ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
โดยส่วนตัว รฟท ควรจะปฎิรูปองกรใหม่ โดยแยกเป็น 3 องกรย่อย1.องกรบริการเรื่อง โครงสร้างทางรางและตัวรถไฟ ดูและระบบราง และ ซ่อมบำรุงรถไฟโดยเฉพาะ. ฝึกคนด้านวิศวกรรมทางราง2.องกรบริหารจัดการด้าน การเดินรถ หน้าที่คือ ให้บริการเดินรถ, จัดหารถมาบริการ และฝึกพนักงานเดินรถ3.องกรบริหารจัดการที่ดินและอสังหาในส่วนของอาคาร หน้าที่คือ ดูในส่วนของ TOD คือส่วนของอาคาร ชานชาลา และทรัพย์สินอื่นของการรถไฟ เข่นการให้เช่าที่โดยทั้ง 3 องกรควรจะมีงบประมาณในการบริหารจัดการในส่วนที่ตนรับผิดชอบ เพราะอย่างน้อยถ้าองค์ใดเป๋ 2 องก็ยังบริหารจัดการได้ ต้องเข้าใจอย่างหนึ่งว่า รายได้และเงินที่เอามาบริหารจัดการของ รฟท มาจาก 3 ทางคือ 1.ท่าตรงจากบริการเดินรถและการบริหารทรัพย์สิน ซึ่งส่วนมากขาดทุนยับ เพราะราคาบริการชั้น 3 และ ชั้น 2 พัดลม ถูกมาก ดังนั้นจึงขาดทุนสะสม ต้องเอางบประมาณจากภาษีมาอุดเยอะ, 2.รายได้จากงบจากรัฐบาล ส่วนนี้ก็จะหนักไปที่เมก้าโปรเจค คือขยายโครงสร้าง จัดซื้อรถ รวมไปถึงค่าจ้างพนักงาน ในส่วนนี้งานบางอย่างสามารถจ้าง outsourcing จากภายนอกได้ เช่น งานแม่บ้าน งานบัญชี งานช่างอาคาร การที่จ้างจากภายนอกมันก็มีการตกลงของ KPI เข้ามาควบคุมได้ และ 3.รายได้จากการกู้ยืมไฟแนนท์ แน่นอนว่าในเมื่อ รายได้จาก 2 หน่วยงานแรกไม่พอก็ต้องกู้เงิน แบ้ง หรือ กองทุน มาอุดหนุน สิ่งที่อาจจะทำให้การลดไฟพังได้เลยคือ หนี้สะสมและดอกเบี้ยรฟท ควรลื้อ บูรณะองกรครั้งใหญ่ได้แล้ว ต้องไปศึกษาว่า AOT การท่าเรือ ทำอย่างไรถึงมีผลกำไร, ต้องไปศึกษาว่า การบินไทย และ ไปรษณีย์ยุคใหม่เขาบริหารจัดการลดหนี้เขาได้อย่างไร ถึงพลิกมาเป็นกำไร หลายๆอย่างมันก็เป็นภาระที่เป็นการจัดการบริหารไม่จำเป็น เช่น ถนนเรียบรางรถไฟ คือ รฟท ไม่ได้ใช้เพื่อกิจการตัวเอง ทำถูกแล้ว ที่ยกให้ กทม หรือ อบต/อบจ. จังหวัดนั้นเข้ามาดูแลแทน เพราะเขามีงบมาดูแลบริหารจัดการได้ อะไรที่เราไม่เชี่ยวชาญก็ควรให้คนอื่นมาทำ หรือมาบริหารร่วม เช่น การบริหารชานชาลาและสถานีรถไฟ คือพวกนี้มัน outsourced ได้แทบทัังหมดเลย เอกชนส่วนมากเก่งในการบริหารจัดการอสังหาฯ เขารู้ว่าควรจะแก้ปัญหาอย่างไร รฟท ควรไปดูเรื่องของแผนพัฒนา TOD แทนว่าจะพัฒนาอย่างไรในเมื่อมันเป็นที่ดินของการรถไฟ ให้เอกชน หรือ รัฐ มาใช้ประโยชน์ตามแผน TOD แล้วจ่ายค่าเช่าให้ รฟท ก็เป็นอีกรายได้หนึ่ง โดยเฉพาะที่ดินในต่างจังหวัด แต่สิ่งสำคัญคือ ต้องเป็นการทำอสังหาฯที่มาส่งเสริมการเดินทางด้วยรถไฟ. สิ่งสำคัญคือ รฟท ถึงเวลาแล้วที่จะ ให้บริการเดินรถ ร่วมกับเอกชน เมื่อรถไฟทางคู่เปิดบริการ รฟท ก็ดูแลการเดินรถในส่วนรถโดยสารประจำไป และการให้บริการทัวร์ท่องเที่ยว ไปหารถไฟจากทั่วโลกมารีโนเวท แบบที่ทำกับ kiha และ royal blossom คือคนเขาชอบมันขายได้อยู่แล้ว การที่เขาได้เห็นรถไฟในช่วงชีวิตหนึ่งกลับมาวิ่งได้อีก มันยิ่งกว่าฝัน ส่วนบริการรถชั้น 1-3 ก็ปรับปรุงให้ดีขึ้น แต่ให้เพิ่มในส่วน รถไฟพรีเมี่ยมขึ้นมา อันนี้ควรร่วมทุนกับเอกชน ให้เขาบริหารจัดการ เดี๋ยวเขาก็ไปดึงผู้เชี่ยวชาญในแต่ละ sector มาเอง เราอาจจะได้เห็น รถไฟพรีเมี่ยมหรูๆ พวงตู้ภัตตาคารทำอาหารสดเสริฟ หรือจะมาในรูปของตูเสบียงแบบร้านสะดวกซื้อเคลื่อนที่ อารมณ์เหมือนทำ 7-11 เคลื่อนที่ได้ คือพวกนี้ รฟท ไม่ถนัดบรหารจัดการเอง ก็จะจี้ไม่ถูกว่า ลูกค้าที่เขายอมจ่ายแบบ first class เขาต้องการอะไรมากกว่าที่นั่งชมวิวดีๆ ประเทศไทยเรามี ททท, เอกชนที่เขาเชี่ยวชาญเรื่องการท่องเที่ยวเยอะมากๆ มันจะเกิดการใช้ความชำนาญและความคิดสร้างสรรค์มาบริหารจัดการเพื่อให้ลูกค้าได้ประสบการณ์ที่ดีที่สุดในการเดินทาง มันก็อาจจะเกิดบริการแบบ VIP พ่วงโรงแรมสุดหรูของการรถไฟ มีอาหารอย่างดีเสริฟ หรือ การบริการรถไฟรวมเข้ากับมินิคอนเสิร์ต, ให้บริการเล่นเกม,ไพ่,บอร์ดเกม ในระหว่างเดินทาง😂😂😂
จากใจจริง
To you and your family and everyone on the channel a happy new year 🇧🇷🙋♂️
หลังคาชานชลา แบบนี้ยังดีกว่าหลายๆสถานีที่เป็นแบบเพิงแหงน ( ไม่รู้เรียกว่าแบบไหน) ที่กันแดดกันฝน ไม่ได้เลย
สุดยอดมากสถานีนครสวรรค์ สวยงามและทันสมัยแล้วครับ บันไดโบกี่พอดีกับชานชลา เหมือนต่างประเทศที่เจริญเช่นอังกฤษ ฝรั่งเศษ ญี่ปุ่น แล้วครับ
จริงๆไทยเหมือนอินโดคล้ายๆกันสถานี
ยากมีตู้มีนี้กับขบวน85กับ86มั้งครับและ173ด้วยครับ
หนาว
ผมเองก็ยากนั่งครับ
ด่วนอุตราวิถี รับผู้โดยสารได้เท่าไหร่ครับ แบบเต็มทุกที่นั่ง
ข.51 เดินทางไปเลยเมื่อวานนี้28 ใช่ไหม ?
จ่าบอลผมว่าชานชลามันเดินอ้อมไกลไปครับผมอยากให้ตัดแบ่งครึ่งระหว่างริฟกับชานชลาแถบใต้ให้ทำบรรไดแบบสถานีปากน้ำโพ
คุณแม็กซ์ครับ ไม่ใช่จ่าบอล
เสียดายที่ว่า รถไฟไทยทำ สุดขอบฟ้า ยังไม่นำมาใช้เท่านั้น
แค่นี้
อารมณ์คล้ายสถานีYogyagatarที่อินโดเลยครับ
โดยส่วนตัว รฟท ควรจะปฎิรูปองกรใหม่ โดยแยกเป็น 3 องกรย่อย
1.องกรบริการเรื่อง โครงสร้างทางรางและตัวรถไฟ ดูและระบบราง และ ซ่อมบำรุงรถไฟโดยเฉพาะ. ฝึกคนด้านวิศวกรรมทางราง
2.องกรบริหารจัดการด้าน การเดินรถ หน้าที่คือ ให้บริการเดินรถ, จัดหารถมาบริการ และฝึกพนักงานเดินรถ
3.องกรบริหารจัดการที่ดินและอสังหาในส่วนของอาคาร หน้าที่คือ ดูในส่วนของ TOD คือส่วนของอาคาร ชานชาลา และทรัพย์สินอื่นของการรถไฟ เข่นการให้เช่าที่
โดยทั้ง 3 องกรควรจะมีงบประมาณในการบริหารจัดการในส่วนที่ตนรับผิดชอบ เพราะอย่างน้อยถ้าองค์ใดเป๋ 2 องก็ยังบริหารจัดการได้ ต้องเข้าใจอย่างหนึ่งว่า รายได้และเงินที่เอามาบริหารจัดการของ รฟท มาจาก 3 ทางคือ 1.ท่าตรงจากบริการเดินรถและการบริหารทรัพย์สิน ซึ่งส่วนมากขาดทุนยับ เพราะราคาบริการชั้น 3 และ ชั้น 2 พัดลม ถูกมาก ดังนั้นจึงขาดทุนสะสม ต้องเอางบประมาณจากภาษีมาอุดเยอะ, 2.รายได้จากงบจากรัฐบาล ส่วนนี้ก็จะหนักไปที่เมก้าโปรเจค คือขยายโครงสร้าง จัดซื้อรถ รวมไปถึงค่าจ้างพนักงาน ในส่วนนี้งานบางอย่างสามารถจ้าง outsourcing จากภายนอกได้ เช่น งานแม่บ้าน งานบัญชี งานช่างอาคาร การที่จ้างจากภายนอกมันก็มีการตกลงของ KPI เข้ามาควบคุมได้ และ 3.รายได้จากการกู้ยืมไฟแนนท์ แน่นอนว่าในเมื่อ รายได้จาก 2 หน่วยงานแรกไม่พอก็ต้องกู้เงิน แบ้ง หรือ กองทุน มาอุดหนุน สิ่งที่อาจจะทำให้การลดไฟพังได้เลยคือ หนี้สะสมและดอกเบี้ย
รฟท ควรลื้อ บูรณะองกรครั้งใหญ่ได้แล้ว ต้องไปศึกษาว่า AOT การท่าเรือ ทำอย่างไรถึงมีผลกำไร, ต้องไปศึกษาว่า การบินไทย และ ไปรษณีย์ยุคใหม่เขาบริหารจัดการลดหนี้เขาได้อย่างไร ถึงพลิกมาเป็นกำไร หลายๆอย่างมันก็เป็นภาระที่เป็นการจัดการบริหารไม่จำเป็น เช่น ถนนเรียบรางรถไฟ คือ รฟท ไม่ได้ใช้เพื่อกิจการตัวเอง ทำถูกแล้ว ที่ยกให้ กทม หรือ อบต/อบจ. จังหวัดนั้นเข้ามาดูแลแทน เพราะเขามีงบมาดูแลบริหารจัดการได้ อะไรที่เราไม่เชี่ยวชาญก็ควรให้คนอื่นมาทำ หรือมาบริหารร่วม เช่น การบริหารชานชาลาและสถานีรถไฟ คือพวกนี้มัน outsourced ได้แทบทัังหมดเลย เอกชนส่วนมากเก่งในการบริหารจัดการอสังหาฯ เขารู้ว่าควรจะแก้ปัญหาอย่างไร รฟท ควรไปดูเรื่องของแผนพัฒนา TOD แทนว่าจะพัฒนาอย่างไรในเมื่อมันเป็นที่ดินของการรถไฟ ให้เอกชน หรือ รัฐ มาใช้ประโยชน์ตามแผน TOD แล้วจ่ายค่าเช่าให้ รฟท ก็เป็นอีกรายได้หนึ่ง โดยเฉพาะที่ดินในต่างจังหวัด แต่สิ่งสำคัญคือ ต้องเป็นการทำอสังหาฯที่มาส่งเสริมการเดินทางด้วยรถไฟ.
สิ่งสำคัญคือ รฟท ถึงเวลาแล้วที่จะ ให้บริการเดินรถ ร่วมกับเอกชน เมื่อรถไฟทางคู่เปิดบริการ รฟท ก็ดูแลการเดินรถในส่วนรถโดยสารประจำไป และการให้บริการทัวร์ท่องเที่ยว ไปหารถไฟจากทั่วโลกมารีโนเวท แบบที่ทำกับ kiha และ royal blossom คือคนเขาชอบมันขายได้อยู่แล้ว การที่เขาได้เห็นรถไฟในช่วงชีวิตหนึ่งกลับมาวิ่งได้อีก มันยิ่งกว่าฝัน ส่วนบริการรถชั้น 1-3 ก็ปรับปรุงให้ดีขึ้น แต่ให้เพิ่มในส่วน รถไฟพรีเมี่ยมขึ้นมา อันนี้ควรร่วมทุนกับเอกชน ให้เขาบริหารจัดการ เดี๋ยวเขาก็ไปดึงผู้เชี่ยวชาญในแต่ละ sector มาเอง เราอาจจะได้เห็น รถไฟพรีเมี่ยมหรูๆ พวงตู้ภัตตาคารทำอาหารสดเสริฟ หรือจะมาในรูปของตูเสบียงแบบร้านสะดวกซื้อเคลื่อนที่ อารมณ์เหมือนทำ 7-11 เคลื่อนที่ได้ คือพวกนี้ รฟท ไม่ถนัดบรหารจัดการเอง ก็จะจี้ไม่ถูกว่า ลูกค้าที่เขายอมจ่ายแบบ first class เขาต้องการอะไรมากกว่าที่นั่งชมวิวดีๆ ประเทศไทยเรามี ททท, เอกชนที่เขาเชี่ยวชาญเรื่องการท่องเที่ยวเยอะมากๆ มันจะเกิดการใช้ความชำนาญและความคิดสร้างสรรค์มาบริหารจัดการเพื่อให้ลูกค้าได้ประสบการณ์ที่ดีที่สุดในการเดินทาง มันก็อาจจะเกิดบริการแบบ VIP พ่วงโรงแรมสุดหรูของการรถไฟ มีอาหารอย่างดีเสริฟ หรือ การบริการรถไฟรวมเข้ากับมินิคอนเสิร์ต, ให้บริการเล่นเกม,ไพ่,บอร์ดเกม ในระหว่างเดินทาง
😂😂😂
จากใจจริง
To you and your family and everyone on the channel a happy new year 🇧🇷🙋♂️
หลังคาชานชลา แบบนี้ยังดีกว่าหลายๆสถานีที่เป็นแบบเพิงแหงน ( ไม่รู้เรียกว่าแบบไหน) ที่กันแดดกันฝน ไม่ได้เลย
สุดยอดมากสถานีนครสวรรค์ สวยงามและทันสมัยแล้วครับ บันไดโบกี่พอดีกับชานชลา เหมือนต่างประเทศที่เจริญเช่นอังกฤษ ฝรั่งเศษ ญี่ปุ่น แล้วครับ
จริงๆไทยเหมือนอินโดคล้ายๆกันสถานี
ยากมีตู้มีนี้กับขบวน
85กับ86มั้งครับ
และ173ด้วยครับ
หนาว
ผมเองก็ยากนั่งครับ
ด่วนอุตราวิถี รับผู้โดยสารได้เท่าไหร่ครับ แบบเต็มทุกที่นั่ง
ข.51 เดินทางไปเลยเมื่อวานนี้28 ใช่ไหม ?
จ่าบอลผมว่าชานชลามันเดินอ้อมไกลไปครับผมอยากให้ตัดแบ่งครึ่งระหว่างริฟกับชานชลาแถบใต้ให้ทำบรรไดแบบสถานีปากน้ำโพ
คุณแม็กซ์ครับ ไม่ใช่จ่าบอล
เสียดายที่ว่า รถไฟไทยทำ สุดขอบฟ้า ยังไม่นำมาใช้เท่านั้น
แค่นี้
อารมณ์คล้ายสถานีYogyagatarที่อินโดเลยครับ