Clip

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 31 ม.ค. 2022
  • ภิกขุปาฏิโมกข์ ทำนองมคธ
    ท่ามกลางสงฆ์ ๒๐ รูป ณ อุโบสถ วัดมัชฌันติการาม
    อุโบสถที่ ๕ แห่งฤดูหนาว ปักข์ถ้วน
    #พระมหาสมเกียรติ
    #สวดปาติโมกข์
    #วัดมัชฌันติการาม
    ---------------------------------
    ช่องทางติดตาม
    Facebook : / skyanasuddho
    TH-cam : / @yanasuddho
    TikTok : / skyanasuddho

ความคิดเห็น • 10

  • @user-bw1ux9cc7z
    @user-bw1ux9cc7z ปีที่แล้ว +1

    น้อมกราบสาธุๆๆเจ้าค่ะ

  • @user-jo1st7xr5x
    @user-jo1st7xr5x 2 ปีที่แล้ว +4

    รอติดตามตลอดครับอาจาร🥰🙏🙏

  • @ratanadat431
    @ratanadat431 ปีที่แล้ว +1

    สาธุสาธุสาธุครับ

  • @user-vi2uc4ry3i
    @user-vi2uc4ry3i ปีที่แล้ว +1

    สาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะ

  • @usasuwanpangphan7682
    @usasuwanpangphan7682 2 ปีที่แล้ว +2

    สาธุเจ้าค่ะ

  • @sathapornyoosomboon752
    @sathapornyoosomboon752 2 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ อนุโมทามิ

  • @user-mk9yb8cg8b
    @user-mk9yb8cg8b 2 ปีที่แล้ว +1

    เก่งครับ,สาธุสาธุสาธุครับ

  • @pra9310
    @pra9310 ปีที่แล้ว

    สอบถามคับคือว่าท่า 15 ค่ำ แต่เป็นปักข์ขาด เวลาสวดใช้ จาตุททโส หรือ ปัญณรโส เพราะอะไร ข้อที่ 2 ท่า 14 หรือ 15 ค่ำ ท่าเลือนไปสวด 1 ค่ำ ต้อง ใช้ จาตุทท หรือ ปัญณรโส เพราะอะไร มี พระฝากถาม คับ

    • @yanasuddho
      @yanasuddho  ปีที่แล้ว

      ตอนสวดไม่ได้ใช้ค่ำแรมในปฏิทินปกติ แต่ใช้การนับคำนวนปักขคณนาของคณะธรรมยุต หากวันนั้นเป็นปักข์ทีเต็มก็จะเป็น ปัณณรโส หากเป็นปักข์ที่ขาด ก็ใช้ จาตุททโส เช่น ตัวอย่างแรก วันที่ ๘ พย ๖๕ ตรงกับ ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ แต่ปักข์ที่คำนวนได้เป็นปักข์ขาด ก็ใช้ จาตุททโส ตัวอย่างที่ ๒ วันที่ ๒๒ ธค ๖๕ เป็นวันพระ ตรงกับ ๑๔ ค่ำเดือน ๑ แต่การสวดปาฏิโมกข์ตามแบบธรรมยุตจะเลื่อนไปวันที่ ๒๓ ธค ๖๕ ซึ่งเป็น ๑ คำเดือน ๒ วันนั้นเป็นปักข์ถ้วน จึงใช้คำว่า ปัณณรโส

    • @pra9310
      @pra9310 ปีที่แล้ว

      @@yanasuddho ขอบคุณค้าบ อาจารย์ พอดีมีพระองค์หนึ่งเขาสวดปฏิโมกข์ได้ แต่ไม่แน่ใจว่า ท่า ปักข์ ขาด สวดยังไง ผมนึกขึ้นได้ ว่า เดี๋ยวถาม พระอาจารย์มหา ให้ ที นี้ได้ คำตอบแล้ว ค้าบ โอกาส หน้า ท่าติดตรงไหนค่อยมาถาม .อ.มหา ใหม่ครับ