตั้งเป้าว่าครอบครัวทุกครัวเรือน ต้องมีส้วมที่ดี สมมุติต้องการยกมาตรฐานความเป็นอยู่ของคนไทย.....
    1. มีส้วมชักโครก + สายฉีด ใช้ทุกครัวเรือน
    2. มีเครื่องซักผ้า
    3. มีเครื่องทำน้ำอุ่น
    4. ตู้เย็น
    5. อ่างล้างจาน อ่างล้างหน้า (อ่างสุขภัณฑ์)
    6. เครื่องกรองน้ำดื่ม
    7. เครื่องล้างจาน ( ทั้งสำหรับครัวเรือน และ ร้านอาหาร )
    8. เตาไฟฟ้า / เตาแก๊ส
    9. เครื่องอบผ้าแห้ง ( สร้างความเรียบร้อยให้กับคนในเมืองใหญ่ - ไม่มีการตากผ้าตรงระเบียง.....)
    10. พัดลมเพดาน และ พัดลมตั้งโต๊ะ
    สิ่งพวกนี้ตั้งเป้าว่าเป็นสิ่งพื้นฐาน ที่บ้านทุกหลังมี สินค้าพวกนี้ควรราคาถูก....ฉนั้น ถ้ารัฐเข้ามาเป็นคู่แข่งในตลาด...แต่ยังเปิดโอกาสให้เอกชนผลิตขายเช่นกัน......ตรงนี้รัฐสามารถทำราคา ได้ในลักษณะที่ซื้อได้แทบทุกครัวเรือน......??? โรงผลิต ทำขนาดใหญ่ได้ ต้นทุนถูก (ขายในราคาต่ำ)......นี่คือ มาตรฐานที่อย่างน้อย ประชาชนต้องมี???......แบบนี้ ชีวิตคนไทย ถูกยกระดับพร้อมกันทั่วประเทศ..
    ......บุคลากรที่ผลิตหล่ะ???? รัฐมีเงินทุนนี่.....ออกแบบสายการผลิตให้เป็น อัตโนมัติ หรือ robot.....จะได้ไม่ต้องไปแย่งตลาดแรงงาน......สิ่งพวกนี้มันใช้ระบบออโต้ผลิตได้
    สินค้าพวกนี้ ทำแบบมีหน้าร้านตัวอย่าง.....(เอาแทรกไปสร้าง Boot โชว์สิ้นค้าที่ศูนย์อนามัยก็ได้ ) สินค้าพวกนี้ ไม่มีรุ่น ซึ่งคือ ส้วมชักโครก (จะมีแบบเดียว)......ถ้าอยากได้แบบอื่นที่ดีกว่า ไปซื้อของเอกชน......
    การวิเคราะห์ดูว่า อะไรคือสิ่งพื้นฐานที่ทุกคนควรมี ....นั่นคือการช่วย กลุ่มูผู้บริโภคฐานราก หรือกลุ่มรายได้น้อย......
    ที่ศูนย์อนามัยเป็นเพียงจุดโชว์สินค้า แต่ว่า รัฐอาจทำโกดังสินค้าประจำที่จังหวัดละ 1 แห่ง เมื่อมีการสั่งซื้อ ส่งยอดไปที่โกดัง - รัฐสามารถ จัดตั้งบริการส่งฟรี แต่ไม่ส่งถึงบ้าน แต่จะเป็นส่งไปที่ศูนย์แสดงสินค้า และประชาชนไปรับเอง เว้นเสียแต่สังเครื่องล้างจานสำหรับร้านอาหาร.......เครื่องล้างจานจะยกระดับมาตรฐาน ร้านอาหารไทย ซึ่งประเทศไทยมีผู้ประกอบธุรกิจอาหารมากมาย
    ถ้ารัฐไม่ผลิตเอง จะนำเข้าจากจีน มันก็สามารถ ได้ deal ที่ถูกมาก เพราะยอดสั่งซื้อสูง
    และถ้ารัฐทำเรื่อง แผงโซล่าเซลล์ หล่ะ ???? แต่กำหนดขนาดว่า บ้านแต่ละหลังซื้อได้ขนาดเท่าไหร่ (ในกรณีสินค้าไม่พอ) ........แบบนี้คือ องค์กรไฟฟ้าแห่งประเทศไทย.....รายได้ลดลง??? นั่นคือ ต้องการพนักงานลดลง???......เมื่อต้องการพนักงานลดลง รายจ่ายรัฐก็ลดลง??? คนตกงาน......???? รัฐจะย้ายคนไปทำสวัสดิ์การ คนชรา.......อาจจะเป็นสถานบ้านพักคนชรา หรือเรื่องเด็กกำพร้า.......ที่เหลือไปไหน......คำนวณดูว่า......ภาระหนี้ครัวเรือนที่ลดลง......นั่นคือ มีเงินเหลือไปเพิ่มการบริโภคด้านอื่น.....นั้นคือ สร้างอาชีพ ในกลุ่มผลิตภัณฑ์อื่น.....เอกชนย้ายไปจับสิ้นค้า ในระดับสูงขึ้น (ไม่ใช่ มาโฟกัสเรื่องทำกำไร ในสินค้าพื้นฐาน).........
    นี่ไง...เรื่องรถไฟฟ้า ใต้ดิน......ย้ายคนเตรียมทำรถไฟฟ้าใต้ดินระดับจังหวัด.....คือพนักงาน รถไฟ พนักงานดูแล สถานีรถไฟ เพื่อความปลอดภัย
    เรื่องรถราง....ทำตรงจุดท่องเที่ยว เหมือนนั่งรถไฟชมวิว....อย่างเช่นใช้สำหรับสวนสาธารณะขนาดใหญ่ ...อุทยาน...ไปชมน้ำตกบนภูเขา แต่คิดว่าไม่ควรเอามาแทนที่รถบัส เพราะมันคือใช้งานบนถนน มีคุณสมบัติใข้พิ้นที่บนถนนเช่นเดียวกับรถบัส.....ถ้าย้ายลงใต้ดิน ???? อันนี้อาจจะใช้แทนรถบัสได้.......แต่ว่าเรากำลังเข้าสู่การใข้รถไฟฟ้า แบบยุโรปแล้ว แบบไม่ใช่รถราง.....คิดว่า รางมันใช้รางแบบเดียวกัน กับรถไฟฟ้าในกรุงเทพใช่มั้ย ???? ....ถ้าใช่ รถไฟแบบนี้ใช้ก็ ใช้ใต้ดินตามระดับจังหวัด เพราะยังไม่มีงบที่จะซื้อรถไฟฟ้าความเร็วสูงมาลง ????? จะข้ามไป monorail เลย สำหรับระดับตัวจังหวัด....อาจจะยาก.......
    ถ้ารัฐบาลตัดสินใจเอา รถราง (ทำด้วยคนไทย) ลงใต้ดิน เพื่อใช้แทนบัส ลดเรื่องจราจรบนถนน.....คิดว่าเราจะใช้ ระบบนี้ อย่างน้อย 30 ปี.............
    ถ้าระบบ monorail ใต้ดิน ........ถ้าเป็นไปได้ ทันที.......เหมือนจะเฉพาะ กรุงเทพและปริมณฑล........แต่เหมือนดูแล้ว monorail ทำไมเหมือนจะสร้างง่ายกว่าแบบราง ???

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      รัฐทำเรื่อง ถังบำบัดน้ำเสีย ถังบำบัดน้ำทิ้ง คือรัฐทำจำหน่าย แบบไม่หวังผลกำไร อันนี้ดีมาก ทำแบบคุณภาพเหมือนของญี่ปุ่น จัดตั้งหน่วยงานรัฐที่ดูแลเรื่องการเติมจุลินทรีย์

    • @arpsri9675
      @arpsri9675 ปีที่แล้ว

      เราจะได้โครงสร้างสถาปัตยกรรมสาธารณะที่ดีและสะดวกขนาดไหน ถ้ารัฐทำเรื่องผลิต ลิฟท์ กับ บันไดเลื่อน ???

  • @K.Sang-Eng
    @K.Sang-Eng ปีที่แล้ว +2

    พอถามถึงสัดส่วนงบประมาณที่จ่ายบุคลากรของไทยเทียบกับประเทศอื่น
    ถึงกับตอบไม่ได้ เพราะไม่กล้าตอบรึเปล่านะ… 😅

    • @woody_0
      @woody_0 ปีที่แล้ว

      ภาษากายน่าจะตอบไม่ได้จริง คงต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมครับ

    • @dum5855
      @dum5855 ปีที่แล้ว

      ท่านมีตำแหน่ง ผอ.สำนักงบประมาณ ถ้าไม่มีข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนท่านย่อมไม่สามารถตอบโดยใช้การคาดเดา

    • @K.Sang-Eng
      @K.Sang-Eng ปีที่แล้ว

      ส่วนตัวแล้ว คิดว่าตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงผู้คุมงบประมาณแผ่นดินไทย ควรมีความรู้หรือข้อมูลงบประมาณของประเทศอื่นไว้ด้วย เพื่อเป็น1ในตัวชี้วัดสำหรับเปรียบเทียบประสิทธิของการบริหารงบประมาณบ้านเรา

  • @abch9896
    @abch9896 ปีที่แล้ว

    ท่านผู้อำนวจการ พูดไม่ชัด ฟังยาก

  • @บอยบอย-พ4ฝ
    @บอยบอย-พ4ฝ ปีที่แล้ว

    ทุกรั,ฐบาลต้องกู้ทำขาดดุลเพื่กระตุ้นเศร็ฐกิจเพืีอไม่ให่เศร็ฐกิจเสมอตัว

  • @kjnarathip3480
    @kjnarathip3480 ปีที่แล้ว +1

    เสียงท่านบู้บี้มาก

  • @DonSiri950
    @DonSiri950 ปีที่แล้ว +3

    คุณนุ่นขัดจังหวะมากไปครับ ควรพูดให้น้อยลง

  • @puuyaibaan
    @puuyaibaan ปีที่แล้ว +1

    เงินทอนเท่าไหร่คับ

    • @woody_0
      @woody_0 ปีที่แล้ว

      มีไหน

  • @pracha9399
    @pracha9399 ปีที่แล้ว +1

    บางพรรคที่เคยเป็นรัฐบาลมักจะปรับนั่นนี่อ้างเป็นนโยบายที่ได้ผ่านการเห็นชอบจากสภามาแล้วด้วยเสียงข้างมากคือต้องทำให้ได้ถ้าไม่ได้จะให้คนอื่นที่ทำได้มาทำ กลัวจังพวกไม่มีวินัยการเงืนการคลัง

    • @woody_0
      @woody_0 ปีที่แล้ว +1

      กลัวมากกับคำว่าประชานิยมครับ