เฉลย!!8ปี พญาแร้งให้น้ำ/พญาแล้งลักน้ำ พลังงานซ่อนเร้นที่เป็นตัวกำหนดความสำเร็จ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 14 มิ.ย. 2021
  • (ไม่ใช้การตะบันน้ำหรือ not using Ram pump) การทำงานของระบบจะต้องได้ นำน้ำจากที่ต่ำสู่ที่สูงเเละ ปริมาตรน้ำเข้า=ปริมาตรน้ำออก จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่มีการเสริมพลังงานเข้าไป ถือเป็นกฎที่ขัดแย้งไม่ได้ ซึ่งคลิปจะอธิบายว่าการทดลองแบบใดที่จะล้มเหลว และแบบใดที่จะประสบความสำเร็จ อะไรที่ทุกคนลืมไป!!
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 582

  • @Peach_Thepsingha_FB
    @Peach_Thepsingha_FB 2 ปีที่แล้ว +25

    หากคุณจะทำคลิปแบบนี้อีก ผมแนะนำให้เอาสีผสมอาหารไส่น้ำ เพื่อให้มองเห็นง่าย ต่อการทำคลิปนะครับ ทางบ้านก็เห็นชัดด้วย

  • @user-io6xq6qj4k
    @user-io6xq6qj4k 2 ปีที่แล้ว +19

    มันก็เป็นหลักวิทยาศาสตร์ ที่น้องน้องๆ เขาพยายามอธิบาย ให้เข้าใจ ชื่นชมการทำงาน ถึงจะมีอะไรผิดพลาดไปบ้าง เช่นการไหลเวียนของน้ำ มันจะมองไม่ค่อยเห็น แต่น้องๆ ก็พยายามอธิบาย ให้เห็นของหลักการ ทางวิทยาศาสตร์ ชื่นชมครับชื่นชม

    • @user-vf7cs9cz7z
      @user-vf7cs9cz7z ปีที่แล้ว +1

      คุณลักษณะนักวิทย์ครับ

  • @user-tf6jp2bf5e
    @user-tf6jp2bf5e 2 ปีที่แล้ว +23

    ผมเห็นคลิปปฏิเสธเรื่องนี้ส่วนใหญ่ระบบรั่ว ทำระบบมั่ว หรือเปิดน้ำออกเกินน้ำเข้าลมเลยสวนย้อน แต่คลิปนี้น่าจะทำระบบดีมากๆ สุดยอดครับ ถ้าถึงขั้นเปลี่ยนอุณหภูมิอากาศแล้วดูดและดันน้ำได้ ก็ถือว่าระบบสมบูรณ์ดีมากแล้ว ไม่รั่วแน่นอน
    ในระบบนอกจากทางเข้า-ออกของน้ำ จะต้องไม่มีทางเข้า-ออกอื่นๆของน้ำและอากาศ ถ้ารั่วนิดเดียวจบ จึงเป็นความยากของการทำระบบและการรักษาระบบในระยะยาวของถังเหล็กที่เป็นสนิมได้ และเป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จ และความล้มเหลว เลย
    ในคลิปอยากให้เพิ่มสมมติฐาน คือ
    1.จริงๆแล้วต้นคิด ใช้สมมติฐานหลัก ไปในเรื่อง แรงดันน้ำระหว่างที่น้ำเข้า-ออกแตกต่าง ซึ่งต้องต่างกันมากพอที่จะดึงน้ำขึ้นที่สูงได้ คำนวนตามสูตร แรงดันน้ำ ปริมาตร×ความสูง×แรงดึงดูดของโลก ที่ท่อดูดและตัวถัง ถึงปลายท่อ ระหว่างปลายท่อดูดและแรงไหลออก
    เมื่อใส่หัวกะโหลกที่ท่อดูดน้ำไม่ย้อนลง แรงดึงดูดของโลกก็เท่ากัน น่าจะได้สูตร
    ความต่างแรงดัน =(ปริมาตร1×ความสูง)-(ปริมาตร2×ความสูง2)-แรงอื่นๆที่มีผล
    เมื่อ 1 คือ ระบบหลัก และ 2 คือท่อดูด
    ระบบตัวถังแนวนอน จึงได้ผลต่างไม่มาก และอาจมีผลตามที่คลิปบอกจริงๆ หรือระดับปลายท่อเป็นกาลักน้ำไปด้วยต่ำกว่าต้นทาง
    2.ถ้าใช้ตัวถังแนวตั้งและใช้การใช้ขนาดท่อต่างกันมากจะมีผลต่อแรงที่เกิดขึ้นสูงมาก ระบบขนาดท่อต้องมีการศึกษาเรื่องขนาดและความยาวดีๆกว่านี้อีก ที่จะสัมพันธ์กับความสูง และขนาดของตัวถังหลักของระบบ
    3.ท่อยางจะมีแรงยืดหยุนสูงซับแรงอีกด้วย อยากเห็นหลอดแก้วหรือพลาสติกใส ซึ่งเสมือนจริง
    4.ในการจำลองขนาดเล็ก แรงที่เกิดขึ้น จะถูกแรงตึงผิวของท่อและแรงดึงดูดของโลก กลบผลต่างของแรงไปง่ายมาก คลิปที่ทำขนาดเล็กแบบนี้ส่วนใหญ่จะต้องกระตุ้นด้วยการดูดเพื่อให้ระบบเดินได้ก่อน รวมทั้งสัดส่วนความสูงและขนาด ในคลิป ยังไม่เสมือนจริงครับ เพราะสายยางค่อนข้างยาว ทั้ง 2 ด้าน เมื่อเทียบกับด้านดูดกับถัง 200 ลิตร ในคลิปนี้ก็เทียบกับการดูดน้ำขึ้นที่สูงเกือบ 10 เมตร จึงยากที่จะดูดน้ำขึ้นไปได้ รวมทั้งการใช้วาวล์ด้านบนกับหัวกะโหลก เทียบกันไม่ได้ เพราะวาวล์เปิดแล้วกันน้ำไหลย้อนกลับไม่ได้
    คนต้นคิด เขาพยายามอธิบายด้วยคำว่าสุญญากาศ ตามความเข้าใจของเขา ซึ่งจริงๆแล้ว คือ การที่ระบบมันจะต้องไม่รั่วนั่นแหละ ส่วนเรื่อง ผลต่างของแรง
    อยากให้คนทำคลิปลองพิสูจน์ ถังแนวตั้ง กับขนาดของท่อตามนี้ให้ดูสักหน่อยครับ โดยใช้ถังน้ำกินขนาด 20 ลิตร(ที่ยกใส่เครื่องทำน้ำเย็น แบบใสก็มี) แนวตั้ง ห้อย(เพื่อปรับเชือกดูความสูง)/วาง ที่ระดับ 2 เมตร ใช้ท่อ ครึ่งนิ้วในท่อดูดทำองศาสัก 45' เพื่อช่วยเรื่องลดแรง (น่าจะ มีผลตามทฤษฎีหรือแม้แต่ในเครื่องสูบน้ำก็ตามยังช่วยให้สูบน้ำได้ดีขึ้น) ดูด น้ำจากถังที่พื้น ท่อออกใช้ท่อใหญ่ก่อนสัก 10 ซม. แล้วลดเป็นท่อครึ่งนิ้วสัก 20 ซม. มีวาวปิด-เปิด ตัวนี้น่าจะตอบโจทย์ได้ ดูดน้ำได้สูงสัก เกินครึ่งเมตรขึ้นไป ปรับระดับ ทดลองสัดส่วนความสูง-ปริมาณน้ำ ได้ด้วย อยากให้ลองทำ ขนาดนี้ให้ดูกันหน่อย ขนาดทดลองเลยตัวนี้ ลงทุนพอเหมาะใช้งบไม่เยอะ
    ส่วนแนวตั้ง ถังน้ำมัน 200 ลิตร ขึ้นไป อยากให้ใช้ท่อดูดเข้า 1 นิ้ว(หรือนิ้วกว่าๆ เพราะแรงดูดสูงมาก ถังอาจบี้และความสูงในการดูดอาจต้องศึกษาอีกที หากดูดไม่ขึ้นถังก็บี้อีก) ท่อออก 3นิ้ว ส่วนปลายเปิดเท่าท่อดูดมีวาวล์เปิดไม่สุด(ชดเชยน้ำเข้า ที่เข้าไม่เต็มที่ด้วยมีหัวกะโหลก ไม่เช่นนั้นอากาศจะไหลย้อน หรือใช้ท่อเล็กกว่าไปเลยก็ได้ และต้องค่อยๆเปิดวาวล์เพื่อกระตุ้นให้ระบบค่อยๆเริ่มทำงานซึ่งจะไม่ทำให้อากาศสวนขึ้นไป) ปล่อยไหลลง อ่างเก็บเพื่อนำไปใช้อีกที
    หากศึกษาสำเร็จจึงจะได้ข้อมูลด้านขนาดและความสูงต่างๆ ในการใช้งานจริง จึงต้องคำนึงถึง ความสูงถังเก็บน้ำใช้งาน+ท่อปล่อยน้ำและระยะห่างจากถังน้ำใช้งาน+ความสูงตัวถัง+ความสูงของท่อดูดส่วนที่สูงกว่าถัง+ความต่างระดับของพื้นที่ในการผันน้ำของระบบกับถังเก็บ =ความสูงรวมในการดูดน้ำของท่อดูด

    • @user-wq7st6ld8c
      @user-wq7st6ld8c 2 ปีที่แล้ว

      คุณอธิบายเสริมได้ดีครับ..กาลักน้ำ..ใช้ได้ครับ..ทำได้ครับแต่ต้องมีความรู้เรื่องเทอโมไดนามิกส์..กลศาสตร์ของไหล เป็นเบื้องต้น.ส่วนเวลาและอุณภูมิมีผลไม่มากเท่าไร..สำคัญคือแรงน้ำ.ปริมาตรน้ำและทำให้เป็นระบบปิดไม่มีการรั่วไหลจริงๆสำเร็จ..ส่วนการลักน้ำความต่างศักยของน้ำก็ไม่ต้องใช้มากนักถ้ามากความแข็งแรงก็ต้องมากตามและมีองค์ประกอบอื่นๆก็ต้องมากขึ้นอีก..คร่าวๆๆครับ

    • @songkransanprom6245
      @songkransanprom6245 2 ปีที่แล้ว +1

      คนนี้รู้จริง

    • @KtIndy-ec8hs
      @KtIndy-ec8hs ปีที่แล้ว

      จนทุกวันนี้ไม่มีใครทำขายได้ วันนี้ผ่านมาหนึ่ง เขาเเละคุณทำสำเร็วใช้ได้หารือยัง มันผิดตั้งเเต่ทฤษฎี ปฏิบัติมันก็ผิดตาม เรื่องความต่างอุณหภูมินี้ตัดทิ้งในธรรมชาติอากศเย็นน้ำก็จะเย็นตามช้านิดหน่อย เรื่องใช่เเรงจากน้ำหนักน้ำก็โคตรมั่ว เเทนที่จะดึงน้ำเข้าถังซึ่งน้ำหนักกว่าอากาศ เเละน้ำกับอากาศมันคือสสารที่เปลี่ยนรู้ได้ สู้น้ำที่ปลายท่อออก เเบ่งทางให้อากาศไหลเข้าถังคนละครึ่งไม่ง่ายกว่าหรอ จะไปดูดน้ำเข้าถังที่ต้องใช้พลังมากทำไมธรรมชาติมีรูปเเบบหรือที่เราเรียกว่ากฏธรรมชาติอยู่

    • @KtIndy-ec8hs
      @KtIndy-ec8hs ปีที่แล้ว

      เเรงกิริยาเท่ากับปฏิกิริยา สสารเดียวกันในระดับความสูงเดียวกันจะถูกเเรงโน้มถ่วงกระทำเท่ากันทุกโมเลกุล จึงเกิดเรื่องที่เรรยกว่าระดับน้ำ

  • @thitiratdireksin4097
    @thitiratdireksin4097 2 ปีที่แล้ว +30

    อธิบายดีมากครับ และให้ เกรดA กับผู้ช่วยครับทั้ง2คนครับ ตั้งใจมากๆ และมีพี่ชายที่คอยแนะนำ อย่ามีเหตุผล

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว +6

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @domedome7313
    @domedome7313 2 ปีที่แล้ว +18

    ผมขอบคุณน้องมากๆเลยคับ..ผมเคยทำและเข้าใจ..แต่ผมไม่รุ้จะอธิบายยังไงให้คนอื่นเข้าใจ..ผมอยากให้นักวิชาการหลายๆคนได้ดูคลิปนี้ที่น้องๆทำ..เพราะมันคือหลักการจิงๆ..สุดท้าย..ขอบคุณน้องๆทุกคนมากๆ...ขอให้เก่งยิ่งๆขึ้นไป..ขอบคุณมากๆ...คับ

  • @suwanmuangsong7725
    @suwanmuangsong7725 2 ปีที่แล้ว +7

    ขอบคุณที่ทำคลิปนี้ละเอียดดีครับ แต่พูดเยอะไปก็ทำให้เข้าใจยากเช่นกัน

  • @user-pu4zk5lk6h
    @user-pu4zk5lk6h ปีที่แล้ว +1

    แนวคิดนี้ที่มีมานานมากแล้วครับ น่าจะร้อยปีขึ้นไป และเคยอ่านเจอ ในหนังสือ"ช่างอากาศ"พิมพ์เมื่อปี2508เดือนมีค.ท่านผู้นำเสนอความคิดให้คำแนะนำช่วยระบบด้วยการเสริมปั้มขนาดเล็ก จะประหยัดพลังงานขึ้นมาก แต่คุณอธิบายได้เข้าใจง่ายมาก ร่วมกับศัพท์เทคนิคเสริม ก็ทำให้ผู้ชมเข้าใจดีทุกคนครับ

  • @TheHinanchai
    @TheHinanchai 2 ปีที่แล้ว +2

    เยี่ยมเลย ตอนแรกก็คิดว่าขัดหลักฟิสิกส์ แต่จริงๆมันทำได้จริง แต่ไม่มีความคุ้มค่าที่จะทำเลย

  • @rung771
    @rung771 2 ปีที่แล้ว +11

    เป็นคริบที่ดีมาก สั่นสะเทือนวงการ พวกนักวิทย์และคนที่จบสูงที่ออกมาบอกว่าเป็นไปไม่ได้คงหง่ายเก๋งแน่ถ้ามาเห็นคริปนี้ แต่ถ้าอีโก้น่าจะเยอะ คงตระหงิดๆน่าดู คริปนี้ไข่ความกระจ่างได้สุดยอด เพราะคนส่วนใหญ่ไปติดคิดว่าต้องไหลเพราะแรงดูดโน้มถ่วง ไม่ได้คิดถึงศูนยากาสที่ดึงน้ำเข้าถัง และไม่ได้สร้างสมดุลสูญยากาสที่ทำให้น้ำไหลเข้าไหลออกได้แบบสมดุลจล ผู้คิดค้นพยาแร้งให้น้ำ(เข้าก็ไม่ได้บอกว่าพยาแร้งลักน้ำ แต่่คนก็ไปต่อสร้อยว่าลักน้ำ) ถ้าคนดูคลิปของเขาแล้ววิเคราะห์ดี จะเห็นเขายกเอาคุณสมบัติของน้ำ องค์ประกอบของน้ำ(H2O) ความดึงความดันและอากาศในถัง การทำฟุ๊ตวามให้สปริงอ่อนพอทำงานได้ การทำถังไม่ให้รั่ว แล้วมีเรื่องความยาวของท่อออก และการระวังไม่ให้อากาศย้อนกลับ และการตั้งชื่อว่าพยาแร้งให้น้ำก็มาจากหลักการทำงานด้วย

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +3

      👍ใช่เลยครับ..เห็นด้วยๆๆๆ👏👏

    • @jackep.1063
      @jackep.1063 ปีที่แล้ว

      ใครหงายเก๋งครับ มันใช้งานจริงไม่ได้เลย ต้องถึงกับราดด้วยน้ำเย็นถึงจะเห็นผลที่มันก็แค่ดูดน้ำขึ้นมาได้ในปริมาตรที่เล็กน้อยมาก คนที่เรียนวิชา fluid หรือ thermo มาเห็นเข้า เขารู้คำตอบได้โดยไม่ต้องคิดมากเลย
      ไม่ว่าจะเป็นระบบดูดน้ำเข้าถังจากการปล่อยน้ำใหลออก หรือดูดน้ำเข้าจากการลดอุณหภูมิในถังเพื่อให้เกิดแรงดูดจากการหดตัวของอากาศและน้ำในถัง ทั้งสองวิธีมัน”ใช้งานจริง”ไม่ได้ทั้งสิ้น

    • @metheekumruang252
      @metheekumruang252 11 หลายเดือนก่อน +2

      พี่ดูคนละคลิปกับผมหรือเปล่าครับ😅 น้องเจ้าของคลิปเขาอธิบายอยู่ว่าเกี่ยวกับการ หด-ขยาย ตัวของอากาศในถัง ไม่ได้เกี่ยวกับสูญญากาศ

    • @tititawatpongtawee4956
      @tititawatpongtawee4956 10 หลายเดือนก่อน

      มาทำให้บ้างค่ะ

    • @user-bd7xc1xp8g
      @user-bd7xc1xp8g 6 หลายเดือนก่อน

      สงสัยดูคลิปไม่จบ🤣🤣🤣

  • @Wilbur7662
    @Wilbur7662 2 ปีที่แล้ว +5

    สุดยอดทั้งสามคนเลย!!!!

  • @user-qo7so6rk9o
    @user-qo7so6rk9o ปีที่แล้ว +1

    ไม่ผิดหวังที่อุตส่าห์​ดูจนจบคลิป​ มีประโยชน์​ครับ​ขอบคุณ​🥰 ปล.ครอบครัว​น่ารักดี​ดูสนุก👍

  • @user-vu1le8pz8c
    @user-vu1le8pz8c ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้มากเลยครับ ขอบคุณครับ
    (เเต่ถ้าเพิ่มสีผสมอาหารลงไปในน้ำ น่าจะทำให้มองเห็นการไหลของระบบได้ดีขึ้นนะครับ)

  • @dilokbunnag4266
    @dilokbunnag4266 2 ปีที่แล้ว +1

    อธิบายเข้าใจดีจริงๆครับ

  • @ngimbangbuatong2838
    @ngimbangbuatong2838 2 ปีที่แล้ว +22

    ถ้าเด็กๆอยากรู้อยากทดลองแบบนี้ ประเทศเราคงมี นวัตกรรมใหม่ๆเพิ่มอีกเยอะเลย

    • @user-bn1uc6nx9x
      @user-bn1uc6nx9x 2 ปีที่แล้ว +1

      เด็กไม่ได้ไปเรียน กระทอมปลดล็อคแล้ว

  • @boltdragon9006
    @boltdragon9006 2 ปีที่แล้ว

    ถ้าใส่สีไปในน้ำจะดีมาก ภาพรวมนำเสนอได้ดีมาก เยี่ยมมากครับ

  • @user-lu4gw8gp8r
    @user-lu4gw8gp8r 2 ปีที่แล้ว +36

    มันก็ผิดหลักการของพญาแล้งรดน้ำซิครับ เพราะหลักการของเขาที่อธิบายคือ น้ำออกท่อขนาดใหญ่กว่า จำนวนน้ำจึงมากกว่า=หนักกว่าท่อทางเข้าที่มีขนาดเล็ก ซึ่งมีน้ำหนักน้อยกว่าจะถูกดึงมาลงถังทดแทนน้ำที่ใหลออกทางท่อใหญ่
    ระบบที่คุณทำว่าใช้ได้ด้วยความต่างของอุณหภูมินั้นมีคนคิดทำได้มาแล้วเป็นร้อยปี มันคือระบบเครื่องยนต์สเตอร์ริง แต่ต้องใช้พลังงานความร้อนเป็นต้นกำลัง ประสิทธิภาพมันต่ำมากจึงไม่เป็นที่นิยมใช้ ถ้าจะสร้างเครื่องที่ทำงาน1กลวัตรใน1วัน ค่าก่อสร้างกับประสิทธิผลที่ได้ มันไม่คุ้มค่าอย่างมหาศาล

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +5

      หลักการที่ว่า ของเขา คือของใครครับ?!..ผมว่าน้องเขาอธิบายด้วยเหตุและผล (ได้อย่างชัดเจนแล้วนะครับ)

    • @teeratajkingkantrakool9044
      @teeratajkingkantrakool9044 ปีที่แล้ว +1

      แรงดันที่ระดับความสูงของน้ำหากมีระดับความสูงเท่ากันแรงดันจะเท่ากันไม่เกี่ยวว่าท่อเล็กท่อใหญ่ (หาความรู้เพิ่มเติมได้จาก กลศาสตร์ของไหลครับ

    • @ggcc1325
      @ggcc1325 ปีที่แล้ว

      @@teeratajkingkantrakool9044 โง่บรมโง่

  • @user-yu5zm6kc4i
    @user-yu5zm6kc4i 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับ.ขอบคุณควารู้ดีฯ.ครอบครัวน่ารักมากครับ

  • @tomwatsan
    @tomwatsan 2 ปีที่แล้ว +5

    มีความพยายามดี ถูกผิดช่างมัน ขอให้ทำ
    ทำต่อไป ยิ่งบ่อยยิ่งรู้
    ดีกว่าไปเล่นเกมส์
    มีแบบพวกหนูเยอะๆ
    อาคิดว่าชาติเจริญกว่านี้แน่นอน

  • @user-qq7ox5ju4h
    @user-qq7ox5ju4h 2 ปีที่แล้ว +13

    คุณคือผู้ให้ความรู้ ความกระจ่างดีมากครับ หากผมไม่เจอคลิปนี้ ผมจะยังเข้าใจว่า พญาแร้งฯ เป็นเรื่องหลอกลวงอยู่ต่อไป ขอบคุณคลิปดีๆแบบนี้ ขอบคุณน้องทั้งสามคน อยากให้ใครหลายๆคน ได้ดูอย่างผมบ้าง ขอบคุณอีกครั้งครับ

    • @santikansuwan9183
      @santikansuwan9183 2 ปีที่แล้ว

      th-cam.com/video/X7Rm0hG-ziE/w-d-xo.html

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +1

      มีหลายคนมาก..ที่ชอบพูดว่าลวงโลก (ทั้งๆที่ยังไม่ได้พิสูจน์ทุกแง่มุม)

    • @KtIndy-ec8hs
      @KtIndy-ec8hs ปีที่แล้ว +1

      @@t2t789 ลวงโลก ในธรรมชาติอุณหภูมิที่จะทำให้อากาศในถังเย็นจนดูดน้ำขึ้นได้ อุณหภูมิน้ำก็เย็นตามไปเเล้ว... อุณหภูมิน้ำที่เขาเอามาเทใส่ขวดนั้นคุณว่าอุณหภูมิเท่าไร นั้นน้ำที่เเช่น้ำเเข็งเลยน่ะ

    • @arthinanboonsod9847
      @arthinanboonsod9847 11 หลายเดือนก่อน +1

      @@KtIndy-ec8hs เหตุผลของคุณถูกต้องในทางธรรมชาติอุณภูมิไม่ได้เย็นและสูงขนาดนั้นและไม่ได้ร้อนเย็นตัดกันในระยะสั้นๆ มันเป็นไปไม่ได้ในวิธีทางธรรมชาติ นอกจากเราจะหาวิธีสร้างกลไกโกงธรรมชาติโดยทางธรรมชาติ

    • @KtIndy-ec8hs
      @KtIndy-ec8hs 11 หลายเดือนก่อน

      @@arthinanboonsod9847 คำว่าโกงธรรมชาติหมายถึงอะไร... โกงหมายถึงไม่ทำตามข้อตกลง ทำนอกเหนือจากกติกา ซึ่งทุกอย่างในจักรวาลนี้ไม่ว่าคนจะทำอะไรหรือคิดค้นอะไรเเละสร้างมันขึ้นมาได้มันก็เพราะกฏของจักวาลทั้งหมด เราไม่สามารถทำอะไรที่ผิดกฏหรือธรรมชาติของจักรวาลได้ เเม้เเต่สิ่งที่คนสร้างขึ้นมาทุกอย่างนั้นก็ล้วนเป็นธรรมชาติของจักวาล การจะทำให้สสารเคลื่อนที่ได้ต้องทำให้สมดุลของสสารนั้นเสียไป ที่เราเรียกมันว่าพลังงาน

  • @user-ux2re3rb5x
    @user-ux2re3rb5x 2 ปีที่แล้ว +2

    ออกแบบการทดลองได้ดีเลยครับ เพิ่มเติมการคำนวณปริมาณน้ำที่ได้จริงจากกฎการอนุรักษ์พลัง โดยสโคปถ้าใช้ถัง200l จำนวน1ถังโดยอ้างอิงจากอุณหภมิความแตกต่างมากที่สุดตามสถิติ ให้เห็นความคุ้มค่าที่แท้จริงจะดีมากเลยครับ

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ🙏🏼😊

  • @user-ze5zc4tw2q
    @user-ze5zc4tw2q 2 ปีที่แล้ว

    ถ้าตามหลักการนี้มีทางเป็นไปได้ครับ ดีมากเลยครับ

  • @CHAIKRIT101
    @CHAIKRIT101 2 ปีที่แล้ว

    เป็นทีมงานที่น่ารักมาก

  • @pranomphaipong2153
    @pranomphaipong2153 2 ปีที่แล้ว

    ชื่นชมคนทำคลิปครับกระจ่างเสียที

  • @user-vm7lt3vp2f
    @user-vm7lt3vp2f 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมาก ที่พยายามทำให้เข้าใจ

  • @tinnakonkheowree
    @tinnakonkheowree 2 ปีที่แล้ว +1

    มีสมการ คำนวณได้ทุกจุด

  • @langmaew1583
    @langmaew1583 7 หลายเดือนก่อน

    ขอชื่นชม​น้อง​ๆที่​มี​ความ​คิด​สร้างสรรค์​

  • @user-jn7jk1hn2s
    @user-jn7jk1hn2s 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณสาระความรู้ครับ

  • @user-by4vl9iw7e
    @user-by4vl9iw7e 2 ปีที่แล้ว

    แม๋อธิบายจนเคลิ่มเลย. มีคู่มือด้วย .นักวิชาการ.ดีๆๆคับ

  • @user-jm1rz7om2x
    @user-jm1rz7om2x 2 ปีที่แล้ว

    ชัดเจนไปเลยสุดยอด

  • @jundangconstucchoin
    @jundangconstucchoin 2 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจขึ้นมากครับดีมากครับ

  • @snoopydogxx1
    @snoopydogxx1 2 ปีที่แล้ว +2

    ผมชอบครับ อย่างน้อยก็ได้ทดลอง ตั้งสมมุติฐาน ทดลอง แล้วสรุปผล ชัดเจนดีครับแต่การอธิบายบางครั้งก็ งง บ้างแต่ก็กล้าแสดงออกครับ ขอบคุณสำหรับการนำเสนอครับ

  • @coffeedeecafe8314
    @coffeedeecafe8314 2 ปีที่แล้ว

    นับถือ และชื่นชมน้องๆ ครับ

  • @PalmTiamsanit
    @PalmTiamsanit 2 ปีที่แล้ว +31

    อีกอย่างคือ ผมเห็นการเข้าใจผิด เรียกหลายๆอย่างว่าสูญญากาศ ถ้าท่านไม่อยู่ในอวกาศ หรือใช้ vacuum pump (แบบเดียวกับใช้ในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศก็ได้) แล้วรันไว้นานสัก 30 นาที มันก็ไม่ใกล้เคียงสูญญากาศเลยครับ กำลังที่ต้องใช้ในการเอาปริมาณอนุภาคอากาศออกมาจากท่อหรือถังให้เกือบหมด เพื่อให้เป็นสูญญากาศ มันใช้กำลังเยอะมากครับ ถังเหล็กบางทั่วไปไม่มีทางคงสภาพได้ จริงๆเรียกว่าแค่ความดันต่ำดีกว่า สูญญากาศในอุดมคติ จะดูดน้ำเปล่าที่ระดับความสูงของพื้นที่ทดลองนั้นๆที่ค่าเฉลี่ยระดับน้ำทะเลได้แค่ 10.33 เมตร เท่านั้น (ให้ประมาณความดันอากาศภายนอกคือ 1Atm) ดังนั้นหากเทียบง่ายๆ ไม่มีใครใช้สูญญากาศเพียวๆในการดูดน้ำส่งขึ้นไปสูงได้อย่างไม่จำกัดได้ ต้องมีความดันจากอีกฝากเข้าช่วย

    • @suwanmuangsong7725
      @suwanmuangsong7725 2 ปีที่แล้ว +4

      อย่าอะไรมากเลยครับ คำที่ใช้ผมเชื่อว่าพูดเพื่อให้เข้าใจง่ายไม่ต้องถูกต้องขนาดนั้น วัตถุประสงค์ก็ให้เป็นประโยชน์ต่อคนทั่วไป

    • @channel-ll5ro
      @channel-ll5ro 2 ปีที่แล้ว +1

      คุณ ยังอธิบายให้คนอื่นเข้าใจไม่ได้เลย รู้มาก ก้ไม่ใช่ว่าจะดีไปทั้งหมด จริงมั้ย ดูตัวอย่าง ☝️☝️☝️

    • @PalmTiamsanit
      @PalmTiamsanit 2 ปีที่แล้ว +13

      ตรงนี้เป็นข้อมูลเสริม ฝั่งข้อเท็จจริง เพื่อให้คนที่ไม่รู้จะได้ไม่หลงครับ ปัจจุบันมีคนพูดอนุมานอย่างง่ายเกือบ100%ในทุกคลิป ซึ่งห่างความจริงไปเรื่อยๆ สิ่งที่อันตรายที่สุดสำหรับมนุษย์ที่หนักกว่าความไม่รู้ ก็คือการรู้แบบผิด รู้ผิด นานๆไปก็กลายเป็นเชื่อว่า ผิดๆนั้นเป็นถูก ถูกๆนั้นเป็นผิด ไม่ได้คาดหวังให้ทุกคนต้องเข้าใจครับ ผมคาดหวังแค่คน10%เข้าใจครับ ต้องขออภัยเป็นอย่างสูง

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +2

      @@PalmTiamsanit อย่าเป็นห่วงใคร หรือเป็นอะไรจนเกินไปครับ..
      👉ปล่อยให้ทุกคนได้เรียนรู้ ได้พิสูจน์ผิดถูกด้วยตนเอง (ดีที่สุดครับ)

    • @champit1017
      @champit1017 ปีที่แล้ว +1

      พระพุทธองค์กล่าวว่า ความไม่รู้คือความโง่เขลา จงแบ่งปันความรู้แด่ผู้อื่นด้วยใจบริสุทธิ ถือว่าได้ทำความดีต่อสังคมแล้วครับ

  • @chaimonkkoltawongsa3252
    @chaimonkkoltawongsa3252 2 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดมากครับ

  • @Hippie.420
    @Hippie.420 2 ปีที่แล้ว +1

    คนทำดูทำไม่เป็น แต่คนเม้นนี่อย่างเซียน 🤣🤣
    ดูคลิปนี้มาสองรอบแล้ว ผู้ช่วยเจ๋งมากครับ

  • @YouTube.pojchana
    @YouTube.pojchana 2 ปีที่แล้ว

    ชอบคุณที่ไขข้อข้องใจ ผมลองทำอยู่นานมาก ขนน้ำกันหอบแอกๆเลยคับ ไม่สำเร็จคับ

  • @yuthtasakthongsud9564
    @yuthtasakthongsud9564 2 ปีที่แล้ว

    ขอชื่นชมจากใจครับ

  • @user-xs8et5od3u
    @user-xs8et5od3u ปีที่แล้ว +1

    ปกติไม่ค่อยคอมเม้น แต่ทำคลิปออกมา ถือว่าให้ความรู้ได้ดีครับ เป็นกำลังใจให้ครับ

  • @inphone490
    @inphone490 2 ปีที่แล้ว

    เก่งมากจ้าาสุดๆไปเลย

  • @user-ym1cf4xj3d
    @user-ym1cf4xj3d 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับ เก่ง น่ารักจังเลย สามพี่น้อง

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @potter178
    @potter178 2 ปีที่แล้ว

    ชัดเจนคัฟ สุดยอดคัฟ

  • @SIAMNEXT
    @SIAMNEXT 2 ปีที่แล้ว +2

    เยี่ยมจริงๆ
    เยี่ยมจริงๆ
    เยี่ยมจริงๆ
    มีสมมุติฐาน พิสูจน์ และทำซ้ำได้

  • @suwanmuangsong7725
    @suwanmuangsong7725 2 ปีที่แล้ว +2

    ทำคลิปดีมากครับเป็นประโยชน์ แต่ผมมีความคิดหรือเห็นต่างเรื่องอากาศที่อยู่ข้างในควรจะมีน้อยที่สุดหรือไม่มีเลยน่าจะดีกว่า เพราะแรงดึงไม่น่าจะมาจากการหดหรือขยายตัวของอากาศภายในถังแต่เกิดจากการแทนที่ของมวลน้ำ ผมคิดว่าหลักการณ์คือห้ามให้มีอากาศเข้าได้ไม่ว่าจะทางใดๆก็ตาม ดั้งนั้นการนำน้ำในถังไปรดผักรดต้นไม้อาจจะทำให้อากาศไหลย้อนเข้าไปได้ วัตถุประสงค์ของพญาลักน้ำน่าจะดูดน้ำในคลองที่ต่ำขึ้นมาใส่ในบ่อเพราะปลายสายท่อน้ำจะจุ่มลงในบ่อซึ่งจะไม่ก่อให้เกิดการไหลเข้าของอากาศ ทั้งนี้ทั้งนั้นเป็นแค่ข้อสมมุติฐาน ถ้าจะดีหากจะทำคลิปการทดลองนี้ให้ได้ดูอีกครั้งครับเพราะมีอุปกรณ์อยู่แล้ว โดยเติมน้ำให้เต็มขวดแก้วแล้วสายยางจุ่มในถังให้ปลายจมน้ำทั้ง2ด้านแล้วน้ำจะไหลต่อเนื่องไม่สิ้นสุดหรือป่าว

    • @user-gc1pw3se3t
      @user-gc1pw3se3t 2 ปีที่แล้ว +1

      ครับเห็นด้วย

  • @user-cv9fg8bq7x
    @user-cv9fg8bq7x 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมมากค่ะ

  • @pure1447
    @pure1447 7 หลายเดือนก่อน

    เก่งมากครับ

  • @user-vz4jz7tw3p
    @user-vz4jz7tw3p 2 ปีที่แล้ว

    ถูกต้อง เยี่ยมมากครับ

  • @susa3812
    @susa3812 2 ปีที่แล้ว +28

    ใส่น้ำให้เต็มไม่ให้มีอากาศในระบบ ปล่อยน้ำออกส่วนล่างแทงค์ (ที่ต่อท่อน้ำออกที่สูงกว่าแหล่งน้ำเข้า)จะเกิดแรงดูดที่ท่อส่วนบน(ที่ต่อน้ำเข้าจากแหล่งน้ำที่ต่ำ)เข้ามาแทนที่ ไม่ใช้หลักการอุณหภูมิต่างกันนะครับ มันเป็นเรื่องน้ำหนักน้ำในแทงค์เป็นตัวดึงน้ำจากที่ต่ำไปที่สูงด้วนแรงโน้มถ่วงและสัดส่วนท่อน้ำเข้าออกที่เหมาะสมกับการรเกิดแรงดันดูดอัดในแทงค์นะครับ

    • @user-bt3mn4sm4h
      @user-bt3mn4sm4h ปีที่แล้ว

      มีคนเคยทำได้จริงมั้ยครับ ผมภาวนาขอให้มันใช้ได้จริงๆ

    • @user-bt3mn4sm4h
      @user-bt3mn4sm4h ปีที่แล้ว

      ผมก็คิดแบบนั้นเหมือนกันครับ

    • @worawitpraking1931
      @worawitpraking1931 ปีที่แล้ว

      คู้​คู้​

    • @tongmeeprom9968
      @tongmeeprom9968 ปีที่แล้ว

      ผมเห็น​ด้วยกับคุณ

    • @KtIndy-ec8hs
      @KtIndy-ec8hs ปีที่แล้ว

      สมดุลของเเรงธรรมชาติ เรื่องพญาเเล้งลักนำมันใช่ไม่ได้ เพราะทฤษฎีมันมั้ว

  • @paraminneranon5577
    @paraminneranon5577 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมครับ ขอบคุณครับ

  • @Mrmaidumex
    @Mrmaidumex ปีที่แล้ว

    แง่ๆ คลิปนี้ อธิบายดีมากเลยครับ เข้าใจง่าย ชัดเจน แต่คลิปนี้จะเป็นการดับฝันของผมไหมนะ พอดีซื้อของมาเตรียมทดลองบ้างแล้ว แต่ยังตะหงิดๆ นิดนึง ตรงแรงดันจากน้ำหนักของน้ำที่พอมีปริมาตรระดับหนึ่ง จะไม่พอที่จะดึงน้ำได้อย่างต่อเนื่องเลยหรอ ถ้าได้ผลยังไง ถ้าไม่ลืมจะมาอัพเดทอีกที

    • @thargyiukyawkhin
      @thargyiukyawkhin ปีที่แล้ว

      อย่าเสียเวลาเเละเงินครับ ถ้าปากท้อออกสูงกว่าน้ำเข้า ไม่ไหลแน่นอนคับ จิงๆแล้วถังๆถึงๆนั้นไม่ต้องมีก้อได้ ด้วยความวางดีนะคับ

  • @pichitthak853
    @pichitthak853 2 ปีที่แล้ว +6

    ผมสงสัยมานานแล้วว่ามันใช้หลักการอะไร
    กระจ่างสักที ขอบคุณครับ

  • @joebaygon4455
    @joebaygon4455 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมจริงๆ ๆ ๆ 😁

  • @SongchaiSaowakon
    @SongchaiSaowakon 2 ปีที่แล้ว

    คลิปบ้านๆ วิชาการเยอะมากครับ น่ารักดีครับ ขอเสนอแนะเรื่องคำทับศัพท์เยอะครับ ชาวบ้านอาจจะไม่เข้าใจหลายคำ เอาไป 9/10 ครับ

  • @user-wt9my3ww1i
    @user-wt9my3ww1i 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดครับ

  • @user-qn8pm1nq4h
    @user-qn8pm1nq4h ปีที่แล้ว

    ชัดเจน ขอบคุณครับ

  • @nikonkuama5700
    @nikonkuama5700 ปีที่แล้ว

    ดีมากครับเฉลยได้ดีมาก

  • @user-wk7do6zk4o
    @user-wk7do6zk4o 2 ปีที่แล้ว

    มีแนะนำเริ่ม
    คลิปเกี่ยวกับ
    ไม่สวมแมวเพราะอะไร?ด้วย น่ารักมากคะ

  • @ARTcomGG
    @ARTcomGG 2 ปีที่แล้ว

    ชอบมากครับผมจะได้เอาไปปรับใช้ในนา

  • @temujinmongkol1332
    @temujinmongkol1332 2 ปีที่แล้ว

    เก่งครับ...

  • @kamonkumton3168
    @kamonkumton3168 2 ปีที่แล้ว

    นึกถึงประโยคหนึ่ง วิชาของท่านฝึกยากแต่ทำลายง่าย

  • @aovfriedchicken3943
    @aovfriedchicken3943 2 ปีที่แล้ว +2

    สุดยอดเลยครับ ผมก็คิดอยู่นานว่าพญาแล้งให้น้ำทำงานได้ยังไง ลืมนึกถึงอุณหภูมิที่แตกต่างระหว่างกลางวันและกลางคืนเลย ขอบคุณครับ

    • @songkransanprom6245
      @songkransanprom6245 2 ปีที่แล้ว +1

      กาลักน้ำอุณหภูมิไม่มีผลครับมีแค่ความต่างระหว่างด้านดูดกับด้านอก

  • @user-bc3xf8xd9w
    @user-bc3xf8xd9w 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณ​ครับ​

  • @natthapolthongkhundan2932
    @natthapolthongkhundan2932 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากๆ ครับ

  • @Art20.30
    @Art20.30 2 ปีที่แล้ว

    เพื่อนใหม่มาชมสุดยอดเลยครับ

  • @asiatanawat2924
    @asiatanawat2924 2 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดครับ...ผ่านๆๆ

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @imoid.hangout
    @imoid.hangout 2 ปีที่แล้ว +16

    ผมว่าเป็นเรื่องของ"กฏการแทนที่"ต่างหาก/ น.นของน้ำในถังกดตัวมันเองออกไปปลายท่อ >เมื่อนำ้ไหลออกตัวถังมันสูญเสียแรงดัน มันจึงดูดน้ำใหม่เข้ามาแทนที่ แต่มันจะไม่ดูดน้ำจากท่อออกกลับเข้ามาโดยมีเงื่อนไขคือ..ท่อออกต้องยาวกว่า และใหญ่กว่าท่อดูด( ท่อใหญ่แล้วลดขนาดท่อลงเรื่อยๆจนมีขนาด"เท่ากับท่อดูด"ที่ปลายทาง) เพื่อให้มีมวลในท่อออกมากพอที่จะไม่ถูกกลับ
    *** ในการทำงานของเครื่องต้นแบบ มันจะดูดและปล่อยน้ำสลับกันตลอดเวลา ไม่ใช่วันละรอบเหมือนอธิบายในคลิปครับ.

    • @user-jn6eo5bm8r
      @user-jn6eo5bm8r 2 ปีที่แล้ว +1

      มันจะเกิดขึ้นแบบนี้ได้เหรอ

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +1

      ต้นแบบที่ไหนครับ..ผมเห็นคนส่วนใหญ่ออกมาคัดค้านว่า “ลวงโลก มันเป็นไปไม่ได้”

    • @user-vf7cs9cz7z
      @user-vf7cs9cz7z ปีที่แล้ว

      แล้วจะรู้ได้อย่างไรละ ถ้าไม่ทำการทดลองดู ที่อธิบายสมเหตุสมผลคนับน่าศึกษาต่อไป

    • @user-zb1wy1iv9h
      @user-zb1wy1iv9h ปีที่แล้ว

      ผมเห็นด้วยครับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่ค่อยมีคนส่งเสริมให้ทำหรอกครับ เสียการตลาด

  • @user-nz9pc4uw4o
    @user-nz9pc4uw4o 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดไอเดีย ครับน้อง

  • @pixaozfiver2302
    @pixaozfiver2302 11 หลายเดือนก่อน

    ตอนทำให้ขวดเย็น ถ้าใช้น้ำผสมน้ำแข็งวัดอุณหภูมิให้ได้ 22 องศา แล้วจับขวดลงไปแช่ ให้อุณหภูมิของน้ำและอากาศค่อย ๆ ลดลง
    น่าจะทำให้ดูง่ายขึ้นและดูเหมือนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงเวลาอากาศเย็นลงในตอนกลางคืน ขอบคุณสำหรับการทดลองครับ

  • @omgman91
    @omgman91 21 วันที่ผ่านมา

    นับถือในความพยายามครับ ❤❤❤

  • @SomkidSaelee
    @SomkidSaelee 2 ปีที่แล้ว +26

    ใส่สีในน้ำด้วยจะดีมากเลย

  • @somssak2449
    @somssak2449 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอด​

  • @somjedphonsup2874
    @somjedphonsup2874 2 ปีที่แล้ว +8

    ต้องขอขอบคุณน้องทั้ง3มากเลยไม่งั้นหมดเยอะเหมือนกัน ไงก็ต้องเอาโซล่าเซลดีกว่าขอบคุณนะครับ แก้โจทย์ปัญหาอย่างนี้ต่อๆไปนะครับ

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ🙏🏼

  • @user-vf7cs9cz7z
    @user-vf7cs9cz7z ปีที่แล้ว

    ชื่นชมผู้ค้นคว้าครับ ได้หรือไม่น่าสงสัย

  • @Pafu33
    @Pafu33 2 ปีที่แล้ว +5

    เมื่อ 6 ปีที่แล้ว หมดไปเกือบ 8000 ลองผิดลองถูกทีแรกคิดว่าปลายสายเล็กไปสั้นไป ซื้อมาใหม่อีใหญ่ขึ้นยาวขึ้น หมดเกื่อบ8000 จริงๆ เมียต่อว่ายับ ขอบคุณท่านเจ้าของคนคิดค้นหลักการนี้ขึ้นมาเป็นคนเเรก ที่ท่านทำให้ผมเข้าใจจริงๆว่า มันเป็นไปไม่ใด้ ขายฝัน ขอบคุณนอ้งๆที่ทำคริบให้ชม พี่ดูจนจบเลย

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

    • @TomJerryArkaM
      @TomJerryArkaM 2 ปีที่แล้ว +2

      ครูที่ รร. ก็ให้เด็กทำ ทำกันทุกร่น ยังไม่มีรุ่นไหนทำสำเร็จ ป่านนี้ครูคนนั้นมันจะรู้หรือยังว่ามันก็แค่ พญาแร้งลวงโลก

    • @user-iy6oj6xj2r
      @user-iy6oj6xj2r 2 ปีที่แล้ว

      8000 ซื้อแผ่นโซล่าเซลล์1แผง ปั้มน้ำ12โวล์ 1"ได้ ได้น้ำมากกว่าพยาแล้งมากมาย

    • @suthachanadd2133
      @suthachanadd2133 2 ปีที่แล้ว +1

      เขาขายถังเป็นขบวนการ

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +1

      @@user-iy6oj6xj2r ✅💓น้องเขากำลังพิสูจน์ และไขข้อข้องใจ
      อธิบายที่มาที่ไป อย่างมีเหตุผล
      ซึ่งหลายๆคนมาชักชอบพูดว่า..
      มันเป็นไม่ได้ มันไม่จริง เป็นการลวงโลก
      👉ส่วนใช้แบบไหน คุ้มหรือไม่คุ้ม ถูกแพง
      (มันคนละประเด็นกันนะครับ)

  • @mossmodify3667
    @mossmodify3667 2 ปีที่แล้ว

    แจ๋วครับ ชอบๆ

  • @user-jn6eo5bm8r
    @user-jn6eo5bm8r 2 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณที่ไขข้อข้องใจ..ตอนแรกคิดไปอีกอย่าง คิดว่าน้ำในถังเวลาเปิดข้างล่างความหนักจะถ่วงดึงเอาน้ำจากแหล่งน้ำที่ต่ำกว่าขึ้นมาแทน ซึ่งก้ยังแย้งอยุ่ในใจว่าเป็นไปไม่ได้ พอมาดูคลิบนี้กลายเป็นว่าเป็นเรื่องของการขยายตัวหดตัวของอากาศเมื่ออุณหภมิเปลี่ยนไปโดยดึงน้ำมาแทนที่

    • @user-os8vd4lh1f
      @user-os8vd4lh1f 3 หลายเดือนก่อน

      ผมเคยทำมาแล้วแต่ไม่สำเร็จน้ำมันไหลออกสักพักมันก็หยุดก็คิดว่าม้นไม่ดูดแต่ก็ไม่ได้ทิ้งไว้ตอนกลางคืนที่อุณภูมิอากาศต่ำ...คลิบของคุณมีประโยชน์มากครับทำให้ผมได้เข้าใจของหลักการนี้ขอขอบคุณมากครับ

  • @user-bk2eq6qx9r
    @user-bk2eq6qx9r 2 ปีที่แล้ว +5

    หลักการที่แสดงนี้มันก็ใช่ครับ แต่ปริมาณน้ำที่มันจะดูดน้ำเข้าไปในถังได้ มันก็แค่ไม่กี่ลิตร จะกี่ลิตรก็คำนวณเอาว่าปริมาตรของอากาศในถังทั้งหมดขณะที่อากาศขยายตัวเต็มที่ ลบด้วยปริมาตรของอากาศที่หดตัวเต็มที่แล้ว ถ้าใช้ถัง 1,000 ลิตร เมื่ออากาศหดตัวเต็มที่ มันจะได้ซักกี่ลิตรครับ

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @ChalermchaiNamkrachai
    @ChalermchaiNamkrachai 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมครับ

  • @narongpluemsati6178
    @narongpluemsati6178 2 ปีที่แล้ว +3

    พี่ขอบคุณน้อง ๆ มากครับ
    พี่เชื่อมาตลอดว่ามันทำงานได้ และไม่ใช่มหกรรมลวงโลก การได้มาเห็นการสาธิต
    ที่น้อง ๆ ทำ มันดีมาก ๆ
    เลยครับ ประเทศเราจะเจริญอีกเยอะ ท่ามีคนอย่างพวกน้อง ๆ ครับ อ้อ การนอนถังจะทำให้ผิวถังสัมผัสกับแดดได้เยอะกว่าแนวตั้ง และควรทาถังด้วยสีดำ เพราะสีดำจะไว้ต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิครับ

    • @santikansuwan9183
      @santikansuwan9183 2 ปีที่แล้ว

      th-cam.com/video/X7Rm0hG-ziE/w-d-xo.html

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว +1

      💕ผมอีก 1 คนครับที่เชื่อว่ามันเป็นไปได้..
      👉น้องเขาอธิบายได้ดีมาก (มีเหตุมีผล มีที่มาที่ไป)

    • @user-gy6ji9ku8n
      @user-gy6ji9ku8n 4 หลายเดือนก่อน

      ทำใด้ยัง😂😂😂😂😂

  • @daddyhero4670
    @daddyhero4670 2 ปีที่แล้ว +4

    ส่วนตัวขอบคุณในความพยายาม แต่อย่าลืมว่า เวลามันเย็น มันเย็นทั้ง ระบบ ทั้งสถานที่ แม่น้ำ ในถัง จนไม่เกิดความต่างครับ อย่างที่บอกในคลิป ยาก แต่ก็ขึ้นได้ และผลลัพธ์ไม่ดี ขอบคุณที่ พิสูจน์ครับ

    • @navylamp2581
      @navylamp2581 2 ปีที่แล้ว

      ตามคลิป ปิดวาล์วขาออกอากาศในถังหดดูดน้ำขึ้นเช้ามาไปปิดวาล์วขาเข้าอากาศขยายเปิดน้ำขาออกก็ไหลครับบ

    • @pramottachachu9572
      @pramottachachu9572 2 ปีที่แล้ว

      @@navylamp2581 หลักการนี้เป็นไปไม่ได้เลยที่จะเอาไปใช้ อากาศมันหดขยายไม่เยอะ ดูดน้ำขึ้นมาแทนที่อากาศนิดเดียวก็หยุดแล้ว

  • @adulkongpechsak1086
    @adulkongpechsak1086 2 ปีที่แล้ว +5

    ความดันภายนอกมันเท่ากับความความดันในขวด น้ำจึงไม่ค่อยไหลเข้า ตราบใดที่ยังไม่เปิดน้ำออกจากขวด เพื่อลดความดันในขวดน้ำจะไม่ค่อยไหลเข้า

  • @pronpirujjunpong8881
    @pronpirujjunpong8881 2 ปีที่แล้ว +1

    ดีมากครับ

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @veestatus1116
    @veestatus1116 2 ปีที่แล้ว +1

    Hi keep up the good work..

  • @ikkyu.9770
    @ikkyu.9770 2 ปีที่แล้ว +6

    ตามแบบที่เขาให้ไว้คือน้ำขาออก ท่อจะต้องใหญ่แล้วยาวกว่าท่อน้ำเข้าครับ มันถึงจะมีแรงฉุดน้ำดึงขึ้นตามที่ คนประดิษฐ์เขาทำไว้ การทดลองนี้ยังจำลองไม่ตรงตามแบบที่เขาทำต้นแบบไว้ แบบทดลองในคลิปนี้จึงยังไม่เครียร์ข้อกังขาครับ

    • @t2t789
      @t2t789 ปีที่แล้ว

      ตามที่เขาให้ไว้..เขาคือใคร ครับ
      👉แล้วที่เขาให้ไว้มันใช่ได้ผลไหมครับ..
      👉ถ้ามันไม่ได้ผล ก็อย่าไปเอามาอ้างอิงเลย
      👉น้องเขาอธิบายได้อย่างชัดเจนแล้วนะ

    • @user-ht6th6oz8q
      @user-ht6th6oz8q ปีที่แล้ว

      ท่อส่วนปลายน้ำหรือท่อส่วนหน่วงน้ำใหญ่กว่าท่อส่วนต้นน้ำ แล้วปริมาณน้ำเข้ามันจะทันน้ำออกเหรอครับ

    • @user-vf7cs9cz7z
      @user-vf7cs9cz7z ปีที่แล้ว +3

      วิธีให้น้ำจากท่อดูดเข้าท่อเล็กและท่อขาออกต้องใหญ่และยาวกว่านั้นมีวิธีปรับให้เท่ากันได้โดยปลายท่อขาออกปรับลดข้อให้เท่ากับท่อขาเข้าครับ

  • @peedtech.9115
    @peedtech.9115 2 ปีที่แล้ว +9

    ใช้โซล่าเซล หรือกังหันลม ปี๊มตีวเล็กๆ ทำงานตลอดสูบน้ำเข้าถังพัก สบายกว่าเยอะ

  • @prasrajingam2804
    @prasrajingam2804 2 ปีที่แล้ว +7

    ถ้าใช้ถังแบบ200lก็ได้น้ำต่อวันแค่ครั้งเดียวเท่านั้นเอง แต่พยานาคเขาว่าได้ทั้งวันทั้งงคืนคนละหลักการ

  • @user-sy4yy8pg7f
    @user-sy4yy8pg7f 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมยอด

  • @user-iy1gj2hc1g
    @user-iy1gj2hc1g 2 ปีที่แล้ว

    ผมเห็นด้วยกับ
    ถาวร บุญพิทักษ์ น้องไปทำการบ้านมาใหม่ พูดเหมือนสมาคมวิศวกรรมปรับอากาศเลย ไปทำการบ้านมาใหม่นะน้อง ลองเอามวลน้ำใหญ่กระชากดึงน้ำเล็กลองดู

  • @user-oe1re3cu7f
    @user-oe1re3cu7f 2 ปีที่แล้ว +5

    เป็นมหากาพย์อีกเรื่องนึง​ ที่อยู่ในสังคมไทยไปอีกนาน.. แต่ถ้าฝรั่งคงมองข้ามไปแล้ว.. เพราะมันเป็นไปไม่ได้.. ที่จะนำน้ำจากที่ต่ำขึ้นที่สูง.. โดยกลไกธรรมชาติ..ไร้พลังงานใดๆมากระทำเพิ่ม..
    แต่คนไทยส่วนใหญ่เรายังล้าหลังในเรื่ององค์ความรู้เหล่านี้​ เรายัง​อยู่ในช่วงเรียนรู้และสงสัย.. จึงยังอยากทดลองกันต่อไป​ คนที่เคยสงสัย​ และเข้าใจได้แล้วก็จะก้าวข้ามไป.. ส่วนคนที่พึ่งผ่านมาเจอใหม่ก็จะสงสัยและเชื่อว่าทำได้.. แล้วจึงอยากทดลองทำให้
    เสียทุน​เสียเวลา​ สุดท้ายเสียใจ.. ในที่สุดจึงก้าวข้าม.. อย่างเข้าใจ.. วนลูป อยุ่เช่นนี้อีกนานแสนนาน..
    ปล.จากใจ​คนถือกล้อง​ถ่ายคลิปของต้นตำหรับ.. และเคยเชื่อมาก่อน..ท่านที่ยังสงสัย
    ทดสอบกันต่อไป​ เพื่อให้หายสงสัย​แล้วจึงก้าวข้ามอย่างเข้าใจ.. อย่างน้อยเราก็ได้เรียนรู้..จนเข้าใจ

    • @user-pe6lp8oo2z
      @user-pe6lp8oo2z 2 ปีที่แล้ว +2

      คุณให้ความเห็นได้ตรงใจผมมาก ผมก็คนนึงที่ทดลองแล้ว ยังดีที่หาทำแค่โมเดลเล็กๆ และมีโอกาสได้เห็นคนแถวบ้านทำก็ล้มเหลวเช่นกัน ผมเคยลองน้ำแรงจากน้ำที่ตกลงมาไปทำให้กังหันหมุนและกังหันไปทำให้ปั๊มหมุนตีน้ำกลับขึ้นไป สุดท้ายล้มเหลว อาจจะด้วยความรู้เรื่องกลไกผมน้อย ถ้าเป็นคนที่คำนวนเป็นวิธีที่ผมลองคิดลองทำเล่นๆนี้อาจจะเป็นไปได้ แต่ถ้าหลักการเดิมของพยาแร้งผมก็คิดเช่นเดียวกันกับคุณ ห้ามไม่ได้ก็ต้องปล่อยให้ลองเรียนรู้กันไป

    • @user-ce5je7gj9y
      @user-ce5je7gj9y 2 ปีที่แล้ว +1

      อธิบายเยิ่นเย้อ เข้าใจยาก.

    • @user-fi5yd6qb2z
      @user-fi5yd6qb2z 2 ปีที่แล้ว +3

      ทางสมาคมวิศวกร​รมปรับอากาศ​แห่ง​ประเทศ​ไท​ยก็ออกมายืนยันแล้วว่ามันเป็นไปไม่ใด้ที่จะ.ลำพูนกับเชืยงใหม่ก็โดนดำเนินคดีในข้อหาหลอกลวงประชาชนและนำข้อมูลอันเป็นเท็จเข้าสู่ระบบคอม​พิวเตอร์​คริปนี้ก็อีกคงไม่นานครับเสียตังค์​แถมเสียประวัติอีก

    • @user-oe1re3cu7f
      @user-oe1re3cu7f 2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-ce5je7gj9y ระดับความรุ้ความเข้าใจของคนแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกันครับ.. ถ้าคนที่รับสารและคนที่สื่อสาร.. มีความรุ้ในเรื่องนั้นๆใกล้เคียงกันก็จะเข้าใจกัน.. องค์ความรุ้ในโลกใบนี้มีมากมาย​ ค่อยเรียนรุ้และศึกษากันไปครับ.. แล้วเราจะเข้าใจมากขึ้น.. ขอแค่เปิดใจกว้าง..

    • @chanokchonsripuri9586
      @chanokchonsripuri9586 2 ปีที่แล้ว +1

      แล้ว "ตะบันน้ำละ

  • @pongpongpingping9088
    @pongpongpingping9088 2 ปีที่แล้ว +16

    ลองแล้วครับ น้ำที่ออกมา คือน้ำที่เราเติมแหละ ความต่างระดับน้ำในบ่อดูดมีผลนะครับ ไม่ใช่ได้เสมอ ตัวแปลมีเยอะ ครับ ที่บอกท่อทางน้ำออกใหญ่กว่าทางน้ำเข้า ไหลออกพักนึง (น้ำแทนที่ไม่ทัน) แล้วลมสวนเข้าปลายท่อ

    • @songkransanprom6245
      @songkransanprom6245 2 ปีที่แล้ว

      ปลายท่อด้านออกต้องทำเป็นข้องอไม่ให้ลมย้อนกลับได้ครับ

    • @user-lu4gw8gp8r
      @user-lu4gw8gp8r 2 ปีที่แล้ว +1

      ไม่ใช่ใหลเข้าไม่ทัน มันไม่ใหลเข้าเลยครับ ถังมันหดตัวเพราะเเรงดันของบรรญากาศภายนอกถังมันกด ถ้าถังไม่บี้ซะก่อน มันจะมีจุดหนึ่งที่ถังรับแรงกดภายนอกได้ก็จะหยุดหดตัว น้ำก็จะหยุดใหลพร้อมกับในถังที่มีแรงดันเป็นลบ ที่พร้อมจะดึงน้ำหรืออากาศจากทุกทางที่ดึงเข้ามาแทนที่ได้ โดยเลือกจากระดับน้ำที่ตื่นที่สุด ก็คือทางออก แต่ถ้าติดที่ระบบที่ทำใว้เเข็งแรงพอ น้ำอากาศใหลย้อนกลับไม่ได้ ไม่มีรูรั่วซึมเลย มันก็จะหยุดใหลด้วยสภาพแรงดันสมดุลของทางเข้าและทางออก

    • @Hope-ro5ow
      @Hope-ro5ow 2 ปีที่แล้ว

      มีคณะวิทยาศาสตร์ ม. อะไรจำไม่ได้สรุปไว้ลองไปหาดูครับมีการกำหนดตัวแปรที่แน่นอน

    • @pramottachachu9572
      @pramottachachu9572 2 ปีที่แล้ว

      ท่อน้ำออกขนาดใหญ่ต้องลดขนาดที่ปลายท่อลงให้เท่าหรือน้อยกว่าท่อน้ำเข้า

  • @anuwatnualsri8011
    @anuwatnualsri8011 2 ปีที่แล้ว +1

    ครอบครัวน่ารักมากครับ ดูไปอมยิ้มไปด้วย

  • @kbinjas7377
    @kbinjas7377 2 ปีที่แล้ว +1

    กล้ามาก เก่งมาก น้องๆของเนติวิทย์

    • @junejanetwins2139
      @junejanetwins2139  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼

  • @user-vi2fo9rj9b
    @user-vi2fo9rj9b 2 ปีที่แล้ว +1

    ออกความเห็นครับผมดูคลิปพญาแร้งลักนำ้มานานแล้วเพราะเป็นช่างประปาถ้ามีโอกาสจะทำใช้กับระบบการเกษตรตอนนี้กำลังจะไปปลูกต้นไม้ช่วงโควิดระบาดพอดี ผมจะออกความเห็นของระบบพญาแร้งลักนำ้ คือว่าระบบนี้คนที่ค้นคิดเป็นคนแรกๆเข้าใจว่าจะต้องใช้ปริมาตรนำ้ที่ทางออกให้มากกว่าปริมาตรของนำ้ทางเข้า ซึ่งไม่น่าจะไช่การใช้ปริมาตรของอากาศมาบังคับการการไหลของนำ้ ซึ่งระบบนี้จะต้องออกแบบของถังเฮดเดอร์ให้มีความจุของนำ้ให้มากกว่าปริมาตรทางด้านดูดนำ้เข้าอย่างน้อยก็สองเท่าเพราะเวลาเปิดนำ้ไปใช้นำ้ออกเท่าไหรนำ้ก็จะเข้ามาแทนที่เท่านั้น
    หลักการนี้ที่สำคัญก็คือจะต้องไม่มีจุดรั่วซึมเป็นอันขาดถ้ามีระบบก็ทำงานไม่ได้หรือต้องมาดูระดับนำ้ในถังเฮดเดอร์อยู่บ่อยๆถ้านำ้ลดลงไปก็ต้องเติ่มนำ้ให้ ใครที่ทำแล้วนำ้ไม่ไหลก็แสดงว่าระบบที่ทำมีจุดรั่วซึมจุดใดจุดหนึ่งแน่ๆครับ

  • @user-fj8vf9zl9j
    @user-fj8vf9zl9j 2 ปีที่แล้ว +1

    ยังใช้จริงไม่น่าจะได้ เพราะนํ้าจะเข้าไปแทนที่ตอนอากาศหดตัวในตอนกลางคืนที่ใช้เวลามากและอุณหภูมิที่ไม่แน่นอน นํ้าที่ได้จะถึง1ลิตร รึเปล่า(ถ้าใช้ถัง200ลิตร)และจะเห็นผลดีน่าจะตอนอุณหภูมิ5-10องศา ถ้าน้อยกว่านี้คงจะเป็นนํ้าแข็งนํ้าก็จะขยายตัวอีก แต่ผมชอบน้องต่อยอดได้ดี

  • @foxavatar1646
    @foxavatar1646 2 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดดดด

  • @MrPhantecnic
    @MrPhantecnic 2 ปีที่แล้ว

    มันดูดได้จริงครับ ถ้าข้างในขวดเป็นสูญญากาศมากพอ มันจะดึงน้ำขึ้นมาจนข้างในขวดมีแรงดันอากาศใกล้เคียงภายนอกขวด
    แต่มันใช้เป็นระบบสูบน้ำไม่ได้ครับ เราไม่สามสารถเพิ่มสูญญากาศภายในขวดให้ชนะแรงดันภายนอกขวดได้ โดยที่เราจะต้องเปิดวาวล์จ่ายน้ำ เพราะอากาศจะดันเข้าทางวาวล์จ่ายไปในขวด อากาศเบากว่าน้ำสูญญากาศจะดึงอากาศเข้าแทนการดึงน้ำขึ้นมาในขวดหากเราเปิดวาวล์จ่ายน้ำ

  • @user-ut9ji8te6x
    @user-ut9ji8te6x 2 ปีที่แล้ว +1

    เข้าใจไนหลักการ เรื่องอุณหภูมิ แต่แรงดูดเกิดจากความเย็น ที่มดลอง มันใช้น้ำแข็งลาดเลยนะครับ แต่ไนธรรมชาติ จะได้อุณภูมิเย็นขนาดนี้ได้ไหม การทดลอง ควรมีการพิสูตให้แน่ชัด ว่าอุณหภูมิทีจะเกิดแรงดูดที่อุณหภูมิที่เท่าไหร่ และสัมพันกับระดับน้ำที่เท่าไหร่ อิงจากอุณหภูมิไนความเป็นจริงจากธรรมชาติมีความเป็นไปได้ไหม แต่บ้านเราผมคิดว่าควรหาประโยชต์จากความร้อนจะเหมาะกว่า แต่ถึงอย่าไร ก็ให้ความรู้ระดับหนึ่ง ให้กำลังใจน้องๆนะครับ ทำต่อไป เป็นประโยชต์ต่อการพัฒนาครับ..

  • @TheUncleNa
    @TheUncleNa 2 ปีที่แล้ว

    แจ๋ว ซตพ.👍💝

  • @nilenile9793
    @nilenile9793 2 ปีที่แล้ว

    ผู้ช่วยน่ารัก

  • @jojokujojo
    @jojokujojo ปีที่แล้ว

    แล้ววิทยากรเป็นใครครับ มีช่องทางให้ติดตามอีกไหม

  • @madjo23s
    @madjo23s 2 ปีที่แล้ว

    นับถือ ความพยายาม, วิเศษมากครับ ชาวบ้าน ทั่วๆไป เข้าใจ ได้ง่าย
    ใคร ทำ เกษตร น้ำหยด วิธีนี้ น่าสนใจ มาก ช่วยลดต้นทุน ลงทุน ได้ดีมาก ครับ