ทำไม คนประสบความสำเร็จถึงฝึกสมาธิเป็นประจำ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 29 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 22

  • @luechaichitranuwatkul3206
    @luechaichitranuwatkul3206 3 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณครับ

  • @กริชบุญชู
    @กริชบุญชู 8 วันที่ผ่านมา

    การอยู่กับปัจจุบันขณะ..คือความงดงามที่สุด..😊😊😊😊 การอยู่กับปัจจุบันขณะ..ทุกลมหายใจจะเหมือนอยู่บนสวรรค์..มันช่างดีเหลือเกิน..จักรวาลกำลังโอบรักเรา..ลองฟังเสียงปัจจุบันขณะดู..ตอนนี้เลย❤❤❤

  • @shanewachireth7839
    @shanewachireth7839 15 วันที่ผ่านมา +2

    * เก่งมากครับ สุขสงบเป็นอาหารหล่อเลี้ยงใจได้ดีด้วย
    * เมื่อมีความสงบแล้ว น้อมใจไปพิจารณาในงาน หรือ การใช้ปัญญาใคร่ครวน ก็จะทำให้การงานก้าวหน้าขึ้น

  • @JackAttaphong
    @JackAttaphong 20 วันที่ผ่านมา +2

    สวยมากครับ❤

  • @tobsatornplo9460
    @tobsatornplo9460 11 วันที่ผ่านมา

    อันดับแรก นิยามคำว่าประสบความสำเร็จของแต่ละคน ไม่ได้เหมือนกันครับ เป้าหมายชีวิตของแต่ละคน ไม่ได้เหมือนกัน อย่างบางคน เป้าหมายในชีวิตของเขา คือการไม่มีเป้าหมายในชีวิต ถ้าเป็นแบบนั้น ถึงไม่มีสมาธิมาเกี่ยว เขาก็คงประสบความสำเร็จได้นะ? การประสบความสำเร็จ มันเป็นอัตวิสัยที่ค่อนข้างกว้าง ผมว่า ยกตัวอย่าง คนที่ถูกเรียกว่าประสบความสำเร็จบางคนที่รวยมากๆ ที่เขาถูกเรียกว่าประสบความสำเร็จ นั่นเพราะคุณ value เงิน ความรวยของเขา แต่จริงๆ เขาคนนั้นอาจจะทุกข์มากอยู่ก็ได้นะ เพราะอาจจะทุจริตจนรวยขึ้นมาแล้วต้องทนทุกข์กับความรู้สึกผิดหรือกลัวว่าคนอื่นจะรู้ว่าตัวเองทำผิด หรือในทางตรงกันข้าม... ผมขอละไว้ในฐานที่เข้าใจ , เข้าเรื่องของสมาธิครับ คนทั่วไปมักจะคิดว่า ทำสมาธิก่อนแล้วสมาธิจะไปช่วยส่งเสริมช่วยเรื่องต่างๆให้ดีขึ้น เหมือนกับเรื่องของ ระเบียบวินัย เมื่อคุณมีระเบียบวินัย มันก็จะช่วยให้คุณจัดระบบ ช่วยเรื่องต่างๆได้ดีขึ้น แต่ชีวิตจริง จากประสบการณ์ตรง ผมว่ามันไม่ใช่นะ สมาธิ/ระเบียบวินัยนั้น มาทีหลัง สิ่งที่มาก่อนคือ สิ่งที่คุณชอบทำ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม , เมื่อคุณมีแรงบันดาลใจ มีความหลงใหล มีความมุ่งมั่น มีความเชื่อมั่น มีความอยาก ความต้องการ ในการทำอะไรซักอย่างที่คุณชอบอย่างแท้จริง เมื่อนั้นแหละ สมาธิ/วินัย จะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ โดยที่ไม่ต้องฝึกใดๆ มันมาเองครับ อย่างน้อยก็สำหรับผมน่ะนะ , อีกสิ่งหนึ่งที่คนทั่วไปไม่เข้าใจคือ เรื่องที่มองว่า ความเครียด เป็นสิ่งที่ไม่ดี ซึ่งมันก็อาจจะไม่ดีจริงๆ แต่ทว่า เมื่อคุณค้นพบบางสิ่งบางอย่างที่คุณชอบทำ ต้องการทำอย่างบ้าคลั่ง คุณก็จะรู้ว่า ยิ่งทำ ยิ่งเล่น ยิ่งเครียดมากแค่ไหนมันก็จะยิ่งสนุก ยิ่งสะส์ใจ ยิ่งมันส์มากแค่นั้น สมาธิคุณจะพุ่งถึงขีดสุด หรืออาจจะเกินลิมิต กลายเป็น paranoid กิน ก็เป็นได้, ความสนุกแปรผันตามความเครียดอย่างแยกไม่ออก ออกๆแนว sadist ถ้ามองในเชิงวิทยาศาสตร์ สมองหลั่ง cortisol+endorphin พร้อมๆกัน ผมว่าก็เจ๊าๆกันอยู่นะ เว้นแต่จะหลั่งสารอย่างใดอย่างหนึ่งมากกว่า , ส่วนคนที่เป็นโรคตั้งแต่เกิด อย่าง ADHD / hysteria / neurodivergent /โรคใจลอย หรือโรคอื่นๆ เขาคงจะทำสมาธิลำบากหน่อยนะ ผมว่า

  • @dontcallmecoach9431
    @dontcallmecoach9431 21 วันที่ผ่านมา +1

    ติดตามครับ

    • @sinearts
      @sinearts  21 วันที่ผ่านมา

      @@dontcallmecoach9431 ขอบคุณค่ะ 🙏😊

  • @SLOT-PP-SLOT-PG-MOOCHIN
    @SLOT-PP-SLOT-PG-MOOCHIN 18 วันที่ผ่านมา

    พอดีเขารีบไงครับพี่ น้องไม่รีบครับแต่ผมจะมองเกมส์ให้ขาดก่อนเข้าเสมอ

  • @mommom-dd9lv
    @mommom-dd9lv 22 วันที่ผ่านมา +1

    ❤❤❤

  • @ติ๊ก-บ7ฉ
    @ติ๊ก-บ7ฉ 19 วันที่ผ่านมา +2

    ไม่เกี่ยวหรอก ต้องอ่านความรู้ทุกวันทั้งชีวิต จึงรอด ส่วนสมาธิคือความรู้เซี้ยวนึ่งเอง ไม่ใช่ทุกอย่าง

    • @1StGuitartech
      @1StGuitartech 15 วันที่ผ่านมา +7

      ขอถามหน่อยนะครับ แล้วถ้าอ่านแบบไม่มีสมาธิทุกวันตลอดชีวิต การอ่านจะมีประสิทธิภาพไหมครับผม ผมคิดว่าการฝึกทำสมาธิมันก็คือการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการเรียนรู้ของเรานี่แหละครับ เมื่อเราทำอะไรแล้วมีโฟกัสมันก็ยิ่งมีประสิทธิภาพ หรืออย่างสภาวะ Flow State ที่เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้และการทำงานหลายเท่าตัว การจะเข้าสภาวะนี้ได้การฝึกทำสมาธิก็เพื่อให้เราโฟกัสได้ดีก็เป็นส่วนสำคัญครับผม

    • @lamt6935
      @lamt6935 14 วันที่ผ่านมา +2

      ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอดก็มีนะ เยอะด้วย

    • @1StGuitartech
      @1StGuitartech 14 วันที่ผ่านมา

      @@lamt6935 เจ็บจี๊ดเลยครับพี่

    • @โอมาเซะซิดนี้
      @โอมาเซะซิดนี้ 14 วันที่ผ่านมา +2

      พระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ก็เพราะสมาธินี้แหละ

    • @folkse
      @folkse 13 วันที่ผ่านมา

      @@โอมาเซะซิดนี้ ตรัสรู้เพราะปัญญา ที่มีกำลังของสมาธิช่วย.. เป็นพุทธะได้เพราะปัญญา สมาธิแค่ตัวช่วย