ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ปลาร้ามีอยู่ทั่วไทยคนพูดเสียงเหน่อก็กินปลาร้ามานานเช่น คนสุพรรณ คนสิงบุรี คนจังหวัดกาญ
คนเหนือกะกินเน้อคับ
ปลาล้าต้นกำเนิดจากชาวเรา กัมพูชาครับ ค่อยๆขยายแทรกไปลาว พม่าไทย เวียดนาม ตอนไต้ของจีนเกาหลี มาเลเซีย บรูไนอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์สิงคโปร์จ้าทุกคน ภูมิใจในภูมิปัญญาของเขมร
โทษที่นะครับ ปลาร้าเป็นวัฒนธรรมอาหารในแถบลุ่มแม่น้ำในอุษาคะเนย์ ไม่ได้กำเนิดจากเขมร จำใส่สมองน้อย ๆ ของคุณไว้ครับ..
สวีเดนก็มีปลาเหน่ากระป๋องขาย...
👍
มักฟังมากๆครับ
ต้นกำเหนีดมาจากลาวทีมาเป็นเชลยถูกจับในสมัยสู้รบมาแต่ล้านช้างแล้วกะนำมาเผยแพร่ในแถบเมืองอิสานติดรีมขอบแม่น้ำโขงที่คนลาวยังมียู่ในเมืองไทยเมืงสยาม..เช่นสูเนีน..สีคิ้ว..โคราช..สระบุรี..ลพบุรี..สุพรรณบุรี..ลงมาถึงเพรชบุรี..นครประถม..ลงมาสู่อิสานเหนืออิสานใต้เมืองอุบลราชธานี..เมืองสกล..เมืองมุกดาหาร..เมืองร้อยเอ็ด..😊
แซบบหลายครับขอสูตรแหน่ครับ
ปลาแดกที่ทำจากปลาลุ่มน้ำสงครามอร่อยมากและหมักไว้2-3ปีกินดิบไม่เป็นพยาธิใบไม้ตับปลาที่ลุ่มน้ำสงครามจะอร่อยเพราะมีเอือดเกลือแค่ปิ้งปลาขาวสร้อยก็อร่อยแล้วอาหารอีสานบางเมนูไม่ใส่ปลาแดกเช่น ลาบ ก้อยเนื้อ ลาบหมู ต้มไก่หากใส่จะออกกลิ่นขี้ไก้โป่แต่ต้มไก่ซั่วต้องใส่เมนูที่ไม่ใส่ปลาร้าแล้วไม่อร่อยเช่นแกงหน่อไม้ แกงหวาย ตำหมากหุ่ง หรือตำผลไม้อื่นที่อีสานตำผลไม้ได้หลายเมนู เช่นตำ หมากหุ่ง หมากแตง หมากถั่ว หมากต้อง หมากค้อ หมากเก็น หมากม่วง หมากขามอ่อน หมากขามแป หมากงิ้ว ตำหมากทุเรียนยังไม่เคยได้ยิน ใครเคยตำกินแล้วอร่อยไหม
🙏👍👍👍👍
ปลาร้าขอแชวแอดมินไว้ว่ามีมาแต่สมัยในน้ำมีปลาในนามีข้าวอิสานมีเกลือมาพร้อมกับการปลูกข้าว😂😂
ใช่นะ แถวบ้าน สมัยกอ่นต้มเกลือใช้เอง ทุกปีหลังเกี่ยวข้าวเสร็จ หน้าฝนปลาขึ้นก็ไปทำโต่ง ดักปลา มาทำปลาร้า..
ผมขอให้ความเห็นเรื่องปลาแดกครับ: ที่ว่าปลาแดกมาจากคำว่า“ปลาแหลก” เพราะเสียง “ล” มาเป็นเสียง “ด“ ผมมีความเห็นว่า ตอนเป็นเด็ก(ตอนนี้อายุ 75 ครับ) ผมจำได้ว่าชาวบ้านผมซึ่งเป็นไทพวนเขาทำปลาแดกโดยนำปลามาเคล้าเกลือเนื่องจากมีปลาจำนวนมากจึงใช้เรือกีบ ภาษาไทยกลางไม่ทราบใช้คำอะไร โดยเอาปลาเทลงในเรือกีบใส่เกลือแล้วใช้ไม้พายแดกไปแดกมาแล้วจึงนำไปบรรจุลงไห และอีกวิธีหนึ่งผสมในครกกระเดื่องตำจึงชื่อว่า ”ปลาแดกปลาตำ“ ผมจำได้แน่นอน หน้าเดือน 11-12 น้ำลดลงจากห้วยหนองจึงจับปลาได้จำนวนมากครับ
ขอยคุณที่ร่วมอัปเดตข้อมูลครับผม นับเป็นอีกกรรมวิธี และภูมิปัญญาจากท้องถิ่นจริงๆ
แถวบ้านต่ำ👍ใส่ครก
คาบ
คงจริงตามแอด ใบบุญ พูด ปลาแดก ต้นตำหรับ มาจากสวีเดน เพราะเคยกินปลาแดก ที่สวีเดน ยังงงอยู่เลย ว่าบ้านเขาทำปลาแดก แบบไทยก็เป็น แต่กลิ่นเหม็นมาก เปิดกระป๋องออกมาแมงวัน ไม่รู้มาแต่ที่ไดเขาใส่เกลือน้อยมาก ไม่ใส่ รำข้าวคั่ว. เขาหมักกินกับขนมปัง กับมันฝรั่งต้ม .แต่ไทยคงมาดักแปลง ผสมรำข้าวคั่ว และใส่เกลือพอเหมาะจึงอร่อย ..
ที่สวีเดนก็มีคนไทยอยู่ที่นั่นนานแล้ว มีขุมชนที่เป็นหลักฐานบ้านเรือนแบบชาวไทยอยู่เป็นเวลาหลายร้อยปีมาจนถึงปัจจุบัน
ปัจจุบัน คนอิสาณ มีอยู่ทุกจังหวัด ในอดีต แถว จว.เพชรบุรี /ราชบุรี /สุพรรณบุรี /กาญจนบุรี /อ่างทอง /สิงหบุรี ฯลฯ บรรพบุรุษ มาจาก เวียตนาม ลาว แต่ ลูก หลาน กลายเป็นไทยไปแล้ว ครับ
ลาว เขมร ยังทำปลาแดก ไม่เป็นเลย เพราะรู้จักคนลาว เขมรเขา เรียนรู้จากไทย
😮
❤🎉😮
ยังมีอีกหลายเขตแถบลุ่มแม่น้ำอิสานที่บรรพบุรุษอิสานได้มาจากชาตตระกูลที่คนลาวนำมาเผยแพร่..ให้ชนชาตอิสานได้รู้จักการเก็บอาหารไว้กินในยามฤดูน้ำลากเก็บปลาไว้กิน..มาแต่นั้นหลายร้อยปี..
รู้จักคน ลาว เขมร เขาทำปลาแดกไม่เป็น แม้แต่ส้มปลาจอ่ม เคยสั่งเขาหามาให้ชิม ดู
ແດກແປວ່າ: ຍັດຫລືຕຳເຂົ້າກັນ.
กินปลาแดกเกือบซุมื่อถือว่าขาดบ่ได่สำหรับใซ่ปรุงอาหารคับ
❤ ( ขออภัย ต่อความบกพร่อง ระบบส่ง) คะรับ
ພາສາກົກເຄົ້າແລະຄຳສັບພາສາລາວທີ່ໄຊ້ກັນມາເປັນເວລາຫລາຍພັນປີ ກໍ່ຄື ຄຳວ່າ ກູ ມຶງ.ຄຳສັບນີ້ ຖືກໄຊເອີ້ນກັນທຸກຊົນຊັນ ບໍ່ວ່າຈະເປັນລູກໄຊ້ເອີ້ນພໍ່ແມ່ ພໍ່ແມ່ໄຊ້ກັບລູກ.ຕໍ່ມາເມືອມີຊົນຊັ້ນການປົກຄອງເກີດຂື້ນ.ຈຶ່ງມີຄຳສັບພາສາ ລາຊາສັບເກີດຂື້ນມາໃໝ່ເພື່ອໄຊ້ເອີ້ນຊົ້ນຊັ້ນປົກຄອງແບບຣາຊາມີການແບ່ງແຍ້ກຊົນຊັ້ນຄົນແລະຮາກສັບພາສາເກີດຂື້ນ.ສ່ວນຄຳວ່າ ຂ້າ ເອງ.ແມ່ນຄຳສັບພາສາ.ຂອງຊົນຊາດສະຫຍາມຫລືຄົນໄທໃນປັດຈຸບັນ.ສ່ວນປາແດກ ນັ້ນແມ່ນກຸ່ມຊົນຊາດອ້າຍລາວ ນຳໄປເຜີຍແຜ່.ໄຫ້ກຸ່ມຊົນຊາດອື່ນໄດ້ກິນນຳ.ຄົນສະຫຍາມຍຸກບູຮານເຂົາບໍ່ກິນປາແດກ ຄົນທາງຊຽງໃໝ່ລ້ານນາເຂົາບໍ່ກິນປາແດກກັນດອກໃນຍຸກບູຮານ ມີແຕ່ຊົນຊາດອ້າຍລາວນີລະ ເອົາໄປເຜີຍແຜ່
ขาดปลาร้ากับข้าวจะไม่อร่อยปรุงแกงอ่อมแกงลาว❤
ปลาร้ามีอยู่ทั่วไทยคนพูดเสียงเหน่อก็กินปลาร้ามานานเช่น คนสุพรรณ คนสิงบุรี คนจังหวัดกาญ
คนเหนือกะกินเน้อคับ
ปลาล้าต้นกำเนิดจากชาวเรา กัมพูชาครับ ค่อยๆขยายแทรกไปลาว พม่าไทย เวียดนาม ตอนไต้ของจีนเกาหลี มาเลเซีย บรูไนอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์สิงคโปร์จ้าทุกคน ภูมิใจในภูมิปัญญาของเขมร
โทษที่นะครับ ปลาร้าเป็นวัฒนธรรมอาหารในแถบลุ่มแม่น้ำในอุษาคะเนย์ ไม่ได้กำเนิดจากเขมร จำใส่สมองน้อย ๆ ของคุณไว้ครับ..
สวีเดนก็มีปลาเหน่ากระป๋องขาย...
👍
มักฟังมากๆครับ
ต้นกำเหนีดมาจากลาวทีมาเป็นเชลยถูกจับในสมัยสู้รบมาแต่ล้านช้างแล้วกะนำมาเผยแพร่ในแถบเมืองอิสานติดรีมขอบแม่น้ำโขงที่คนลาวยังมียู่ในเมืองไทยเมืงสยาม..เช่นสูเนีน..สีคิ้ว..โคราช..สระบุรี..ลพบุรี..สุพรรณบุรี..ลงมาถึงเพรชบุรี..นครประถม..ลงมาสู่อิสานเหนืออิสานใต้เมืองอุบลราชธานี..เมืองสกล..เมืองมุกดาหาร..เมืองร้อยเอ็ด..😊
แซบบหลายครับขอสูตรแหน่ครับ
ปลาแดกที่ทำจากปลาลุ่มน้ำสงครามอร่อยมากและหมักไว้2-3ปีกินดิบไม่เป็นพยาธิใบไม้ตับ
ปลาที่ลุ่มน้ำสงครามจะอร่อยเพราะมีเอือดเกลือแค่ปิ้งปลาขาวสร้อยก็อร่อยแล้ว
อาหารอีสานบางเมนูไม่ใส่ปลาแดกเช่น ลาบ ก้อยเนื้อ ลาบหมู ต้มไก่หากใส่จะออกกลิ่นขี้ไก้โป่แต่ต้มไก่ซั่วต้องใส่
เมนูที่ไม่ใส่ปลาร้าแล้วไม่อร่อยเช่นแกงหน่อไม้ แกงหวาย ตำหมากหุ่ง หรือตำผลไม้อื่น
ที่อีสานตำผลไม้ได้หลายเมนู เช่นตำ หมากหุ่ง หมากแตง หมากถั่ว หมากต้อง หมากค้อ หมากเก็น หมากม่วง หมากขามอ่อน หมากขามแป หมากงิ้ว ตำหมากทุเรียนยังไม่เคยได้ยิน ใครเคยตำกินแล้วอร่อยไหม
🙏👍👍👍👍
ปลาร้าขอแชวแอดมินไว้ว่ามีมาแต่สมัยในน้ำมีปลา
ในนามีข้าวอิสานมีเกลือมาพร้อมกับการปลูกข้าว😂😂
ใช่นะ แถวบ้าน สมัยกอ่นต้มเกลือใช้เอง ทุกปีหลังเกี่ยวข้าวเสร็จ หน้าฝนปลาขึ้นก็ไปทำโต่ง ดักปลา มาทำปลาร้า..
ผมขอให้ความเห็นเรื่องปลาแดกครับ: ที่ว่าปลาแดกมาจากคำว่า“ปลาแหลก” เพราะเสียง “ล” มาเป็นเสียง “ด“ ผมมีความเห็นว่า ตอนเป็นเด็ก(ตอนนี้อายุ 75 ครับ) ผมจำได้ว่าชาวบ้านผมซึ่งเป็นไทพวนเขาทำปลาแดกโดยนำปลามาเคล้าเกลือเนื่องจากมีปลาจำนวนมากจึงใช้เรือกีบ ภาษาไทยกลางไม่ทราบใช้คำอะไร โดยเอาปลาเทลงในเรือกีบใส่เกลือแล้วใช้ไม้พายแดกไปแดกมาแล้วจึงนำไปบรรจุลงไห และอีกวิธีหนึ่งผสมในครกกระเดื่องตำจึงชื่อว่า ”ปลาแดกปลาตำ“ ผมจำได้แน่นอน หน้าเดือน 11-12 น้ำลดลงจากห้วยหนองจึงจับปลาได้จำนวนมากครับ
ขอยคุณที่ร่วมอัปเดตข้อมูลครับผม นับเป็นอีกกรรมวิธี และภูมิปัญญาจากท้องถิ่นจริงๆ
แถวบ้านต่ำ👍ใส่ครก
คาบ
คงจริงตามแอด ใบบุญ พูด ปลาแดก ต้นตำหรับ มาจากสวีเดน เพราะเคยกินปลาแดก ที่สวีเดน ยังงงอยู่เลย ว่าบ้านเขาทำปลาแดก แบบไทยก็เป็น แต่กลิ่นเหม็นมาก เปิดกระป๋องออกมาแมงวัน ไม่รู้มาแต่ที่ไดเขาใส่เกลือน้อยมาก ไม่ใส่ รำข้าวคั่ว. เขาหมักกินกับขนมปัง กับมันฝรั่งต้ม .แต่ไทยคงมาดักแปลง ผสมรำข้าวคั่ว และใส่เกลือพอเหมาะจึงอร่อย ..
ที่สวีเดนก็มีคนไทยอยู่ที่นั่นนานแล้ว มีขุมชนที่เป็นหลักฐานบ้านเรือนแบบชาวไทยอยู่เป็นเวลาหลายร้อยปีมาจนถึงปัจจุบัน
ปัจจุบัน คนอิสาณ มีอยู่ทุกจังหวัด ในอดีต แถว จว.เพชรบุรี /ราชบุรี /สุพรรณบุรี /กาญจนบุรี /อ่างทอง /สิงหบุรี ฯลฯ บรรพบุรุษ มาจาก เวียตนาม ลาว แต่ ลูก หลาน กลายเป็นไทยไปแล้ว ครับ
ลาว เขมร ยังทำปลาแดก ไม่เป็นเลย เพราะรู้จักคนลาว เขมรเขา เรียนรู้จากไทย
😮
❤🎉😮
ยังมีอีกหลายเขตแถบลุ่มแม่น้ำอิสานที่บรรพบุรุษอิสานได้มาจากชาตตระกูลที่คนลาวนำมาเผยแพร่..ให้ชนชาตอิสานได้รู้จักการเก็บอาหารไว้กินในยามฤดูน้ำลากเก็บปลาไว้กิน..มาแต่นั้นหลายร้อยปี..
รู้จักคน ลาว เขมร เขาทำปลาแดกไม่เป็น แม้แต่ส้มปลาจอ่ม เคยสั่งเขาหามาให้ชิม ดู
ແດກແປວ່າ: ຍັດຫລືຕຳເຂົ້າກັນ.
กินปลาแดกเกือบซุมื่อถือว่าขาดบ่ได่สำหรับใซ่ปรุงอาหารคับ
❤ ( ขออภัย ต่อความบกพร่อง ระบบส่ง) คะรับ
ພາສາກົກເຄົ້າແລະຄຳສັບພາສາລາວທີ່ໄຊ້ກັນມາເປັນເວລາຫລາຍພັນປີ ກໍ່ຄື ຄຳວ່າ ກູ ມຶງ.ຄຳສັບນີ້ ຖືກໄຊເອີ້ນກັນທຸກຊົນຊັນ ບໍ່ວ່າຈະເປັນລູກໄຊ້ເອີ້ນພໍ່ແມ່ ພໍ່ແມ່ໄຊ້ກັບລູກ.ຕໍ່ມາເມືອມີຊົນຊັ້ນການປົກຄອງເກີດຂື້ນ.ຈຶ່ງມີຄຳສັບພາສາ ລາຊາສັບເກີດຂື້ນມາໃໝ່ເພື່ອໄຊ້ເອີ້ນຊົ້ນຊັ້ນປົກຄອງແບບຣາຊາມີການແບ່ງແຍ້ກຊົນຊັ້ນຄົນແລະຮາກສັບພາສາເກີດຂື້ນ.ສ່ວນຄຳວ່າ ຂ້າ ເອງ.ແມ່ນຄຳສັບພາສາ.ຂອງຊົນຊາດສະຫຍາມຫລືຄົນໄທໃນປັດຈຸບັນ.ສ່ວນປາແດກ ນັ້ນແມ່ນກຸ່ມຊົນຊາດອ້າຍລາວ ນຳໄປເຜີຍແຜ່.ໄຫ້ກຸ່ມຊົນຊາດອື່ນໄດ້ກິນນຳ.ຄົນສະຫຍາມຍຸກບູຮານເຂົາບໍ່ກິນປາແດກ ຄົນທາງຊຽງໃໝ່ລ້ານນາເຂົາບໍ່ກິນປາແດກກັນດອກໃນຍຸກບູຮານ ມີແຕ່ຊົນຊາດອ້າຍລາວນີລະ ເອົາໄປເຜີຍແຜ່
ขาดปลาร้ากับข้าวจะไม่อร่อยปรุงแกงอ่อมแกงลาว❤