ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ได้ความรู้เกี่ยวกับรถไฟมากเลยครับ
ได้ความรู้อีกแล้วครับ รอยต่อแบบที่ 2 พึ่งเคยเห็นนี่แหละครับ
'รางผ่าซีก'! ไม่เคยเห็นมาก่อนที่น่าแปลกตาอีกอันคือแผ่นประกบรางแบบนูนออก เก่าอย่างนี้.. หาดูยาก!
ฟังเสียงรถไฟกระทบรางเพราะดีครับ
ชอบครับ..ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเกี่ยวกับรถไฟ
รอยต่อแบบเฉียงๆ มักจะใช้แถวๆ เชิงสะพานขนาดใหญ่ๆ หรือบนสะพาน บนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวก็มีนะ เวลาวิ่งผ่านจะสมูทกว่าแบบหน้าตัดตรง สมัยก่อนอากาศร้อนมากๆ รางขยายจนคด คนรถไฟเรียก รางดุ้ง ต้องปิดซ่อมหรือชะลอด้วยความเร็วต่ำมากๆ อุปกรณ์ที่อยู่บนรางอีกอันที่น่าสนใจคือ หม้อจารบีชโลมราง มักจะติดตั้งในทางโค้ง ทางเขาเท่าที่ทราบสายอีสานน่าจะมีแถวๆ ช่วงที่ผ่านแนวเขาดงพญาเย็น แต่พบได้มากในเส้นทางสายเหนือช่วงโค้งทางเขา ตั้งแต่ออกจากศิลาอาสน์ไปจนถึงหนองหล่ม จะวางเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันบังใบไปกินเนื้อราง
ีร
ความรู้ใหม่ขอบคุณครับ😮😮😮
เพิ่งเคยเห็นครั้งแรกครับ 😊👍
ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ กับตัน
รอยต่อรางในแบบที่ 2 ในกรุงเทพฯ สามารถพบเห็นได้ในรถไฟฟ้าหลายๆที่ของไทยครับ ส่วนใหญ่จะอยู่ตรงก่อนเข้าส่วนต่อขยายเพราะโครงสร้างไม่ได้สร้างพร้อมกันและบริเวณก่อนสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ทั้งของ BTS และ MRT ครับที่ทราบว่ามีก็คือ BTS สายสีลมแถวๆสถานีสะพานตากสิน , สถานีบางหว้า และ สายสุขุมวิท ก่อนข้ามโทรเวย์หลังออกจากสถานีหมอชิตไป ห้าแยกลาดพร้าว ส่วน MRT จะเป็นส่วนต่อขยายเส้นจรัญแถวๆสถานีบางโพ ซึ่งตอนนี้ยังไม่เปิด
ขอบคุณมากครับ
ชอบรถไฟมาก
พิลึกกึกกือแท้จ้า 😁😁😁
ติดตามทุกคลิปครับ
ติดประกับรางผมเคยทำแล้วครับ ศรีสะเกษถึงอุบล ผมขันน็อตจนมือแตก
รอยต่อรางมีอยู่ 2 ที่ที่เวลารถไฟวิ่งจะเป็นจังหวะและเพราะ มีเส้นทางสายกาญจนบุรีกับสายมหาชัยครับ ได้ชมคลิปแล้วได้ความรู้ดีมากเลยครับ
เยี่ยมครับ
โนนพยอม จ. ขอนแก่นใช่มัยคับ
👌👍♥
โคตรฟินกับเสียงกระทบรอยต่อ #แต่..เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยได้ยินแล้วอ่ะครับ เปลี่ยนรางหมดแล้วเหรอครับ
สวัสดีครับ พี่สุรเสียง อักษร ต.30 ตามทางรถไฟ มีความหมายว่าอะไรหรอครับ
ให้ใช้ความเร็วต่ำกว่า 30 km/h
ได้ความรู้ไปอีก1ขั้น
มันเเปลกมากเลยครับ อยู่ที่ไหน
ตอบแทน ที่รางรถไฟครับ
@@escyt9752 คิดว่าดีก็ทำต่อไป
สายใต้ก็มีนะครับจะอยู่แถวๆสะพานเสาวภาที่สถานีนครชัยศรีประมาณนี้ครับ
สพานสีขาวใช่ไหม นครศร๊ธรรมราช - หาดใหญ่
ที่นครปฐมครับ
@@t.surasak6941 แต่ผทก็เคยเห็นอยู่
พี่ ผมอยากรู้เรื่องของ รางประกบหรือรางดุ้งครับ ทำไมมันต้องมีมันช่วยอะไร ผมเห็นบางครั้งอยุ่ตรงสะพานบางครั้งอยุ่ทางตรง ถ้าพี่ลงแล้วอย่าลืมแจ้งเตือนให้ผมรู้ด้วยน่ะคับ เพราะผมสังเกตุมาตั้งแต่เด็ก จนปานนี้โตแล้วก็ยังไม่รู้เลย😊😊😊
กระแสไฟฟ้าที่ปล่อยวิ่งตามรางมันกี่โวลท์ครับ?
ของ BTS และ MRT ใช้ ไฟฟ้ารางที่สาม 750VDCของ ARL เชื่อมสนามบิน,สายสีแดงเข้ม,สายสีแดงอ่อน และรถไฟทางไกลในอนาคต ใช้ไฟ AC 25kV โดยใช้ไฟจากสายไฟฟ้าที่อยู่ด้านบน จากขารับไฟฟ้า(Collector Shoe) ของหัวรถจักรไฟฟ้าส่วนควบคุม จำนวนสองเส้นบวกลบ เส้นละ 25kV หรือกล่าวโดยย่อคือ ใช้ระบบจ่ายไฟเหนือหัวจักรขนาด 25kVAC OCS (Overhead Catenary System)คำอธิบาย1kV เท่ากับ 1000 โวลต์10kV เท่ากับ 10000 โวลต์DC เท่ากับ ไฟฟ้ากระแสตรง เช่นมือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้นAC เท่ากับ ไฟฟ้ากระแสสลับ เช่นหลอดไฟ ตู้เย็น สว่าน หม้อหุงข้าว พัดลม เป็นต้น
@Kantang Line Railwayfan ครับ ไม่รู้ว่ามีสายไฟด้วย นึกว่าถามเรื่อง การใช้ไฟฟ้าของรถไฟ ต้องขอโทษทีครับที่ตอบผิดวัตถุประสงค์
สมมุติว่าเราตกไปบนรางรถไฟBTS เราจะโดนไฟฟ้าช็อตป่าวครับ
@@กวีคนที่สาม ตามหลักแล้วไม่โดนนะครับ เพราะไฟฟ้าที่ปล่อยจะอยู่รางที่สามซึ่งมีฉนวนอยู่โดยรอบเว้นด้านล่างซึ่งใช้เป็นจุดสัมผัสกับแขนรับไฟฟ้าที่ยื่นออกมาจากตัวรถ แต่ก็ไม่ควรประมาท เพราะผมไม่แน่ใจว่า กราวด์ที่รางรถไฟ จะมีไฟหลงเหลืออยู่หรือไม่ เพราะใช้กระแสไฟฟ้าตั้ง 750 VDC ซึ่งปกติไฟดีซีจะไม่ซอตคน เพราะโวลล์ต่ำแอปป์สูง แต่ในกรณีเช่นนี้ จะเห็นว่ากระแสมีแรงดันตั้ง 750 VDC ไม่ใช่ 12 หรือ 24 ตามที่เราใช้งานกันโดยทั่วไป จึงไม่ควรประมาทจะเป็นการดี แต่ยืนยันว่า ตกลงไปในราง BTS ไฟฟ้าไม่ซอตแน่นอน (ย้ำว่ารางรถไฟ) ไม่ใช่รางจ่ายไฟ
@@themantheman9864 ขอบคุณครับ
สวัสดีค่ะหนูชอบฟังวิดีโอของพี่ทุกอันเลยค่ะ
ยินดีต้อนรับสู่ครอบครัวเดียวกันครับ
ค่ะหนูพิการทางสายตานะคะ
@@wipawankammuangsa8071ขอโทษนะครับน้อง พิการทางสายตาข้างใหนเหรอครับ
ทั้งสองข้างเลยค่ะ
@@wipawankammuangsa8071 อ๋อครับ...คือที่พี่พิมพ์มีคนอ่านให้ฟังหรือว่าใช้เครื่องแปลงรหัสครับน้อง
เวลารถวิ่งผ่านรถไม่ส่ายหรอครับ
ไม่ส่ายนะ วิ่งราบรื่นเลย
5.12ได้ยินเหมือนผมไหมครับ5555
ตรงสะพานข้ามแม่น้ำโขง ทำได้คมกว่าเรียวกว่า เสียงเงียบกริบ
เชื่อมรางแบบ มิดเธอดีกว่า
Clip คลิป มี. ล ลิง ตรงกลางครับ ไม่ใช่ “คิ๊บ”
ตรงกลางนั่นล่ะมีอีกสองราง
ตรงนั้นไม่ใช่รางที่รับล้อรถไฟครับ แต่ทำหน้าที่หามหมอนรถไฟช่วงกลางสะพาน ที่ไม่มีหินรองรับหมอนครับ ปัจจุบันไม่ทำแล้ว ทำเป็นสะพานคอนกรีตหมด เพราะรถไฟไม่ต้องเบาทาง และอายุการใช้งานยาวนานกว่าสะพานเหล็กแบบดั้งเดิม
ลงคลิปใหม่ๆ
Lllll
สมครวตายจริงที่ไม่ยอมหยุด
รอยต่อที่สองรางตรงกลางมีไว้เพื่ออะไรคับ
รางกันครับหาดูพี่เขารีวิวให้ดูแล้ว
รางกันครับ
พี่เขารีวิวแล้ววว
แผ่นอุดรอยต่อราง.. หลงเข้าใจมานานว่าเป็นการเพิ่มเนื้อรางที่ห่างไม่ให้เป็นร่องฟันหลอเสียอีก
@@anusornrittirong3879 ผมว่า แผ่นอุดข้อต่อ ตรงที่รางชนกัน ช่วยลดเสียงด้วย และเพิ่มเนื่อที่ให้ล้อรถไฟด้วย เพราะเคยเห็น หัวต่อรางที่ไม่มีตัวอุดข้อต่อ ปล่อยเป็นราง ฟันหลอ มีช่องนิดหน่อย นานๆไป หัวต่อ ทั้ง2หัวมันจะ บี้ แบน สึก เคยเห็นมาครับ และมัน เริ่มยุบด้วย ตรงหัวต่อราง ถ้าไม่มีตัวอุดรางชิ้นนี้ครับ ซึ่งไม่ทราบว่าปัจจุบันได้มีการติดตั้ง ตัวอุดหัวต่อรางนี้ทุก หัวต่อหรือไม่ ทั่วไทย
ปัจจุบันเห็นเเต่เชื่อมหมดเเล้วครับ
ได้ความรู้เกี่ยวกับรถไฟมากเลยครับ
ได้ความรู้อีกแล้วครับ รอยต่อแบบที่ 2 พึ่งเคยเห็นนี่แหละครับ
'รางผ่าซีก'! ไม่เคยเห็นมาก่อน
ที่น่าแปลกตาอีกอันคือแผ่นประกบรางแบบนูนออก เก่าอย่างนี้.. หาดูยาก!
ฟังเสียงรถไฟกระทบรางเพราะดีครับ
ชอบครับ..ได้ความรู้
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเกี่ยวกับรถไฟ
รอยต่อแบบเฉียงๆ มักจะใช้แถวๆ เชิงสะพานขนาดใหญ่ๆ หรือบนสะพาน บนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวก็มีนะ เวลาวิ่งผ่านจะสมูทกว่าแบบหน้าตัดตรง
สมัยก่อนอากาศร้อนมากๆ รางขยายจนคด คนรถไฟเรียก รางดุ้ง ต้องปิดซ่อมหรือชะลอด้วยความเร็วต่ำมากๆ
อุปกรณ์ที่อยู่บนรางอีกอันที่น่าสนใจคือ หม้อจารบีชโลมราง มักจะติดตั้งในทางโค้ง ทางเขาเท่าที่ทราบสายอีสานน่าจะมีแถวๆ ช่วงที่ผ่านแนวเขาดงพญาเย็น แต่พบได้มากในเส้นทางสายเหนือช่วงโค้งทางเขา ตั้งแต่ออกจากศิลาอาสน์ไปจนถึงหนองหล่ม จะวางเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันบังใบไปกินเนื้อราง
ีร
ความรู้ใหม่ขอบคุณครับ😮😮😮
เพิ่งเคยเห็นครั้งแรกครับ 😊👍
ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ กับตัน
รอยต่อรางในแบบที่ 2 ในกรุงเทพฯ สามารถพบเห็นได้ในรถไฟฟ้าหลายๆที่ของไทยครับ ส่วนใหญ่จะอยู่ตรงก่อนเข้าส่วนต่อขยายเพราะโครงสร้างไม่ได้สร้างพร้อมกันและบริเวณก่อนสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ทั้งของ BTS และ MRT ครับ
ที่ทราบว่ามีก็คือ BTS สายสีลมแถวๆสถานีสะพานตากสิน , สถานีบางหว้า และ สายสุขุมวิท ก่อนข้ามโทรเวย์หลังออกจากสถานีหมอชิตไป ห้าแยกลาดพร้าว ส่วน MRT จะเป็นส่วนต่อขยายเส้นจรัญแถวๆสถานีบางโพ ซึ่งตอนนี้ยังไม่เปิด
ขอบคุณมากครับ
ชอบรถไฟมาก
พิลึกกึกกือแท้จ้า 😁😁😁
ติดตามทุกคลิปครับ
ติดประกับรางผมเคยทำแล้วครับ ศรีสะเกษถึงอุบล ผมขันน็อตจนมือแตก
รอยต่อรางมีอยู่ 2 ที่ที่เวลารถไฟวิ่งจะเป็นจังหวะและเพราะ มีเส้นทางสายกาญจนบุรีกับสายมหาชัยครับ ได้ชมคลิปแล้วได้ความรู้ดีมากเลยครับ
เยี่ยมครับ
โนนพยอม จ. ขอนแก่นใช่มัยคับ
👌👍♥
โคตรฟินกับเสียงกระทบรอยต่อ #แต่..เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยได้ยินแล้วอ่ะครับ เปลี่ยนรางหมดแล้วเหรอครับ
สวัสดีครับ พี่สุรเสียง อักษร ต.30 ตามทางรถไฟ มีความหมายว่าอะไรหรอครับ
ให้ใช้ความเร็วต่ำกว่า 30 km/h
ได้ความรู้ไปอีก1ขั้น
มันเเปลกมากเลยครับ อยู่ที่ไหน
ตอบแทน
ที่รางรถไฟครับ
@@escyt9752 คิดว่าดีก็ทำต่อไป
สายใต้ก็มีนะครับ
จะอยู่แถวๆสะพานเสาวภาที่สถานีนครชัยศรีประมาณนี้ครับ
สพานสีขาวใช่ไหม นครศร๊ธรรมราช - หาดใหญ่
ที่นครปฐมครับ
@@t.surasak6941 แต่ผทก็เคยเห็นอยู่
พี่ ผมอยากรู้เรื่องของ รางประกบหรือรางดุ้งครับ ทำไมมันต้องมีมันช่วยอะไร ผมเห็นบางครั้งอยุ่ตรงสะพานบางครั้งอยุ่ทางตรง ถ้าพี่ลงแล้วอย่าลืมแจ้งเตือนให้ผมรู้ด้วยน่ะคับ เพราะผมสังเกตุมาตั้งแต่เด็ก จนปานนี้โตแล้วก็ยังไม่รู้เลย😊😊😊
กระแสไฟฟ้าที่ปล่อยวิ่งตามรางมันกี่โวลท์ครับ?
ของ BTS และ MRT ใช้ ไฟฟ้ารางที่สาม 750VDC
ของ ARL เชื่อมสนามบิน,สายสีแดงเข้ม,สายสีแดงอ่อน และรถไฟทางไกลในอนาคต ใช้ไฟ AC 25kV โดยใช้ไฟจากสายไฟฟ้าที่อยู่ด้านบน จากขารับไฟฟ้า(Collector Shoe) ของหัวรถจักรไฟฟ้าส่วนควบคุม จำนวนสองเส้นบวกลบ เส้นละ 25kV หรือกล่าวโดยย่อคือ ใช้ระบบจ่ายไฟเหนือหัวจักรขนาด 25kVAC OCS (Overhead Catenary System)
คำอธิบาย
1kV เท่ากับ 1000 โวลต์
10kV เท่ากับ 10000 โวลต์
DC เท่ากับ ไฟฟ้ากระแสตรง เช่นมือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
AC เท่ากับ ไฟฟ้ากระแสสลับ เช่นหลอดไฟ ตู้เย็น สว่าน หม้อหุงข้าว พัดลม เป็นต้น
@Kantang Line Railwayfan ครับ ไม่รู้ว่ามีสายไฟด้วย นึกว่าถามเรื่อง การใช้ไฟฟ้าของรถไฟ ต้องขอโทษทีครับที่ตอบผิดวัตถุประสงค์
สมมุติว่าเราตกไปบนรางรถไฟBTS เราจะโดนไฟฟ้าช็อตป่าวครับ
@@กวีคนที่สาม ตามหลักแล้วไม่โดนนะครับ เพราะไฟฟ้าที่ปล่อยจะอยู่รางที่สามซึ่งมีฉนวนอยู่โดยรอบเว้นด้านล่างซึ่งใช้เป็นจุดสัมผัสกับแขนรับไฟฟ้าที่ยื่นออกมาจากตัวรถ แต่ก็ไม่ควรประมาท เพราะผมไม่แน่ใจว่า กราวด์ที่รางรถไฟ จะมีไฟหลงเหลืออยู่หรือไม่ เพราะใช้กระแสไฟฟ้าตั้ง 750 VDC ซึ่งปกติไฟดีซีจะไม่ซอตคน เพราะโวลล์ต่ำแอปป์สูง แต่ในกรณีเช่นนี้ จะเห็นว่ากระแสมีแรงดันตั้ง 750 VDC ไม่ใช่ 12 หรือ 24 ตามที่เราใช้งานกันโดยทั่วไป จึงไม่ควรประมาทจะเป็นการดี แต่ยืนยันว่า ตกลงไปในราง BTS ไฟฟ้าไม่ซอตแน่นอน (ย้ำว่ารางรถไฟ) ไม่ใช่รางจ่ายไฟ
@@themantheman9864 ขอบคุณครับ
สวัสดีค่ะหนูชอบฟังวิดีโอของพี่ทุกอันเลยค่ะ
ยินดีต้อนรับสู่ครอบครัวเดียวกันครับ
ค่ะหนูพิการทางสายตานะคะ
@@wipawankammuangsa8071
ขอโทษนะครับน้อง
พิการทางสายตาข้างใหนเหรอครับ
ทั้งสองข้างเลยค่ะ
@@wipawankammuangsa8071
อ๋อครับ...คือที่พี่พิมพ์มีคนอ่านให้ฟัง
หรือว่าใช้เครื่องแปลงรหัสครับน้อง
เวลารถวิ่งผ่านรถไม่ส่ายหรอครับ
ไม่ส่ายนะ วิ่งราบรื่นเลย
5.12ได้ยินเหมือนผมไหมครับ5555
ตรงสะพานข้ามแม่น้ำโขง ทำได้คมกว่าเรียวกว่า เสียงเงียบกริบ
เชื่อมรางแบบ มิดเธอดีกว่า
Clip คลิป มี. ล ลิง ตรงกลางครับ ไม่ใช่ “คิ๊บ”
ตรงกลางนั่นล่ะมีอีกสองราง
ตรงนั้นไม่ใช่รางที่รับล้อรถไฟครับ แต่ทำหน้าที่หามหมอนรถไฟช่วงกลางสะพาน ที่ไม่มีหินรองรับหมอนครับ ปัจจุบันไม่ทำแล้ว ทำเป็นสะพานคอนกรีตหมด เพราะรถไฟไม่ต้องเบาทาง และอายุการใช้งานยาวนานกว่าสะพานเหล็กแบบดั้งเดิม
ลงคลิปใหม่ๆ
Lllll
สมครวตายจริงที่ไม่ยอมหยุด
รอยต่อที่สองรางตรงกลางมีไว้เพื่ออะไรคับ
รางกันครับหาดูพี่เขารีวิวให้ดูแล้ว
รางกันครับ
พี่เขารีวิวแล้ววว
แผ่นอุดรอยต่อราง..
หลงเข้าใจมานานว่าเป็นการเพิ่มเนื้อรางที่ห่างไม่ให้เป็นร่องฟันหลอเสียอีก
@@anusornrittirong3879 ผมว่า แผ่นอุดข้อต่อ ตรงที่รางชนกัน ช่วยลดเสียงด้วย และเพิ่มเนื่อที่ให้ล้อรถไฟด้วย เพราะเคยเห็น หัวต่อรางที่ไม่มีตัวอุดข้อต่อ ปล่อยเป็นราง ฟันหลอ มีช่องนิดหน่อย นานๆไป หัวต่อ ทั้ง2หัวมันจะ บี้ แบน สึก เคยเห็นมาครับ และมัน เริ่มยุบด้วย ตรงหัวต่อราง ถ้าไม่มีตัวอุดรางชิ้นนี้ครับ ซึ่งไม่ทราบว่าปัจจุบันได้มีการติดตั้ง ตัวอุดหัวต่อรางนี้ทุก หัวต่อหรือไม่ ทั่วไทย
ปัจจุบันเห็นเเต่เชื่อมหมดเเล้วครับ