ไม่ใช่ครับ ทางช่องไม่มีจำหน่ายสินค้าโดยตรงหรือเปล่าครับ ดูจาก Link แล้ว พอเรากดเข้าผ่าน Link นี้พอทำการสั่งซื้อสินค้าอะไรก็ได้ ทางช่องก็จะได้รับค่าตอบแทน เหมือนการโฆษณา
เเนวคิดผมว่า n.เชื่อม g มันมีทั้งประโยชน์เเละโทษ คิดว่าทำตามการไฟฟ้าเเหละ n เชื่อม g. เเต่เราตอกหลักดินอีกอัน เเนกต่างหาก โดยไม่เชื่อม n..เเต่เเท่งกลักดินอันนี่ให้วิ่งไปเต้าเสียบอุกรณไฟฟ้าเเทน.
อีกเหตุผลหลักที่การไฟฟ้าบังคับให้เอาเมน N เข้าบาร์ G ก่อนแล้วค่อยเอามาเข้าที่หัวเมนก็คือเวลาที่สายส่งของการไฟฟ้า N ขาดหรือชำรุดไป มันจะทำให้ไฟที่มีแรงดัน 220-230 V กลายเป็นแรงดัน 380-400V ทันทีครับถ้าเราต่อกราวด์รวมกันที่ตู้จะทำให้ความเสียหายที่เกิดขึ้นน้อยลงครับ
ผมจะสรุปง่ายๆดังนี้ คือทำไม กฟฟ.ถึง ได้ให้เราตอกกราวด์ด้วยแล้วต้องไปต่อเข้ากับ N สาเหตุคือป้องกันในกรณีที่ N ที่หม้อแปลงชำรุดจะเกิดอะไรขึ้นรู้ไหม N ไม่มีบ้านแต่ละหลังจั๊มคนละเฟสก็จะไปวนเครื่องใช้ไฟฟ้ามาครบวงจรที่ N ของเราเองที่ขาดก็เท่ากับเราต่อไฟทั้งสองเส้น หม้อข้าวเดือดดีจัง หลอดไฟเปิดแป๊ปเดียวก็ขาดแล้วเครื่องเสียงพังพินาศหมดแล้วจะเรียกร้องค่าเสียหายกับใครยกมือไหว้เป็นฝักถั่วขอโทษครับๆๆ แต่ถ้าต่อระบบปัจจุบันนี้ถึง N ที่หม้อแปลงจะขาดแต่ก็จะไม่เป็นไรเพราะเรามี N เป็นของตัวเอง เล่ายาว จริงๆแล้วอยากจะให้ละเอียดกว่านี้
1.ตรวจเช็คอุปกรณ์ก่อนครับ ต้องมีสักจุดที่ไฟรั่วแน่นอนแต่มันวิ่งผ่านกราวเลยไม่อันตราย 2.ลองดูที่ตู้ ว่าต่อสาย L กับ N สลับกันหรือป่าวที่เบรคเกอร์หลัก เช็คตั้งแต่ต้นสายได้ยิ่งดี
⚠️เนื่องจากเนื้อหาใช้เวลาในการเรียบเรียงข้อมูลค่อนข้างนาน
เพื่อนๆสามารถสนับสนุน ค่ากาแฟ☕ ให้กับผมได้โดย..
1. ซื้อสินค้าผ่าน Shopee 👉 shope.ee/8encLFBkcT
2. ซื้อสินค้าผ่าน Lazada 👉 s.lazada.co.th/l.Zlpm
ขอบคุณมากครับ
ชื่อร้านอะไรครับในลาซาด้าครับ
กดเข้าไปมันไม่เข้าไปร้านเลยนะครับ มันเข้าไปแค่แอปครับ แปะลิ้งที่เข้าร้านให้หน่อยครับ
ไม่ใช่ครับ ทางช่องไม่มีจำหน่ายสินค้าโดยตรงหรือเปล่าครับ ดูจาก Link แล้ว พอเรากดเข้าผ่าน Link นี้พอทำการสั่งซื้อสินค้าอะไรก็ได้ ทางช่องก็จะได้รับค่าตอบแทน เหมือนการโฆษณา
@@neung1101
👌คลิปสั้นๆ เข้าใจง่าย ดีครับ สนับสนุนครับ...
การตอกแท่งกราวด์และสายกราวด์ร่วมกับนิวทอลมีหลายเหตุผล อีกหนึ่งเหตุผลคือเพื่อความปลอดภัย หากสายนิวทอลหลุดก็ยังมีสายกราวด์ให้กระแสไหลกลับไปยังแหล่งกำเนิดผ่านพื้นดิน และอีกเหตุผลคือเพื่อให้ศักดิ์ทางไฟฟ้าของสายนิวทอลเท่ากันหรือใกล้เคียงกันให้มากที่สุดตลอดเส้นทาง เพื่อควบคุมไม่ให้แรงดันไฟฟ้าตกมากเกินไป และอีกหลาย ๆ เหตุผล ที้งฝั่งของการไฟฟ้าเอง และฝั่งบ้านเรือนผู้ใช้ และต้องต่อให้ถูกต้องตามมาตรฐานใหม่ของการไฟฟ้าด้วยครับ
เวลาอธิบายเรื่องสายกราวด์ ต้องแยกแยะให้มันชัดเจนด้วยว่าเป็นสายกราวด์จากแหล่งไหน ต้องอธิบายแยกแยะให้มันชัดเจนด้วยว่าการต่อสายกราวด์หรือการต่อลงดิน เป็นการต่อลงดินในระบบ TN-S หรือระบบ TT ตรงแยกให้มันชัดเจน ไม่ใช่บอกแต่สายกราวด์อย่างเดียว
ถ้าสายกราวด์มาจากแท่งกราวด์หรือหลักดิน ที่เป็นการต่อลงดินในระบบ TT โอกาสที่เบรกเกอร์จะไม่ปลดวงจรมีสูงมาก เพราะค่าอิมพีแดนซ์มันสูง
แล้วเวลาพูดถึงเบรกเกอร์ว่ามันจะปลดวงจรหรือเปล่า ก็ต้องแยกแยะให้มันชัดเจนว่าเป็นเบรกเกอร์ธรรมดาหรือเบรกเกอร์ตัดไฟรั่ว
ถ้าโหลดต่อลงดินในระบบ TT โอกาสที่เบรกเกอร์ธรรมดาจะไม่ปลดวงจรมีสูงมาก ยกเว้นจะเป็นเบรกเกอร์ตัดไฟรั่ว
และมันมีทั้งหมดกี่ประเภทหรอครับ สายดิน
การไฟฟ้า กลัว ลักไฟใช้ เลยให้ต่อ ร่วมกันไว้
@@KhobSnam_FieldEdge
มั่ว ไม่ได้เกี่ยวกันเลย
@@ช่างไฟไทยแลนด์1985 ไปเอาสาย N ออกดิ L ผ่านหม้อ ไปเข้า หลอดแล้ว ลงดิน หลังบ้าน มัน จะกลับมา L ที่หม้อ กี่โมง ก็ นั้นล่ะ หม้อจะหมุน ส่วนหลอด มันก็ติดไป โดยไม่มีค่าไฟ
@@KhobSnam_FieldEdgeเลอะเทอะ ความรู้ก็ไม่มีเม้นไปมั่ว
ตั้งแต่ผมดูคลิปอิเล็กทรอนิกส์ไทย คุณคือคนที่มีคุณภาพมากๆ
ข้อมูลยังไม่ครบนะครับที่หม้อแปลงแรงดันสูงจะต้องต่อ N ลงดิน หรือ Ground เสมอ เพื่อให้แรงดัน Line เทียบกับ Ground เวลากระแสรั่วก็จะกลับไปที่หม้อแปลงเส้นทางนี้อีก loop นึง
ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องไฟฟ้านัก แต่ผมเป็นคนที่ถ้ามองจากภายนอก ดูจะมีความรู้มากแต่ผมรู้ในเรื่องอื่นครับ ไม่ใช่เรื่องไฟฟ้า เวลาไปถามคนอื่นเพื่อนหรือคนรอบข้างว่าทำไมบางปลํ๊กมี2ขาบางอันมี3 แล้วทั้งสามมันมีสายอะไรบ้างผมได้แต่คำตอบว่ามีสายการว และตีมึน พร้อมถามกลับใช้คำพูดเหน็บแนบปั่นหัว คงคิดว่าผมรู้แล้วมาหลอกถาม ทั้งที่ผมเกริ่นแล้วนะว่าผมไม่รู้จริงๆ ในใจคิดว่ามันต้องมีหลักการบางอย่าง ไปค้นหาข้อมูลก็จะได้แต่ข้อมูลครับ ไม่มีความเข้าใจก็เท่านั้นที่ผมต้องการคือภาพในหัว ภาพรวมคร่าวๆ จากที่เคยมีคำถามมากมายในหัว ต้องขอบคุณคลิปนี้จริงๆครับ
3เฟส สาย N หลุด ทำไมกระแสจึงสูง ถ้าเอา N ลง G ไว้ด้วยจะช่วยไม่ให้กระแสสูงได้ไหม การไฟฟ้าชอบทำสายN หลุดแต่ไม่ยอมรับ ตอนมาทำไฟบริเวณตู้
ใครที่เข้าใจว่า การไฟฟ้าสลับสาย L ,N เข้าบ้านผิดได้ นั่นแสดงว่ากราวด์ที่ท่านทำไว้ไม่ดี ไม่ได้มาตรฐาน ปกติ สาย L ของการไฟฟ้าจะต่อลงดินไม่ได้เด็ดขาด มันจะสปาก อย่างรุนแรง เพราะมันเป็นการลัดวงจร แล้วใครจะกล้าต่อ
หรือมีหน่วยกล้าตาย อาสาต่อจนได้ ฟิวส์ต้นทางก็จะขาด การไฟฟ้าจ่ายไฟไม่ได้ในที่สุด
เว้นเสียแต่ว่า ระบบกราวด์
ชำรุด
เพราะฉนั้นกาารไฟฟ้าเลยต้องออกเป็นกฏระเบียบให้ทุกบ้านต้องทำกราวด์ให้กีและถูกต้อง จะได้ช่วยกันเป็นกราวด์ที่เข้มแข็ง ใครก็ระเมิดมิได้แม้แต่การไฟฟ้าเองก็เถอะ
มันไม่สปารค์หรอกมันก็ทำงาน แต่ ระบบไฟบ้านคุณจะ สลับ L เป็น N
สวิทช์ ไม่ได้ตัด L หลอด นีออน ก็จะเรืองๆแสง ไม่ดับ
แล้วทำไมมันไม่ช๊อต ก็บ้านคุณเป็นโหลด ไม่ได้เป็นตัวจ่ายไฟ ป้อนไปสลับไง มันก็ทำงาน ไม่ซ๊อต
บทความ เกือบเข้าใกล้ความถูกต้อง พยายามต่อไปครับ สักวันจะรู้แจ้งเห็นจริง เข้าจนได้
แล้วถ้าอยากรู้แจ้งเห็นจริงผมต้องไปดูช่องไหนหรือของอาจารย์ท่านไหนครับ
@@dommosookchu414วิศวกรรมไฟฟ้า และระบบไฟฟ้า ให้อาจารย์มหาลัยสอนมั่นใจสุด
เห็นบ้านตามชนบทต่างจังหวัดเขาใช้กันแค่สองสาย Lกับ N เยอะมากแล้วถ้าสายขาดเส้นหนึ่งไฟ 380 โวทจะข้ามเสายที่มันขาดได้อย่างไรถ้ามาจากบ้านหลังอื่นก็มีกราวดของบ้านหลังอื่นและการไฟฟ้าอีก ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องใช้กราวด์เขาก็ต่อแยกและต่อเบรกเกอรกันไฟดูดเพิ่ม ถ้าฟ้าผ่าก็ใส่เสริกโฟรเทก แต่ก็อยากให้สาย N+G อยู่ที่เสาไฟหน้าบ้านไม่อยากให้ผ่านเข้ามาในตัวบ้านเถ้าสายหลวมขาดเก็จะมีไฟไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้ามาที่สาย G+N และมันเป็นสายเดียวกัน
การสอนต้องแบบนี้ใช้คำง่ายๆ เข้าใจง่าย ไม่ใช่ทางการจนลึกลับ
เอ่อ เอ่อ ใช่ ทฤษฎีจ๋า เข้าใจยาก ต้องจินตนาการสูง มีมโนภาพมากมาก มีนามธรรม ไม่มีรูปธรรม
ผมจะดูให้ครบทุกคริป ช่องนี้ ดูแล้วเข้าใจดีมาก สื่อการสอนดีที่สุดเท่าที่เคยเห็นมา
อรรถาธิบายดีเลิศครับ ขอบคุณมากที่ช่วยให้ความรู้แก่ส่วนรวมครับผม เปรียบเสมือนครูท่านหนึ่ง
ขอสอบถามนะครับ นาทีที่ 8.16 ถ้าเราเดินสายไฟแบบนี้ แต่ไม่ได้ตอกหลักดิน เวลาไฟรั่ว ไฟจะยังไหลผ่านสายกราวด์ ไปกราวด์บาร์ และไหลผ่านนิวตรอนไปสู่แหล่งจ่ายไฟ มั้ยครับ
ทำให้รู้สึกว่าตัวเองฉลาดขึ้นเยอะเลยขอบคุณครับ
ในคลิปบอกว่าต้องตอก แท่งกราวด์ลงในตัวบ้าน ขยายความจุดนี้ด้วยครับ ติดใน หรือ นอกบ้าน บริเวณไหนที่เหมาะสมในการตอกครับ
0:17 การไฟฟ้าเขาบังคับให้จั้มใส่กันเพราะว่า ยามที่ฟ้ามันฝ่าสายไฟ ไฟมันจะไดใหลเข้ากราวข งเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องใช้ไฟฟ้าพังเร็วๆ หรือว่าให้ไฟช็อตคน
เเนวคิดผมว่า n.เชื่อม g มันมีทั้งประโยชน์เเละโทษ คิดว่าทำตามการไฟฟ้าเเหละ n เชื่อม g. เเต่เราตอกหลักดินอีกอัน เเนกต่างหาก โดยไม่เชื่อม n..เเต่เเท่งกลักดินอันนี่ให้วิ่งไปเต้าเสียบอุกรณไฟฟ้าเเทน.
แล้วทำไมเราต้องเดินสายกราวด์แยกครับ เราสามารถจั๊มสายที่เต้ารับเลยได้ใหม? หรือป้องกันอันตรายจากการต่อสายลับ?
ตอบคำถามท่านที่บอกว่าไฟรั่วลงดินแล้วเราไปจับเสาถูกไฟดูด เบรคเกอร์ไม่ตัดเนื่องจากเบรคเกอร์นั้นเป็นชนิด กระแส สองเส้นแตะกัน(short circuit Breaker)จะตัดเมื่อสายชอร์ตกันและอีกชนิด โอเวอร์เคอรเร็น(Over current Breaker)
สายดินไม่ได้ป้องกันไฟดูด ท่านต้องติดเบรคเกอร์กันไฟดูดอีกตัวถึงจะชัวร์ เช่นใน
เครื่องทำน้ำอุ่น ราคาไม่แพงขั้นต่ำ 250 บาทขึ้นไปยี่ห้อดังในอเมริกา เยอรมัน ญี่ปุ่น บ้านผมติดมา 20 กว่าปีแล้วยังไม่เสีย อย่าไปติดยี่ห้อที่ขายกันดังๆในเวลานี้ที่ราคา 4 -5 พันบาทมีปุ่มปรับกระแส เยอะแยะ แป๊บเดียวก็เสีย ไปซื้อตามห้างหรือร้านขายเครื่องไฟฟ้าบอกเขาว่าซื้อเครื่องป้องกันไฟดูด( Earth leakage Breaker )ราคา 250 ถึง พัน บาทที่บ้านใช้ พานาโซนิค ยังไม่เสียครับ
TN-C-S system 😍😍 ใช้ระบบนี้ 7-8 ปี แล้วครับ ทุกวันนี้ก็ปกติทุกอย่าง
ขอบคุณสำหรับข้อมูลและทำคลิปนี้ออกมาให้เข้าใจเรื่องของระบบไฟฟ้า ทำให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ และมีประโยชน์มากค่ะ
เป็นช่องที่ อธิบายได้ดีกว่าใครเพราะ ง่าย มีเหตุ มีผลทุกคำ และภาพประกอบที่สวยงามเข้าใจง่ายเป็นลำดัย
สรปง่ายๆครับที่การไฟฟ้าบังคับต่อนิวตรอนลงดินก็เพื่อสร้างเครือข่ายสายดินขนาดใหญ่กระจายไปทุกบ้านเพื่อรับฟ้าผ่าโดยตรง เพราะต่อก่อนเข้าเบรคเกอร์ โดยเจ้าของบ้านเป็นผู้ลงทุนเอง และรับความเสี่ยงนี้เอาไว้เอง
ช่วยชี้แนะผมด้วยครับอาจารย์ Hybrid off grid inverter ที่เอาไฟ input จาก กฟฟ. + โซล่าเซลล์ + แบต มารวมกัน แล้วเอาไฟ output ที่ได้ (มีไฟทั้งเส้น L และ N) ไปเข้าเมนเบรคเกอร์เพื่อจ่ายโหลดทั้งบ้าน เค้าบอกว่าห้ามจั้มกราวด์ร่วมกับนิวทรัลที่แผง consumer เพราะจะทำให้เครื่อง inv. พัง เนื่องจากสายนิวทรัลมีไฟ อันนี้มีข้อเท็จจริงอย่างไรบ้างครับ ถ้าเราไม่จั้มกราวด์และนิวทรัล อุปกรณ์ตัดตอนจะยังทำงานสมบูรณ์ไหมเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเกิดไฟรั่วขึ้นมา
ผมว่ามันไม่น่าถูกต้องซะทีเดียว แต่ก็ไม่ผิด ข้อมูลพอรับได้ ขอแย้งนิดนึงละกันนะครับ สำหรับ concept ไฟฟ้า
1. อันนี้ผมเห็นด้วย ต้องครบวงจรเท่านั้น
2.อันนี้ไม่เห็นด้วยเท่าไร ผมว่า ไฟฟ้าจะวิ่งจากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ (หรือพูดอีกนัยนึง คือ อิเล็คตรอน วิ่งจากขั้วลบไปขั้วบวก : ทิศทางตรงกันข้ามกับกระแสไฟฟ้า)
เหมือนน้ำที่ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
3.อันนี้ผมเห็นด้วย แต่คำอธิบายมันแปลกๆ ผมขอแก้แบบนี้ละกัน ไฟฟ้าจะไหลไปในเส้นทางที่มันไปได้ทั้งหมด เพื่อให้วงจรสมบูรณ์ แต่เส้นทางที่มีค่าความต้านทานน้อยกว่า
กระแสไฟฟ้าจะไหลไปเส้นทางนั้นมากกว่าเส้นทางอื่น
(เหมือนน้ำในท่อประปา บ้านใครใช้ท่อ 6หุน น้ำย่อมไหลแรงกว่า บ้านที่ใช้ท่อ 4 หุน แต่อย่างไรก็ตาม น้ำก็ออกทุกท่อเหมือนเดิม)
ปล.ไม่ได้ตั้งดิสเครดิตอะไร แค่มาแลกเปลี่ยนมาความคิดเห็นเฉยๆนะครับ ชื่นชมในความ DIY
ผมคิดว่าที่ทางช่องอธิบายแบบนั้นเพียงเพราะว่าต้องการอธิบายให้คนที่ไม่ได้มีความรู้เรื่องไฟฟ้าเข้าใจง่ายขึ้นครับ ถ้าอธิบายแบบความคิดเห็นนี้คนที่ไม่มีความรู้เข้าใจยากกว่าที่เขาอธิบายครับ
รู้กฏการแบ่งกระแสไฟฟ้า (Current Divider) หรือเปล่า? ความต้านทาน 2 ตัวต่อขนานกันอยู่ อีกตัวมีค่าน้อยมากและอีกตัวมีค่าความต้านทานมาก กระแสไฟที่ไหลผ่านความต้านทานมีค่าน้อยจะมีปริมาณของกระแสไฟมากกว่ากระแสไฟที่ไหลผ่านความต้านทานที่มีค่ามาก ในทางปฏิบัติเมื่อมีกระแสไฟรั่วในวงจร กระแสไฟที่รั่วนี้จะไหลกลับเข้าบาร์กราวนด์แล้วไหลเข้าสายนิวตรอลกลับแหล่งจ่ายตรงสายต่อฝากระหว่างบาร์กราวนด์และสายเมนนิวตรอล แทบจะไม่มีกระแสไฟไหลกลับแหล่งจ่ายทางแท่งหลักดิน (Ground Rod) เลย ถึงจะมีก็น้อยนิดมากไม่สามารถวัดด้วยแอมป์มิเตอร์ทั่วไป ต้องใช้มิเตอร์หน่วยมิลลิแอมป์หรือไมโครแอมป์มาวัดถึงจะวัดค่าได้ ที่พูดได้ก็เพราะว่าเคยพิสูจน์ด้วยการเอาคลิปแอมป์คล้องวัดสายดินที่ต่อจากตู้ไปยังแท่งหลักดินมาแล้ว วัดไม่ได้ตัวเลขไม่ขึ้นเลย ไม่ต้องรอให้ไฟรั่วหรอกครับในสภาวะปกติกระแสไฟฟ้าทำไมมันไม่ไหลกลับทางดินบ้างล่ะก็ในเมื่อสายเมนนิวตรอลกับแท่งหลักดินมันก็ต่อสายฝากถึงกันอยู่ ทำไมไหลผ่านโหลดปริมาณเท่าใดก็ไหลกลับทางสายนิวตรอลปริมาณเท่ากัน
@@NagaNongkhai ก็พอรู้บ้างครับ แล้วมันยังไงอ่ะครับ ก็ถูกแล้วนิ
ทดลองดูก็ได้ครับ วัดค่าสาย N กับ G ดู ตอนพี่ใช้เครื่องไฟฟ้า แค่นี้เอง มโนอะไรมากมาย ไปนั่งวัดตรงหลักดินก็ได้
@@อดุลย์ส วัดทำไมครับ และวัดยังไงครับ ไม่เข้าใจครับ ผมไม่ได้มโนครับ ผมเรียนมาครับ เกี่ยวกับอะตอม เข้าใจเรื่องไฟฟ้าพอสมควรครับ
อธิบายกระจ่างแจ้งและเข้าใจนึกภาพออกเลยครับ สุดยอดครับ❤👍🙏
อธิบายได้เข้าใจง่ายดีครับ ขอบคุญที่ให้ได้ควารู้ครับ
แท่งกราวด์สายกบราวด์สำคัญมาก ควรต่อให้ถูกต้อง ประเภทสาบขนาดของสายความยาวสายถูกต้อง และสีของสายไฟถูกต้องตรงตามเฟสตรงตามนิวทอลตรงตามกราวด์ ถูกต้องตรงตามมาตรฐานใหม่ของกานไฟฟ้า ในบ้านเราก็ควรเปลี่ยนสีสายให้ตรงตามมาตรฐาน เพื่อที่ไฟฟ้าจะได้ไม่ผิดเฟส เพราะการไฟฟ้าจะต่อตามมาตรฐานใหม่
แล้วถ้าเรามีสายกราวแล้ว ฟ้าผ่าที่บ้านเราสมมุติว่าเสาไฟหน้าบ้าน เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเราที่เสียบคาไว้ที่เต้าเสียบแต่ไม่ได้เปิดใช้งานในตอนนั้น จะพังไปด้วยมั้ยครับ
สงสัยเหมือนกันครับระบบกราวด์ ขอบคุณที่แชร์ความรู้ดีๆครับ
เป็นคลิปที่ดีมีสาระ แล้วก็อธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ ขอบคุณที่แบ่งปันครับ😊
เคยมีกรณีแบบนี้ครับ..ค้างจ่ายค่าไฟ การไฟฟ้ามาตัดสาย พอเราไปจ่ายเงินค่าไฟแล้ว การไฟฟ้ามาต่อสายกลับ แต่ต่อสลับสาย เอาสาย L สลับกับสาย N อันตรายมากครับ
ผมเจอมาสองรอบครับ แต่โชคดี ที่บ้าน G กับ N ตัดขาดจากกัน
ใช่ครับผมโดนดูดมาแล้วดีที่ติดตั้งเบรคเกอร์ RCBO ไว้
แบบนี้แย่มากๆเลยครับ LกับN สลับกัน เพิ่มเติมถ้าหากไม่รู้แล้วใช้ไปแบบไม่มีอะไรเกิดขึ้น ค่าไฟที่บ้านจะแพงขึ้นด้วยนะ เนื่องจากไฟวิ่งลงดินเสียค่าหน่วยกิตฟรีๆ
ค่าไฟขึ้นหลายเท่าตัวเลยแบบนี้
สลับแบบนี้เท่ากับไฟรั่ว พอไฟรั่วมิเตอร์ก็วิ่ง เคยมีบางบ้านบอกสายเฟสสลับกันก็มีนะ คือขอหม้อใหม่แต่มาร์กเฟสผิดให้เขา พอเชื่อมเท่านั้นแหละค่าไฟตามมาเป็นหมื่น
สุดยอดครับ~! เป็นคลิป ที่ดูได้ครบรส!
ได้ทั้งฮา~ขบขัน +ความรู้เชิงลึก +เห็นภาพที่เข้าใจง่าย และชัดเจน ทำคลิปออกมาได้~ละเอียดดีมากๆ (-/\- )) ขอบคุณที่ทำคลิปมีคุณภาพดีมากๆครับผม
ถ้าไม่เอา n พ่วง กราวนด์ คือ กฎยังไงไม่รู้ แต่ไฟดูดที่ n นะครับถ้าไม่ต่อ
ขอบคุณครับอาจารย์ ผมชอบมากครับงานประเภทนี้ เพื่อทำความเข้าใจระบบวงจร และคำบรรยาย ดูไห้หลายรอบจะได้จำขึ้นใจครับ (ผมไม่ได้เรียนครับ)ชอบมากขอบคุณครับอาจารย์
ในรูปวงจรกระแสตรง(DC) ทำไม ไฟวิ่งจากศักย์ต่ำ(-) ไปศักย์สูง(+) ครับ จริงๆมันต้องเป็น (+) วิ่งหา (-) ไม่ใช่หรอครับ หรือแค่ทำภาพอธิบายผิดครับ หรือความรู้ที่ผมมีมันผิดครับ ไม่ได้จะโชว์เหนืออะไรครับ แค่รู้สึกว่าความรู้ที่ผมมีคือไม่ใช่ทั้งหมด จากที่ดูคลิปนี้~
อธิบายง่ายดีครับ แต่ผมเหมือนจะเข้าใจแต่ก็ไม่เข้าใจทั้งหมดอยู่ดี.เพราะผมไม่ค่อยมีความรู้ด้านนี้ต้องศึกษาอีกเยอะ แต่ผมอยากจะถามพี่ว่า.ในกรณีที่เครื่องซักผ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มันไม่มีโครงเหล็กหรือว่าโครงเหล็กถูกห่อหุ้มด้วยตัวครอบที่เป็นพลาสติกทั้งหมด อย่างนี้ล่ะครับเราจะไปต่อสายดินตรงไหนหรือว่าต้องพึ่งปลั๊กสามตาอย่างเดียว แล้วแถวบ้านก็ไม่ได้เดินสายที่เป็นปลั๊กสายตานั่นก็แสดงว่าบ้านหลังนั้นไม่มีสายดิน.แล้วอย่างนี้จะทำยังไงดีครับ
คืออย่างนี้นะครับ ผมซื้อเครื่องซักผ้ายี่ห้อไฮเออร์ ซึ่งมันไม่มีที่ต่อสายดินเลย ถ้าบ้านเราไม่เดินสายไฟที่มี้ต้ารับปลั๊กสามตา มันจะมีวิธีไหนบ้างครับที่เราจะต่อสายดินให้ไฟมันลงดิน ในกรณีที่เครื่องใช้ไฟฟ้าไม่มีที่ต่อสายดิน
รื้อครอบพลาสติคออก ดูด้านในต้องมีจุดต่อ ถ้าหาไม่เจอก็ต่อตรงที่เป็นโลหะ ดูสายไฟที่ปลั๊กก็ได้ เปิดออกดูร้องอ๋อทันที
ช่อง คลิบ การอธิบาย บอกตรงๆพูดแบบวัยรุ่นแม่งโคตรๆคุณภาพเลยครับ ขอคาราวะท่านปรมาจารย์10จอกครับ
ผมชอบครับแต่ผมว่าไฟฟ้าบ้านผมทำไม่ถูกต้องเวลาเปลี่ยนมิเตอร์
หรือมิเตอร์ใหม่ไม่บังคับช่างติดตั้ง
เส้นล่างให้เปนสายไฟบนนิวตรอน
มั่วมากเลยต่อสายมิเตอร์นิวตรอน
เปนไฟชาวบ้านเสียค่าไฟเปล่าๆ
ไฟฟ้าไม่รับผิดชอบ
ขอบคุณพี่มากครับ ที่ทำคลิปแบบนี้ออกมา มีประโยชมากมายเลยครับ
ชอบคลิปที่ทำมา..ดูเเล้วเข้าใจ.ไม่ซับซ้อน.เป็นกำลังใจทำต่อไปนะคัป
เป็นการเพิ่มภาระให้ผู้ใช้ ถ้าการไฟฟ้าติดแท่งกราวด์ที่มิเตอร์ก็จบ..
😮😮สุดยอดประเด็นนี้น่าเอาเข้าสภาและครม.ครับ😮😮
ถ้าไม่อยากมีภาระก็ ผลิตไฟใช้เอง โซล่าออฟกริดต่อแบต แต่ก็ต้องต่อกราวนเองอยู่ดี ไม่ก็ต้องตั้งพรรคกราวน์เอื้ออาทร นโยบาย1บ้าน1กราวน์ ฟรี
แล้วที่เขาตอกแทงกาวกับ เครื่องทำน้ำอุ่นล้ะครับ
ขอสอบถามครับ
แล้วถ้าเราใช้ กันดูดที่100mA ได้ไหมครับ เห็นคุ้นๆว่าเคยมีขายกันครับ มันจะปลอดภัยต่อเราไหมครับ
ทำรายการได้ดีมากๆครับ แว่ะไปlinkแต่ไม่เห็นเลยว่าจะให้ซื้ออะไรสนับสนุนครับ?
อธิบายมีแอบฮานิดนึงด้วย...ช่วยผ่อยคลายได้ดีเลยครับ
อธิบายดีสุดๆครับ เป็นคลิปที่ดีจริงๆๆ
ถ้าขั้ว L ไปโดนโครงโลหะ ผลคือ ฟิวส์ขาด หรือ เบรคเกอร์ตัด เพราะ
เกิดการลัดวงจร อันเนื่องมาจากโครงโลหะถูกนำไปต่อรวมกับขั้ว N และขั้ว GND
แล้วเอาไปปักลงดิน ตามระเบียบของการไฟฟ้า
การที่เอากราวด์(shassis)มารวมกับนิวตรอน(neutron) ตามแบบของการไฟฟ้า
เต้าเสียบสามสายก็เดินสายไฟแค่สองสายก็ได้ โดยเอาข้้ว N กับขั้ว GND มา
รวมกัน จึงเหลือแค่สองสาย เพราะ ขั้ว N และขั้ว GRD ถูกรวมกันตั้งแต่ต้นที่ตู้
คอนซัมเมอร์แล้ว เป็นการประหยัดสายไฟเขียวแถบหลื่องไม่ต้องใช้ 555(งง)
ถ้าใช้ก็ไม่มีปรโยชน์อะไรเพราะมันถูกต่อรวมกันอยู่แล้ว ก้ไม่เข้าใจว่าเขาผลิต
สายเขียวแถบหลืองออกมาทำไม
ข้องแตกต่างที่พบเห็นชัดๆจากการทดลอง....................................!
โปรดใช้ความระมัดระวังในการทดลองโดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มี heater
เช่นเครื่องทำน้ำอุ่น มันอาจจะ explode ได้ ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของ heater
ที่รั่วลงกราวด์ ขอถามหน่อยครับเป็นประเทศเดียวในโลกใช่ไหม ที่นำเอานิวตรอน
มารวมกับ chassis ลงกราวด์ ?
ต่อL1จากแหล่งจ่าย1กับL2 แหล่งจ่าย2 ส่วนN1กับN2 แล้วต่อใช้งาน จะมีปัญหามั้ย หรือว่าต้องทำอย่างไรครับ
สายGROUND AC DC ต่อลงดินรวมกันได้หรือเปล่าครับ
สายกราวด์มีไฟ 1a พอถอดสายกราวด์ออกจากตู้คอนซูเมอร์ ใช้แคมป์มิเตอร์วัดได้ 0 เป็นเพราะอะไรครับ
จั๊มทำไม
แต่ทำไมๆ ต้องจั๊ม เมื่อเธอไม่คิดจริงใจ
ทำไมๆ ความรักที่เธอนั้นลืมต้องเก็บมาคิดฟูมฟาย
อะไรๆ ยังย้อนเข้ามา ทุกช่วงเวลา
นั้นยังไม่เคยจางหาย วันที่ฉันมีเธอ
ไม่ว่าเวลาจะนานเท่าไร ฉันลืมไม่ได้จริงๆ
ขอเสริมให้เพื่อนๆ ครับ เบรกเกอร์ชนิดนั่นมีอยู๋ 2 ประเภท หลักๆ นะ คือ
1. RCCB ที่ตัดเฉพาะ....ไฟฟ้าดูดไฟฟ้ารั่ว
2. RCBO ที่ตั้ง ทั้งไฟฟ้าดูดไฟฟ้ารั่ว และ กระแสเกิน
ถ้าจะไป เปลี่ยนแทนของเก่าในบ้าน แนะนำให้ แบบที่ 2 RCBO
ช่องนี้ ดีที่สุด เรียนง่ายได้ความรู้ดูจนจบวิศวะฯ ไฟฟ้า
ผมจบเครื่องกล แต่ชอบเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน ไฟฟ้า อิเล็ค ทรอนิคส์
สอบถามครับ
อย่างนั้นเราจะต่อสายจากโครงไปลงที่แท่งกาว ทำ
ก็ต่อจากโคมไปเข้านิวตรอนเลยสิครับ
ในเมื่อไฟจะพยายามกลับไปหาแหล่งกำเนิดของมัน
ถ้าหลักๆแล้วแท่งกาวไม่ได้กันไฟฟ้ารั่วจากโครงมาสู่คน
เป็นคลิปที่อธิบายได้ดีมากครับ👍 เข้าใจง่ายดี
คลิปนี้มีประโยชน์ เยี่ยมเลยครับ
ไฟฟ้าไหลกลับไปยังแหล่งกำเนิดในข้อสอง เฉพาะกระแส DC ครับ ไม่เกี่ยวกับ AC
เองก็เพ้อจังไม่ไหลมันจะครบวงจรได้ไง
แล้วถ้าเราต่อสายNเข้าจุดที่ไฟรั่ว แล้วเอาไปเสียบกับรูปลั๊กไฟN สายเดียว เราจะโดนไฟดูดอยู่มั้ยครับ
ถ้านิวตร่อนที่ต้นทางหลุดหรือหลวม แล้วบังเอินหลักกราวด์ 2.4 เมตร ที่เราปักไว้ที่บ้านเมื่อหลายปีก่อนหลวมขาดไม่แน่นเกิดสนิม มันจะเป็นอย่างไรครับ(โครงเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า)
ผมชอบช่องพี่มากๆเลยครับ เข้าใจง่ายมากๆเลย ไว้จะอุดหนุดนะครับ
ถ้าจัมนิวตรอนไฟรั่วแล้วมิตเตอร์ขึ้นถ้าไม่จั้มไฟรั่วแล้วมันไม่ขึ้น
คลิปนี้สอนดีมากครับ ได้ใจความ ขอบคุณมากครับ
ขอสอบถามบ้านผมจั้มนิวตรอลเข้ากราวด์แล้วเบรคเกอร์ตัด เป็นเพราะสาเหตุอะไรครับ
ต้องจั๊มนิวตรอลที่บาร์กราวดน์ก่อนเข้าเมน RCBO ครับ ถ้าจั๊มหลังเมนจะ On RCBO ไม่ได้ เครื่องจะเข้าใจว่าไฟรั่วเลย trip ทุกครั้ง
ถือว่าเป็นการถวนความรู้ไปครับ✓✓✓ แต่ตอนเรียนอาจารย์ไม่ได้สอนลึกขนาดนี้ที่ได้ยินมาเหมือนกับในคลิปนี้ฟังมาจากรุ่นพี่ครับ👍🏻👍🏻👍🏻👍🏻
ขอบคุณครับ
ก็หมายความว่า สายกราวที่เราต่อในปลั้ก3ตานั้น เราก็เอามาจั้มเข้ากับสายนิวตอลอยุ่ดี ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ
ผมสงสัยมาตลอดว่า ถ้าเราเอาLเข้าอุปกรณ์ไฟฟ้าแล้วเอาอีกขาลงG อุปกรณ์ไฟฟ้าทำงานได้แต่มันจะเปลืองไฟไหมครับ หรือทำให้พื้นร้อนไหม สิ่งที่ผมเข้าใจผิดไหมครับ
มันจะใช้ไฟฟรีไง มิเตอร์ไม่หมุน
การไฟฟ้าต่อสาย Nของหม้อแปลงไฟ ฟ้าลงดินถ้าเพลอโดนสาย L ใส่รองเท้าพื้นไม่เปียกหรือพื้นกระเบืองแห้งทาสีเป็นฉนวนหรือยืนอยู่บรรไดโลหะที่มียางเป็นฉนวนไฟก็ไม่ดูด ถ้าเป็นปั้มนำัเครื่องทำน้ำอุ่นต้องต่อสายกราวด์น้ำมาจากดินเครื่องชักผ้าเวลาหยิบผ้าถอดปลักก่อนเครื่องทำน้ำอุ่นก็ใช้ถังพลาสติกรองตักอาบถ้ามีการสลับสายก็อันตรายอยู่ดี
สอบถามครับ ใช้สกรูไลวัดไฟ จะมีสิทธิ์โดนช็อตด้วยไหมครับ ทั้งถ้าไม่ได้ใส่รองเท้าและใส่รองเท้า
ขอบคุณมากๆครับ ชอบๆดูแล้วเข้าใจได้เลย
เบรกเกอร์แบบRCBO ถ้าไม่ต่อสายดิน เมื่อเกิดไฟรั่ว จะตัดไหมครับ
ตัดนะครับเเต่เพื่อความปลอดภัยเเละชัวร์กว่าควรตอกสายGครับ
@@ivannoakkkkkk8640 ว่าจะทำปลั๊กพ่วงใช้เองโดยมีRCBO คุมเต้ารับแทนฟิวส์หนะครับ
@@สุเมธวิเศษเรียน ใช้เบรคเกอร์ธรรมดาก็ได้นะครับ เเต่ถ้ามีต้นทุนนก็ตามกำลังพี่เลย เเต่เเนะนำไม่ควรเอาไปทำปลั๊กครับ555
ตัดครับ แต่จะตัดเมื่อเราไปจับครับ
ตัดครับทดลองมาเมื่อวานนี้ โดยเอามะละกอมาทดลองโดยต่อปลั๊กตัวผู้เสียบเต้ารับที่สายLแล้วเอาสายLไปจิ้มมะละกอดูเบรคเกอร์ตัดครับ
กรณี ตู้เมน จะมีแกนกราว กับแกนนิตรอน แยกกัน ตามข้อบังคับการไฟฟ้า ต้องเอาแกนกราว กับ แกนนิวตรอน เข้าหากันใช่ไหม กรณี ถ้าเราไม่เอาจับเข้าหากัน แบบสมัยก่อน จะดีกับ เจ้าของบ้านมากกว่าไหมครับ
ไม่ดีกับใครแต่ช่างไฟโดนปรับครับ ต่อผิดมาตรฐาน
ใช้โปรแกรมอะไร สร้างอนิเมะแบบนี้ครับ
ส่วนใหญ่ตระกูล adobeทั้งหมดเลย ครับ
จั้มแล้วอันตรายถ้าฟ้าผ่ามากะเอ็นวิ่งชนจีแน่นอน พังทั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าพังทั้งคน แนะนำให้แยก 2ชุด ฝังแท่งทองแดงให้ห่างกัน (แต่การไฟฟ้ารู้ถึงปัญหานี้แล้วจึงได้ออกประกาศว่าให้งดใช้กระแสไฟฟ้าขณะฝนฟ้าคะนอง
อีกเหตุผลหลักที่การไฟฟ้าบังคับให้เอาเมน N เข้าบาร์ G ก่อนแล้วค่อยเอามาเข้าที่หัวเมนก็คือเวลาที่สายส่งของการไฟฟ้า N ขาดหรือชำรุดไป มันจะทำให้ไฟที่มีแรงดัน 220-230 V กลายเป็นแรงดัน 380-400V ทันทีครับถ้าเราต่อกราวด์รวมกันที่ตู้จะทำให้ความเสียหายที่เกิดขึ้นน้อยลงครับ
@kaiaraidotcom ได้ครับ เดี๋ยวผมเลิกงานผมมาพิมพ์อธิบายนะครับ
@kaiaraidotcom คือเวลาที่สาย N ขาด บ้านที่อยู่ต่างเฟสกันจะวิ่งเข้าหากันผ่านสาย N ทีนี้แรงดันตกคร่อมในบ้านทั้งสองเฟสจะอยู่ 380-400V โดยมี N หลังจุดที่ขาดเป็นตัวกลางเชื่อม บ้านในสองเฟสนี้ เฟสไหนที่มีความต้านทานต่ำหรือใช้ไฟมาก แรงดันตกคร่อมเฟสนั้นจะต่ำลง แต่อีกเฟสที่มีความต้านทานสูงหรือใช้ไฟน้อย แรงดันตกคร่อมก็จะสูงแทน เป็นการแบ่งแรงดันกัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในบ้านเฟสแรงดันสูงก็จะพังทันที เวลามันพังส่วนใหญ่มันจะช๊อต พอมันช๊อตมันก็ Bypass แรงดันไปอีกเฟสเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอีกเฟสก็จะพังตามไปด้วยเหมือนกัน
หรือในกรณีที่บ้านใช้ไฟสามเฟส ถ้าทำสาย N ขาด มันก็จะทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่อยู่ต่างเฟสกันวิ่งเข้าหากันเหมือนกับด้านบนครับ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟน้อยจะพังก่อนหลังจากนั้นก็ลากเครื่องใช้ไฟฟ้าอีกเฟสพังตาม
อาการก็ประมาณ สาย N ขาดหลอดจะหรี่ๆ แว๊บๆ จากนั้นไม่นานก็ระเบิดโป๊ะ นั่นแหละ ตอนที่ไฟมันหรี่เนื่องจากแรงดันบ้านเราตกลงแล้วไปเกินที่บ้านอีกหลัง หลังจากบ้านนั้นวินาศสันตโรเรียบร้อยแล้วก็ถึงตาบ้านเราเจอไฟเกินบ้าง
@@yospanagorn2785 ขอบคุณที่ช่วยเสริมครับ ผมทำงานออกเวรมากลับยาวเลย 555555
คอมเมนนี้ถูกต้องคับ👍👍
เพราะฉะนั้นควรใส่เบรคที่มีความสามารถป้องกันไฟเกินด้วยครับ
รบกวนถามผู้รู้ครับ ช่วง4.35บอร์ดทางขวามือเค้าเรียกว่าอะไรครับผม
ไมโครเวฟครับ
ช่องนี้อธิบายชัดเจน ไหลลื่น ไม่วนไปวนมา
3:31 ถ้าไฟ+ มาเตะถึงกัน+ - ถึงกันโดยตรง มันจะช็อตไม่ใช้หรอครับ
ขอบคุณครับ
ช็อตครับ เป็นภาพจำลองทิศทางการไหล(Dc) แต่ในวงจรจริง(Ac)จะมีเบรกเกอร์ คอยตรวจสอบกระแสตัวนี้อยู่ครับ
ทุกคลิปคือความรู้ล้วนๆ สุดยอดคับอาจารย์
สอบถามหน่อยครับสายนิวตรอนปกติ มีไฟได้ไม่เกินกี่โวลท์
ช่องนี้มีประสิทธิภาพมาก
ยิ่ง มีสายกราวเยอะ ในตู้เซอร์กิต ค่าไฟยิ่งถูกไหมครับ
ไม่น่าจะใช่นะครับ
ขอถามครับ
ผมพักอยู่หอพัก พักหลังนี่รู้สึกไฟที่ห้องแกว่งๆสูงเกินอยู่เป็นช่วงๆ อาการแบบ บันลาสคราง พัดลมรอบสูงขึ้น ผมก็กลัวอะไรจะพัง ก็เลยซื้อปลั๊กสเตบิไลเซอร์มาใช้ ก็ช่วยได้ระดับนึง แจ้งหอพักแล้วแต่เค้าก็แก้อะไรไม่ได้(คาดว่าจะไม่เข้าใจ)
คำถามคือ ถ้าผมทำปล๊๊กตัวผู้ขึ้นมาซักตัวนึง จั้ม N กับ G เข้าหากัน มันจะช่วยได้มั้ย และมีผลร้ายอะไรบ้าง เช่น กระแสจะเกินมั้ย ค่าไฟจะเพิ่มมั้ย หรืออื่นๆน่ะครับ คือแบบแจ้งหอแล้วไม่ได้ผล ก็เลยจะแก้ในส่วนของตัวเองน่ะ
N G จั้มกันได้แค่ที่ตู้เมนคอนซูมเมอร์เท่านั้นครับ เอามาต่อเองแบบนี้ไม่ได้ ผิดมาตรฐาน และไม่ได้ช่วยในปัญหานี้
ไฟมันรู้ได้ยังไงครับ ว่าเส้นทางไหนความต้านทานน้อยที่สุด
ผมจะสรุปง่ายๆดังนี้ คือทำไม กฟฟ.ถึง ได้ให้เราตอกกราวด์ด้วยแล้วต้องไปต่อเข้ากับ N สาเหตุคือป้องกันในกรณีที่ N ที่หม้อแปลงชำรุดจะเกิดอะไรขึ้นรู้ไหม N ไม่มีบ้านแต่ละหลังจั๊มคนละเฟสก็จะไปวนเครื่องใช้ไฟฟ้ามาครบวงจรที่ N ของเราเองที่ขาดก็เท่ากับเราต่อไฟทั้งสองเส้น หม้อข้าวเดือดดีจัง หลอดไฟเปิดแป๊ปเดียวก็ขาดแล้วเครื่องเสียงพังพินาศหมดแล้วจะเรียกร้องค่าเสียหายกับใครยกมือไหว้เป็นฝักถั่วขอโทษครับๆๆ แต่ถ้าต่อระบบปัจจุบันนี้ถึง N ที่หม้อแปลงจะขาดแต่ก็จะไม่เป็นไรเพราะเรามี N เป็นของตัวเอง เล่ายาว จริงๆแล้วอยากจะให้ละเอียดกว่านี้
ถ้าเราเอาสาย G มาจั้ม กับสาย N ไฟจะไหลลง ดิน ยิ่งหน้าฝน อันตรายต่อชีวิตครับ
อธิบายได้ดีแต่รูป ตรงขั่วปลั๊ก กับ เกลียวหลอด ดูไม่ออกว่า สายสีเขียว สายสีม่วงมันแตะกันยังไง แตะตรงไหนของ ขั่วบวกลบ ของก้นหรือของเกลียว ส่วนปลั๊กก็ตัดไม่เห็นว่าแตะตรงไหน ถ้ามี รูปขยายแปะไว้จะดีมากเลย ผมไม่มีพื้นความรู้ จึง งงๆ
เคยมีกรณีสายกราวที่เสาหลุดหลวม กระแสวิ่งมาผ่านกราวในบ้าน มิเตอร์วิ่งขึ้นโดยไม่ได้ใช้งาน เสียค่าไฟไปฟรีๆ
ใช้โปรแกรมอะไรในการอธิบายการทำงาน
ครับ
อยากรู้ว่าเวลาเราแปลงไฟจากสลับเป็นตรง เราจะเสียกระแสไปครึ่งหนึ่งไหมครับ
ไม่เสียครับ ถ้าใช้ full bridge rectifier
ตู้คอนซูเมอร์ใช้ไขขวงวัดไฟมีไฟอ่อนช่อง-N.G.บ้านเดินไฟ2เส้น-แต่เต้ารับมี3รู-สายไฟพ่วงถ้ามี3ขาสามเส้น-เสียบแล้วช่องGมีไฟ-ถ้าใช้2ขา3รู-Gไม่มีไฟ-ถ้าวใช้3ขา3รูมีไฟช่องGอันตรายไหม-ใช้ได้ไหม
1.ตรวจเช็คอุปกรณ์ก่อนครับ ต้องมีสักจุดที่ไฟรั่วแน่นอนแต่มันวิ่งผ่านกราวเลยไม่อันตราย
2.ลองดูที่ตู้ ว่าต่อสาย L กับ N สลับกันหรือป่าวที่เบรคเกอร์หลัก เช็คตั้งแต่ต้นสายได้ยิ่งดี
อธิบายได้ชัดเจน พร้อมทั้งตัวอย่างที่เข้าใจได้เลย ขอบคุณมากๆ ครับ
รับทราบครับผม. ขอบคุนสำหรับความรู้ดีๆ
ถ้าปลดสายเมนNออก แล้วต่อแค่สายLกับGที่ต่อลงแท่งกราวพัดลมจะหมุนไหมครับ
ขอความรู้ครับ
แล้วอย่างในเคส คอมพิวเตอร์ที่มีไฟรั่วอยู่อ่อนๆ แทบทุกเครื่อง จะดูดทันทีหากเราไปแตะโดยไม่มีการต่อสาย G ( ไฟรั่วแน่ๆ ) แล้วทีนี้หากเรามาต่อสายดิน ไฟก็รั่วลงดิน แบบนี้เราก็เสียค่าไฟฟ้าฟรีๆ ใช่มั้ย
วอนผู้รู้ชี้แนะครับ
รั่วน้อยมาก ระดับไมโครแอมป์ ค่าไฟที่รั่วไม่น่าเกินเดือนละบาท ดังนั้นไม่จำเป็นต้องกังวล
@@yospanagorn2785 จับแล้วดูดเลย ผมมั่นใจว่าไม่ใช่ระดับไมโครแน่ๆ ยังไงก็ไม่ต่ำกว่าหน่วยมิลิแอมป์
แล้วหากสำนักงานใหญ่ๆที่มีการใช้งาน คอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ ใช้งาน24 ชม. ผมมองว่ายังไงก็สิ้นเปลืองอยู่ดี
@@niwutcheekor8012 ถ้าแค่จับแล้วดูดมือเบาๆ นั่นแค่ระดับไมโครแอมป์ แต่ถ้าระดับมิลลิแอมป์กล้ามเนื้อจะกระตุก ถ้ารั่วถึงระดับกล้ามเนื้อกระตุกต้องตรวจสอบแล้ว ระบบไฟมีปัญหาแน่ มันอันตราย
บางที่มีสายกราวด์ทุกปลั๊กต่อถึงกันก็จริงแต่ไม่ได้ต่อกราวด์กับ N และกราวด์ดันมีปัญหาไม่ลงดินอีกทำให้ไฟรั่วรวมๆกันขึ้นถึงระดับมิลลิแอมป์ ดูดกล้ามเนื้อกระตุกได้เหมือนกัน
สำหรับผมยอมจ่ายค่าไฟเพิ่มเดือนละไม่กี่บาทเพื่อความปลอดภัยดีกว่า และสำนักงานใหญ่เขาไม่มาคิดเรื่องหยุมหยิมนี้หรอก ห้อง SERVER รวมคอมใน OFFICE บางที่กินไฟมากกว่า 100KW รั่วลงดินนิดๆหน่อยๆมันจิ๊บๆ พวกเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทสวิทชิ่งยังไงก็หนีไฟรั่วไม่พ้น ถ้าคอมมันไม่มีปัญหามันก็รั่วแค่ระดับไมโครแอมป์ดูดมือจิ๊ดๆเท่านั้น รวมๆกันหลายเครื่องมันก็เยอะอยู่
กรณีที่ไฟรั่วลงโครง กลับไปต้นกำเนิดผ่านสาย ground แทน ถ้าเราไปจับโครงกรณีไม่ใส่รองเท้าไฟจะวิ่งผ่านเราน้อยกว่าวิ่งไปที่แหล่งจ่ายใช้ไหมครับ ถ้ากระแสวิ่งไม่เกิน 30A เบรคเกอร์ 30A ไม่ตัดเราก็อันตรายถึงชีวิตใช่ไหมครับ
ใช่ครับ เพราะกระแสวิ่งผ่านเราน้อยมาก แค่เกิน30 มิลลิแอมแตายแล้ว ควรติดเครื่องกันไฟดูด (เอิอธ์ลีคเกรต)Earth leaget ของต่างปท. ไม่แพงขั้นต่ำ ราคา 250 ของญี่ปุ่น อเมริกา เยอรมัน ผมใช้มา 20 กว่าปียังไม่เสียเลยครับปท. กล่าวมานี้คุณภาพดีมากๆ
ทำไมตอนเรียน วิดวะไฟฟ้าจำได้ อาจารย์ บอกไม่ให้ตอกกราวด์ที่บ้านเอง เพราะจะเกิดความต่างศักดิ์ สูงมากเวลาฟ้าผ่า เมื่อเทียบกราวด์บ้าน เพราะความต้านทานกราวด์มักจะสูงกว่ากราวด์การไฟฟ้าถ้าไม่ทำให้ดี สายนิวทรอลบ้าน จะไหลกลับไปที่หม้อแปลงอยู่แล้ว เพราะฝั่ง low voltage เป็นหม้อแปลง แบบ Y สงสัยต้องกลับไปถามจารย์ใหม่😂หรือทุกวันนี้ การไฟฟ้าวัเค่าควาต้านทานกราวด์ที่ตัวบ้านด้วย อาจจะเป็นอย่างนั้น เพราะเรียนมา ยี่สิบกว่าปีแล้ว😅
เรื่องนี้ต้องอีกหลายตอน มั้ง แต่เริ่มถูกแล้วครับ
แอบสงสัยตรงวงจรบอร์ดขนาดเล็ก pcb ทั่วเขียนต่อลง G แต่ไม่ใช้สัญลักษณ์ N แทน แต่อย่างบอร์ดทดลองก็เขียน ลบ - ชัดเจน