ติวสอบนายสิบตำรวจ - แนวข้อสอบ สังคม ชุด 2 ep.2 By.พี่เต้

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 5

  • @supabwannajan4669
    @supabwannajan4669 ปีที่แล้ว

    พี่เต้คับข้อที่13.ตอบ รสนิยมม่ายคับ.
    วิธีประชาคือการสวมชุดดำไปงานศพหรือป่าวคับ.ไม่ใช่การกินข้าว.ผมงง.ข้อนี้คับ

  • @panyachon2503
    @panyachon2503 4 ปีที่แล้ว +1

    สอนดีมากครับ ลักษณะการสอนผู้ฟังเข้าใจง่ายเห็นภาพตาม เยี่ยมครับ👏👍

    • @tutorptae
      @tutorptae  4 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ ☺️

  • @natapohnchanakhaoe9930
    @natapohnchanakhaoe9930 2 ปีที่แล้ว

    พี่เต้คับบรรทัด สังคม ปัจจุบัน ยังเป็นจารีตไหมคับที่ลงโทษรุนแรงที่สุด หรือกฎหมาย คับ

  • @tutorptae
    @tutorptae  4 ปีที่แล้ว +2

    ความหมายของกรรม พี่จำไม่ได้ว่าพูดในคลิปไหนบ้าง 55555
    "กรรม" มีความหมายว่ายังไงตามราชบัณฑิตยสภา
    1. กรรม มาจากคำภาษาสันสกฤตว่า กรฺมนฺ (กัร-มัน). กรรม หมายถึง กิจ การงาน การกระทำ เช่น คดีนี้ผู้กระทำความผิดได้กระทำต่างกรรมต่างวาระกัน. คนส่วนใหญ่มักใช้ในความหมายว่า บาป เคราะห์ เช่น ฉันเป็นคนมีกรรม. เป็นกรรมของฉันที่ต้องมานอนป่วยอย่างนี้. นอกจากนี้คำว่า กรรม ยังหมายถึงการกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือในอนาคต เช่น คนฉ้อราษฎร์บังหลวง มิช้ามินานกรรมก็จะตามทัน
    ตามหลักพระพุทธศาสนา เมื่อทำกรรมใดก็ย่อมได้รับผลของกรรมนั้น เรียกว่า กฎแห่งกรรม ผู้ที่ทำกรรมดีก็ย่อมได้รับผลดี ผู้ที่ทำกรรมชั่วก็ย่อมได้รับผลชั่ว เหมือนคนปลูกข้าวย่อมได้ข้าว ปลูกมะม่วงก็ย่อมได้ผลมะม่วง ฉันใดก็ฉันนั้น คนที่ทำกรรมดีช่วยเหลือผู้อื่น ก็จะมีผู้อื่นคอยช่วยเหลืออยู่เสมอ คนที่คิดร้ายต่อประเทศ ก็จะต้องรับกรรมไม่มีวันที่จะมีความสุข.
    2. คำว่า กรรม เป็นคำที่มาจากภาษาสันสกฤต ว่า กรฺมนฺ (อ่านว่า กัร-มัน) ตรงกับคำในภาษาบาลีว่า กมฺม ( อ่านว่า กัม-มะ) แปลว่า การกระทำ. หลักที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา ถือว่าเมื่อมีเหตุแล้วต้องมีผล หรือผลต้องมาจากเหตุ ทำอย่างใดย่อมได้รับผลอย่างนั้น ทำดีย่อมได้รับผลดี ที่ได้รับผลชั่วก็เพราะได้ทำชั่ว. ไม่ว่าจะกระทำในที่ลับหรือที่แจ้ง จะมีผู้อื่นรู้เห็นหรือไม่ ผลย่อมเกิดตามกรรมเสมอ. สิ่งที่เราพบประสบในชีวิตนี้เป็นผลแห่งกรรมที่เราประกอบไว้ในอดีต ทั้งในชาตินี้และชาติก่อน ๆ ความโชคดีหรือเคราะห์ร้ายที่ได้รับเป็นผลแห่งกรรมที่ตนเองตัดสินใจทำเองทั้งสิ้น แต่การกระทำนั้นอาจไม่ใช่สิ่งที่กระทำในชาตินี้ คนที่ได้รับผลร้ายเคราะห์ร้ายหรือความเลวร้ายต่าง ๆ เกิดจากกรรมของตนเองในอดีต ไม่ใช่พรหมลิขิต ไม่ใช่ คำอธิษฐานหรือการสวดอ้อนวอนใด ๆ คนที่ต้องการสิ่งดีผลดี จึงต้องทำกรรมดี.