กฏหมายอาญาว่าด้วยเรื่องความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ตอนที่ 1

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 11 ม.ค. 2021

ความคิดเห็น • 32

  • @user-do7gy3pe8e
    @user-do7gy3pe8e หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณนะคะ สำหรับความรู้ เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ

  • @teeraseedum102
    @teeraseedum102 20 วันที่ผ่านมา

    สวัสดีครับ

  • @Peace10339
    @Peace10339 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากๆค่ะ

  • @kadtumdedide7093
    @kadtumdedide7093 ปีที่แล้ว

    กราบขอบพระคุณค่ะ

  • @user-mt6ur1xo6l
    @user-mt6ur1xo6l ปีที่แล้ว +1

    อาจารณ์ครับผมสงสัยใน ม.147 นิติกรณ์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราว หรือมีฐานะลูกจ้างชั่วคราว ไม่ใช่เจ้าพนักงานข้างต้น เเล้วมันไม่ขัดกับ ม.1(16)หรอครับ หรือมันเป็นในส่วนของเจ้าพนักงานราชกาลที่ไม่เข้า

  • @patiparnpudee1861
    @patiparnpudee1861 ปีที่แล้ว

    ที่อ่านมา เจ้าพนักงานจะรวมถึงได้รับค่าจ้างหรือไม่ก็ตาม ไม่ว่าจะชั่วคราวหรือประจำ ก็เลยสับสน ไม่รู้อันไหนถูก

  • @user-mt6ur1xo6l
    @user-mt6ur1xo6l ปีที่แล้ว

    👍

  • @roongratnemtsev2841
    @roongratnemtsev2841 4 หลายเดือนก่อน

    ❤❤❤🙏🙏🙏🙏❤️❤️❤️ขอบพระคุณค่ะอาจารย์คะ ได้โปรดทำคลิปออกมาเยอะๆให้ความรู้แก่ประชาชนอีกนะคะ🙏🙏🙏❤️❤️❤️

  • @user-ys2ws8ii1z
    @user-ys2ws8ii1z 3 ปีที่แล้ว

    ความรู้ดีมากค่ะ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว

  • @patthanunngunbumrung9134
    @patthanunngunbumrung9134 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

  • @maneerat537
    @maneerat537 2 ปีที่แล้ว

    สอนดีมากคะ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

  • @AnchitthaEw
    @AnchitthaEw 2 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณคะอาจารย์ ได้ความรู้มากเลยคะ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

  • @user-sv6tb7hu6v
    @user-sv6tb7hu6v 3 ปีที่แล้ว +1

    เป็นการผลิตสื่อเผยแพร่ความรู้ที่ดียิ่ง สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      นาทีที่7:05 ...เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

    • @user-sv6tb7hu6v
      @user-sv6tb7hu6v ปีที่แล้ว

      @@Ample-pj8lu เขาบอกว่าไม่ผิด ม.147 ก็ถูกแล้ว เขาก็บอกว่าอาจผิดตามกฎหมายอื่น ซึ่งก็จะผิดตามกฎหมาย ปปช แน่ๆครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว

  • @Ample-pj8lu
    @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

    นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว

  • @user-ys2ws8ii1z
    @user-ys2ws8ii1z 3 ปีที่แล้ว

  • @user-zi3mo3th4v
    @user-zi3mo3th4v 3 ปีที่แล้ว

    พนักงานราชการ เป็น เจ้าพนักงานไหมครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (16) “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงานหรือได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือครั้งคราว และไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ จึงมีหลักเกณฑ์ที่ควรจะต้องพิจารณา คือ (1) เป็นบุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงาน (2) เป็นบุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือหรือครั้งคราว และ (3) ไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

  • @jumper2523
    @jumper2523 3 ปีที่แล้ว

    นิติกรที่ศาลเปนเจ้าหน้าที่ใหมครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      เจ้าพนักงานย่อมหมายถึงบุคคลผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยได้รับแต่งตั้งตามกฎหมาย กล่าวคือ ในการแต่งตั้งนั้นมีกฎหมายระบุถึงวิธีการแต่งตั้งไว้ และได้มีการแต่งตั้งถูกต้องตามกฎหมายที่ระบุไว้นั้น ดังนั้น ข้าราชการประจำ เช่น นิติกรในศาล รวมทั้งข้าราชการพลเรือนในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการต่างๆ ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ตุลาการศาลปกครอง ตุลาการศาลทหาร ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม รวมถึงพนักงานอัยการ เหล่านี้ เป็นเจ้าพนักงาน

  • @user-yt2ow6dz2l
    @user-yt2ow6dz2l ปีที่แล้ว

    แบบนี้แหละข้าราชการจะได้ไม่คิดทำผิดคะขอบคุณคะ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ถึงแม้ว่า ทุกวันนี้ จะมีกฎหมายปราบทุจริต และประพฤติมิชอบ โดยป.ป.ช. และป.ป.ท. เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ และมีศาลอาญาทุจริต และประพฤติมิชอบ ครอบคลุมทุกภาค แต่ยังมีผู้กระทำความผิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะจิตสำนึกยังไม่ได้รับการแก้ไข หมูจึงไม่กลัวน้ำร้อน 555

  • @supakop4689
    @supakop4689 2 ปีที่แล้ว

    ธนาคารกสิกรไทย
    ไม่ใช่รัฐวิสหกิจนะครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      1.ธนาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย 2.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอส. เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด 3.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินของรัฐ สังกัดกระทรวงการคลัง และ กระทรวงอุตสาหกรรม 4. ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เอกชน(พ้นสภาพรัฐวิสาหกิจแล้ว)