สภาพแวดล้อมกับพืช ตอนที่ 1 - หลักการ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 29 มี.ค. 2018
  • โดย ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์
    นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
    www.cab.ku.ac.th/suntaree
    ณ ห้องประชุม ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
    วันที่ 13 มีนาคม 2561
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 40

  • @boon19092505
    @boon19092505 5 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้เยอะเลย อยากให้นำความรู้แบบนี้ มาลงบ่อยๆ ครับ เกษตรกรจะได้ความรู้ทางวิชาการที่ถูกตัองครับ

  • @kanrayatusanasarit843
    @kanrayatusanasarit843 5 ปีที่แล้ว +2

    สุดยอดความสามารถและการนำไปใช้ กราบขอบพระคุณอาจารย์ค่ะ

  • @user-wy3eu4sn4b
    @user-wy3eu4sn4b 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์
    สำหรับความรู้

  • @user-tq6xd1gf6b
    @user-tq6xd1gf6b 5 ปีที่แล้ว +1

    อาจารเก่งมากครับ

  • @pdunilife8257
    @pdunilife8257 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ อาจารย์สุดยอดมากค่ะ

  • @petchpaitoon
    @petchpaitoon 5 ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้มากๆ อยากให้มีการเผยแพร่ต่อไปเรื่อยๆครับ

  • @ohmwijittsompon9380
    @ohmwijittsompon9380 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @user-tr1rl6ot4f
    @user-tr1rl6ot4f 5 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากค่ะ ได้ความรู้ อ.เก่งมากกกค่ะ สนุกด้วย อยากไปเรียนกับอ.เลย

  • @abddef9579
    @abddef9579 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @plawan00021
    @plawan00021 2 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้มีบรรยานจาก อ.สุนทรีย์ อีกครัย

  • @nosza555
    @nosza555 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @pintt3130
    @pintt3130 2 ปีที่แล้ว

    อ.คะ รบกวนหน่อยค่ะ มังคุดใบเหลืองเป็นเพราะอะไรคะ/เหลืองด้านในต้น เยอะค่ะ ด้านนอกยังเขียวอยู่คะ

  • @user-rn9rh8zm1c
    @user-rn9rh8zm1c 2 ปีที่แล้ว +1

    สถานีอากาศย่อยประจำสวน ตัวละ 3-4 หมื่นบาท ที่อาจารย์ สุนทรี บรรยาย หาซื้อได้ที่ไหนครับ

  • @klmnknv1476
    @klmnknv1476 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์เป็นคนอำเภอพิปูนในสมัยก่อนใช่หรือไม่

  • @somepoplimchengta2381
    @somepoplimchengta2381 22 วันที่ผ่านมา

    ดี แต่เสียเวลา เกษตรกรจะเข้าใจเพื่อนำไปใช้//แม้แต่ นส เองยังสอบตกเลย/// ต้องแปลผลให้เข้าใจง่ายต่อการนำไปใช้// ไม่ต้องแสดงว่าฉันเจ้าใจสิ่งที่ยาก /// เสนอทำเครื่องแปลสัญญาณหรือสร้างนักวิชาการการหรือเกษตรอำเภอแปลค่าจากเครื่องแล้วพิมพ์แจก ประชาชน

    • @user-fm7ob1xo8c
      @user-fm7ob1xo8c 21 วันที่ผ่านมา

      เขาอธิบายเพื่อให้เข้าใจกระบวนการทั้งหมด เวลาลงสนามจะมีปัจจัยแตกต่างกันตามแต่สถานการณ์ก็จะสามารถจัดการปัญหาให้ถูกจุดได้ครับ อาจารย์เค้าอยากให้ทุกคนยืนบนลำแข้งตัวเองให้ได้

  • @lertdontree3657
    @lertdontree3657 5 ปีที่แล้ว

    กรุณาพูดเป็นภาษาไทยให้มากที่สุดเกษตรกรไม่ได้ไม่รู้ภาษาอังกฤษถึงปานนั้น

    • @user-kv5kc9mj7q
      @user-kv5kc9mj7q 4 ปีที่แล้ว +4

      Lert Dontree พัฒนาตน ตามชาวบ้านเขาบ้าง ไม่ใช่ให้เขาลด ตัวลงมาหา

    • @tneaanny
      @tneaanny 3 ปีที่แล้ว +3

      บ่อน้ำไม่เดินไปหาหรอกครับ

    • @user-uh5hx6us3s
      @user-uh5hx6us3s 2 ปีที่แล้ว

      สมัยเด็กๆไม่เรียนเอง...แก่แล้วมาบ่น...

  • @etheltran1498
    @etheltran1498 3 ปีที่แล้ว

    08:38
    14:08
    12:28

  • @sakolkitkasiwat2614
    @sakolkitkasiwat2614 2 ปีที่แล้ว

    เวลาปากใบเปิดอยู่หรือปิดอยู่ดูยังไงนะครับ

    • @CABKUChannel
      @CABKUChannel  2 ปีที่แล้ว

      ต้องใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์วัด มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
      ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ

  • @dejkho695
    @dejkho695 2 ปีที่แล้ว

    เพิ่ม co2 โดยใช้ เผาใบไม้สดได้ไหมครับ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 2 ปีที่แล้ว +1

      ได้คะ แต่จะถูกต่อต้านว่าทำให้อากาศเสีย พยายามให้ควันอยู่แต่ในทรงพุ่ม

    • @dejkho695
      @dejkho695 2 ปีที่แล้ว

      @@suntareeyingjajaval6739ขอบคุณครับ อาจารย์ใบพืชเอาอ๊อกซิเจน ไปใข้ ในขั้นตอนไหนครับ ในเมื่อปากใบ เป็นตัวคายน้ำ สามารถดูจากคลิปไหนได้ครับ

    • @dejkho695
      @dejkho695 2 ปีที่แล้ว

      @@suntareeyingjajaval6739 อาจารย์ครับเราต้องรักษาค่า vpd ของไม้ผล ไม่ให้เกินมาตรฐาน กี่ชั่วโมงต่อวัน ถึงจะทำให้ปากใบพืชเปิดปกติครับ..

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 2 ปีที่แล้ว +1

      @@dejkho695 เมื่อปากใบเปิด แก๊สทุกชนิดจะแพร่โมเลกุลเข้าหรือออกได้ ขึ้นกับว่าความเข้มข้นส่วนไหนมีสูงกว่าระหว่างในใบกับในอากาศ ดังนั้น ทั้งไอน้ำ อ๊อกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์จึงมีการแพร่ทั้งเข้าและออกจากใบได้ สวนทิศทางกันได้ ในช่วงที่ใบสังเคราะห์แสงในอัตราที่สูงกว่าหายใจ อ๊อกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์จะแพร่ออกจากใบ แต่ในช่วงกลางคืน อ๊อกซิเจนจะแพร่เข้าเพื่อการหายใจ คำว่าปากใบปิดในช่วงมืด หมายถึงปิดแคบลงกว่าช่วงกลางวันแต่ไม่ได้ปิดหมด เพราะฉะนั้น ช่วงกลางคืนแก๊สทุกชนิดยังเข้าออกจากใบได้ ในคลิปไม่ได้พูดถึงการแลกเปลี่ยนอ๊อกซิเจน เพราะเราไม่มีอุปกรณ์วัด ลองดูคลิปของต่างประเทศคะ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 2 ปีที่แล้ว +1

      @@dejkho695 ที่วัดไม้ยืนต้นมา ปากใบจะเปิดได้มากตั้งแต่เริ่มมีแดดในช่วงเช้า แต่เมื่อแดดจัดขึ้นจนอากาศและใบร้อน ค่า vpd,air ที่สูงเกินประมาณ 2 กิโลพาสคาลจะชักนำให้ปากใบปิดแคบลง ซึ่งเป็นช่วงประมาณ 10 โมงไปแล้ว เพราะฉะนั้น ใบจะทำงานได้มากอยู่ประมาณ 3-4 ชม เท่านั้นเอง สำหรับเรา เราจะพยายามปรับสภาพอากาศถึงไม่เกิน 11 โมงคะ มากกว่านี้คิดว่าเสียค่าใช้จ่ายสูงเกิน ให้มีสภาพแห้งบ้าง น่าจะลดปัญหาเรื่องโรคพืชด้วย