Varodom TOOCHINDA
Varodom TOOCHINDA
  • 106
  • 50 894
Drake #1: จำลองระบบเชิงเส้นโดย Drake
คลิปวีดีโอแรกสำหรับการเรียนรู้ Drake นี้สาธิตการสร้างคลาสพื้นฐาน 3 ประเภท คือ static, continuous-time, และ discrete time เพื่อสร้างเป็น subsystem สำหรับจำลองระบบเชิงเส้น โดยตั้งโจทย์ปัญหาเป็นการควบคุมโดย state feedback + observer แม้การจำลองโดย Drake นี้ดูเหมือนจะซับซ้อนเกินความจำเป็นสำหรับระบบเชิงเส้น แต่สามารถช่วยให้เข้าใจกลไกของเครื่องมือซอฟต์แวร์นี้และปูทางไปสู่การใช้งานในระดับสูงขึ้น เช่นระบบไม่เป็นเชิงเส้นหรือพลวัตหุ่นยนต์ที่ซับซ้อนมากขึ้น
มุมมอง: 57

วีดีโอ

Drake #0 : สาธิตการติดตั้ง Drake บน Ubuntu และ Windows WSL
มุมมอง 54วันที่ผ่านมา
วีดีโอนี้เป็นคลิปแรกของ playlist ใหม่เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องมือซอฟต์แวร์ Drake ซึ่งปัจจุบันได้รับความสนใจมากขึ้นสำหรับการพัฒนาหุ่นยนต์ที่มีความซับซ้อน โดยได้อธิบายขั้นตอนการติดตั้ง Drake บน Ubuntu 24.04 และบน Ubuintu WSL ที่รันบน Windows 11
ทดลองใช้ Virtual serial port กับการจำลองหุ่นยนต์
มุมมอง 18714 วันที่ผ่านมา
คลิปต่อเนื่องเรื่องการใช้ virtual serial port สื่อสารระหว่่่างการจำลองระบบฝังตัวบน Wokwi กับการแสดงผลบน Jupyter notebook โดยได้ทดลองแก้ไขตัวอย่างเดิมในหนังสือที่ใช้ IoT เป็น VSP ซึ่งพบว่าหลังจากการเขียนโค้ดเพื่อดักข้อผิดพลาดในการอ่านบัฟเฟอร์ โดยรวมโปรแกรมสามารถทำงานได้ดี โดยตอบสนองได้เร็วกว่าการสื่อสารผ่าน IoT แต่ไม่เร็วเท่ากับการใช้ฮาร์ดแวร์ฝังตัวจริงเพราะเป็นการจำลองบนแพลตฟอร์มของ Wokwi ในคลิ...
รับส่งข้อมูลระหว่าง Wokwi กับ Jupyter notebook ผ่าน virtual serial port
มุมมอง 169หลายเดือนก่อน
Serial port ที่ใช้ในการจำลองบน Wokwi แตกต่างจากฮาร์ดแวร์บน MCU จริงเพราะเป็นข้อมูลที่อยู่บนเบราเซอร์ ดังนั้นการสื่อสารระหว่างโปรแกรมที่อยู่บนคอมพิวเตอร์กับ Wokwi ต้องอาศัยตัวกลางที่เรียกว่าพอร์ตอนุกรมเสมือน (virtual serial port) มีซอฟต์แวร์หลายตัวที่สร้าง VCP บนคอมพิวเตอร์ทั้งเป็นโอเพนซอร์สและผลิตภัณฑ์ที่ต้องซื้อ จากการทดลองพบว่าบางตัวไม่สามารถใช้งานได้กับ Wokwi คลิปนี้ช่วยลดเวลาในการทดสอบโดยนำ...
แนะนำการรันโค้ดประกอบหนังสือ "การโปรแกรมไพทอนสำหรับงานควบคุมและฝังตัว"
มุมมอง 9503 หลายเดือนก่อน
วัตถุประสงค์หลักของคลิปวีดีโอนี้คือแนะนำหนังสือ "การโปรแกรมไพทอนสำหรับงานควบคุมและฝังตัว" ที่สามารถดาวน์โหลดได้ฟรีทั้งเล่มจากลิงก์ด้านล่าง รวมถึงโค้ดทั้งหมดที่ใช้ในหนังสือ แต่ทั้งนี้เนื่องจากไลบรารีต่างๆ มีการอัพเดตอย่างต่อเนื่องอาจทำให้โค้ดเดิมไม่สามารถรันได้ จึงต้องมีการอัพเดต github ของหนังสือตามเป็นระยะ ดังเช่นส่วนหนึ่งของวีดีโอนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของ paho-mqtt เวอร์ชัน 2.0.0 ที่ต้องแก...
วีดีโอ 13 (220533) : กรณีศึกษาและสรุปเนื้อหารายวิชา
มุมมอง 1444 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
วีดีโอ 12 (220533) : การโปรแกรมหลายงานแบบเรียลไทม์
มุมมอง 514 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
วีดีโอ 11 (220533) : การโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP)
มุมมอง 714 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
วีดีโอ 10 (220533) : พัฒนาระบบฝังตัวโดย ESP32 และไมโครไพทอน
มุมมอง 774 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
วีดีโอ 09 (220533) : การวิเคราะห์และอิมพลิเมนต์ตัวควบคุมพีไอดี
มุมมอง 764 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
วีดีโอ 08 (220533) : แนวทางฮาร์ดแวร์ในวง (HIL) ในการออกแบบระบบ
มุมมอง 704 หลายเดือนก่อน
วีดีโอนี้เป็นหนึ่งใน 13 ชั้นเรียนของรายวิชา 01220533 การวัดและวิเคราะห์สัญญาณและระบบในงานอุตสาหกรรม หลักสูตรปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 เนื้อหาเน้นการเขียนโปรแกรม (ใช้ภาษาไพทอนและซีเป็นหลัก) เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม การพัฒนาระบบฝังตัวและไอโอที
เมื่อหุ่นยนต์ส้มเป็น mazerunner
มุมมอง 524 หลายเดือนก่อน
จากปัญหากริดเวิลด์ขนาด 6x6 เดิม เมื่อสร้างจำนวนแถวและคอลัมน์ของกริดเป็นตัวแปร เราสามารถอัพสเกลเป็นกริดเวิลด์ขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้นได้ ตัวอย่างเช่นการหาเส้นทางของหุ่นยนต์ในเมซเพื่อไปสู่เป้าหมายที่ต้องการคือรางวัลที่เป็นบวก ดังตัวอย่างในคลิปวีดีโอนี้
แก้ปัญหากริดเวิลด์เพื่อวางแผนเส้นทางเดินหุ่นยนต์
มุมมอง 814 หลายเดือนก่อน
คลิปวีดีโอนี้เป็นการศึกษาการควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่ระยะไกลโดยใช้ไอโอที ต่อเนื่องจากตัวอย่างของหุ่นยนต์ขับเคลื่อนสองล้อที่จำลองบน Wokwi การวนซ้ำมูลค่า (value iteration) เป็นวิธีการโปรแกรมพลวัตที่ใช้ในการแก้ปัญหากริดเวิลด์ เพื่อวางแผนเส้นทางเดินหุ่นยนต์ให้เคลื่อนที่ไปในจุดที่ต้องการโดยหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางและพื้นที่ต้องห้ามที่นิยามเป็นรางวัลด้านลบ ปัญหานี้จัดอยู่ในประเภทการโปรแกรมเชิงพลวัต (dyna...
Robot path planning in small 6x6 gridworld using value iteration
มุมมอง 494 หลายเดือนก่อน
This video demonstates how to solve a flexible 6x6 gridworld jproblem using value iteration, and then command a simulated differential-drive robot in Wokwi to track the optimal policy. The robot can be controlled remotely using an IoT cloud, in this case, NETPIE 2020.
ตัวควบคุมไอโอทีสำหรับหุ่นยนต์สองล้อ (differential drive robot)
มุมมอง 1615 หลายเดือนก่อน
คลิปวีดีโอนี้แนะนำการเขียนโปรแกรมไมโครไพทอนสำหรับควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่สองล้อที่ขับเคลื่อนแบบผลต่าง (differential drive) สามารถควบคุมระยะใกลโดยสั่งงานผ่านไอโอที ซึ่งสามารถใช้ในการศึกษาเบื้องต้นก่อนสร้างฮาร์ดแวร์จริง นอกจากนั้นยังมีประโยชน์ในการเรียนรู้ในส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องเช่นการวางแผนเส้นทางเดิน การเรียนรู้เสริมกำลัง​ (reinforcement learning)
2-link manipulator simulation using tk, matplotlib, and IoT
มุมมอง 615 หลายเดือนก่อน
2-link manipulator simulation using tk, matplotlib, and IoT
ใช้ NETPIE IoT จำลองจลนศาสตร์แขนกลบน Jupyter notebook
มุมมอง 875 หลายเดือนก่อน
ใช้ NETPIE IoT จำลองจลนศาสตร์แขนกลบน Jupyter notebook
จำลองพลวัตแขนกล 2 ก้านต่อเป็น custom chip บน wokwi
มุมมอง 1156 หลายเดือนก่อน
จำลองพลวัตแขนกล 2 ก้านต่อเป็น custom chip บน wokwi
Timing difference between ESP32 and custom chip in Wokwi simulation
มุมมอง 846 หลายเดือนก่อน
Timing difference between ESP32 and custom chip in Wokwi simulation
2-link manipulator control with micropython on Wokwi
มุมมอง 766 หลายเดือนก่อน
2-link manipulator control with micropython on Wokwi
วีดีโอ 07 (220533) : การอิมพลิเมนต์ระบบเชิงเส้น
มุมมอง 397 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 07 (220533) : การอิมพลิเมนต์ระบบเชิงเส้น
วีดีโอ 06 (220533) : พื้นฐานไอโอทีโดย NETPIE 2020
มุมมอง 2257 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 06 (220533) : พื้นฐานไอโอทีโดย NETPIE 2020
วีดีโอ 05 (220533) : การเขียนโปรแกรมภาษา C บน Arduino IDE และ ESP8266
มุมมอง 1057 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 05 (220533) : การเขียนโปรแกรมภาษา C บน Arduino IDE และ ESP8266
วีดีโอ 04 (220533) : ออปแอมป์และการปรับแต่งสัญญาณ
มุมมอง 587 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 04 (220533) : ออปแอมป์และการปรับแต่งสัญญาณ
วีดีโอ 03 (220533) : วงจรไฟฟ้ากระแสสลับและสัญญาณที่เป็นฟังก์ชันของเวลา
มุมมอง 707 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 03 (220533) : วงจรไฟฟ้ากระแสสลับและสัญญาณที่เป็นฟังก์ชันของเวลา
วีดีโอ 02 (220533) : การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
มุมมอง 527 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 02 (220533) : การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
วีดีโอ 01 (220533) : เค้าโครงรายวิชา ภาพรวมและเครื่องมือซอฟต์แวร์
มุมมอง 997 หลายเดือนก่อน
วีดีโอ 01 (220533) : เค้าโครงรายวิชา ภาพรวมและเครื่องมือซอฟต์แวร์
เล่าสู่กันๆัง : สร้างระบบจำลองพลวัตและตัวควบคุมป้อนกลับบน Wokwi
มุมมอง 638 หลายเดือนก่อน
เล่าสู่กันๆัง : สร้างระบบจำลองพลวัตและตัวควบคุมป้อนกลับบน Wokwi
สร้าง custom chip บน Wokwi เพื่อจำลองพลวัตของพลานต์
มุมมอง 1569 หลายเดือนก่อน
สร้าง custom chip บน Wokwi เพื่อจำลองพลวัตของพลานต์
จำลองบอร์ด IGR ที่ใช้สอน IoT บนเว็บ Wokwi
มุมมอง 4189 หลายเดือนก่อน
จำลองบอร์ด IGR ที่ใช้สอน IoT บนเว็บ Wokwi

ความคิดเห็น

  • @plasticsystemsengineering
    @plasticsystemsengineering วันที่ผ่านมา

    เสียดาย ตอนนั้น โควิค ซา. พอดี. เลย ไม่ได้ ลงเรียน กัยอาจารย์ ด้วย

  • @varodomt
    @varodomt 9 วันที่ผ่านมา

    After some time I tend to understand this timing issue better. My controller code on the micropython side is quite complicated. It might not be able to finish within short timer period. So it would not work on the real hardware (it may freeze or reset). On this simulation platform, however, perhaps the timer period somehow yields to make my code work. So the micropypthon program execution time per loop is much slower than the C timer routine on the chip. I may be wrong on this. If it were a real hardware I would have timed the execution or measured with a scope. Anyway, lesson learnt here is I cannot assume that timing in a software simulation would match the real hardware precisely.

  • @varodomt
    @varodomt 10 วันที่ผ่านมา

    Update May 24,24 : จากการทดลองติดตั้้งบน Mac M1 พบว่าวิธีในเว็บของ Drake ไม่สำเร็จทั้ง pip และ direct โดยมีปัญหาแตกต่างกันไป แต่เมื่อทดลองสร้าง conda environment และใช้ pip install drake กลับใช้งานได้ดี (แมในเว็บของ drake จะเตือนว่าไม่ได้ทดสอบกับ conda อย่างสำม่ำเสมอ)

  • @user-rq2rp5mg3v
    @user-rq2rp5mg3v หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ😃

  • @kitsadadoungjitjaroen5663
    @kitsadadoungjitjaroen5663 หลายเดือนก่อน

    สอบถามครับ มีวิธีเขียนบน Node red โดยไม่ใช้ code บน Arduino ส่งให้ Netpie ไหมครับ

    • @varodomt
      @varodomt หลายเดือนก่อน

      ยังไม่เคยลองตัวอย่างนี้ครับ แต่โดยหลักการแล้วน่าจะไม่ยาก เพียงส่งคำสั่ง netpie ที่ต้องการออกจากโนด MQTT out

  • @gplustoner
    @gplustoner 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับอาจารย์ขอพระเจ้าอวยพระพรครับ

  • @teerapong.automation0195
    @teerapong.automation0195 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณอาจารย์มากๆ ครับ ❤❤

  • @teerawatwcprtn
    @teerawatwcprtn 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @mrkavee1970
    @mrkavee1970 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @suradejduangpummet1348
    @suradejduangpummet1348 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบพระคุณมากอาจารย์ครับ มีประโยชน์มากๆ ครับ

  • @Smart.of.Things
    @Smart.of.Things 3 หลายเดือนก่อน

    ขอขอบคุณอาจารย์ มากๆเลยครับ

  • @thongchaikaew9370
    @thongchaikaew9370 3 หลายเดือนก่อน

    🎉ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @choosakulprommas5792
    @choosakulprommas5792 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @teerapongla-or3390
    @teerapongla-or3390 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากๆครับกำลังหาพอดีว่าทำงัยให้ อุปกรณ์สองตัวสื่อสารกันได้ ผ่านnetpie2020 ครับ

  • @user-og8xh3yv1e
    @user-og8xh3yv1e 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากๆครับอาจารย์ ❤

  • @varodomt
    @varodomt 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับสำหรับทุกกำลังใจ ดีใจที่หนังสือเป็นประโยชน์ครับ

  • @NutSure
    @NutSure 3 หลายเดือนก่อน

    อู๊ววว อาจารย์ใจดีจริง ๆ ครับ หนังสือ คุณภาพมากๆ เปิดไป 5 หน้าเจอ feedback control system เลย 😅 ขอบคุณครับ

  • @nattawatvi5859
    @nattawatvi5859 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @PichetWijitsopa
    @PichetWijitsopa 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับ

  • @naranara2454
    @naranara2454 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากๆครับ ขอให้รวยๆ สุขภาพแข็งแรง

  • @NutSure
    @NutSure 4 หลายเดือนก่อน

    ชอบ ๆ ครับ ขอบคุณ

  • @bflower7797
    @bflower7797 9 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีค่ะ รบกวนสอนต่อตัวเซนเซอร์กับesp32หน่อยได้มั้ยคะ

  • @user-eh2ec3rn6w
    @user-eh2ec3rn6w 10 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมาก ครับ

  • @OhmKittitat
    @OhmKittitat 10 หลายเดือนก่อน

    พอจะทำคลิปสอน Notify Line ผ่าน Netpie2020 ได้มั้ยครับ

    • @varodomt
      @varodomt 10 หลายเดือนก่อน

      ไม่ค่อยได้ใช้ line อะครับ แต่ในคลิปอันนี้มีตอนช่วงท้าย th-cam.com/video/fWDD4oBgnJs/w-d-xo.html

    • @OhmKittitat
      @OhmKittitat 10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ🙏

  • @chaiboonchuai6515
    @chaiboonchuai6515 10 หลายเดือนก่อน

    สอบถามครับ ในกรณีนี้ การใช้งาน Dash board บน Node Red กับบน Netpie ต่างกันอย่างไร

  • @hnnn5914
    @hnnn5914 ปีที่แล้ว

    หากจะดึงค่าที่ส่งมาจากบอร์ดต้องทำไงเหรอครับ เช่น การส่งอุณหภูมิจากบอร์ดไป mqtt อยากดึงข้อมูลส่วนนี้ต้องเช่นคำสั่งประมาณไหนเหรอครับ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      หากตั้งค่า mqtt in ให้ถูกต้อง คือใส่ข้อมูลจาก NETPIE device ตัวที่สร้างสำหรับ node-red และใส่ topic ให้ตรงกับทางด้านส่ง ก็จะรับค่าได้ทันที ในวีดีโอก็มีตรงส่วนนี้อยู่ครับ ประมาณนาที 10.19

  • @benjaminpollard4114
    @benjaminpollard4114 ปีที่แล้ว

    Promo-SM 😁

  • @kerekritlaungaram3626
    @kerekritlaungaram3626 ปีที่แล้ว

    netpie ใช้แทน blynk ได้รึเปล่าครับ จากในคบิปเหมิอนว่าเวลาใช้งานต้องเข้าไปที่หน้าเวปของ netpie มันสามารถใช้งานสื่อสารควบคุมบนมือถือแบบ blynk ได้มั้ยครับแบบว่าเหมือนเป็นแอพฯเปิดเข้า project ได้เลย ขอบคุณครับ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      เวอร์ชันเดิมมี app ครับ เห็นทีมเขาบอกว่ากำลังทำ app สำหรับเวอร์ชัน NETPIE 2020 อยู่แต่ยังไม่เสร็จ

  • @Tarklong
    @Tarklong ปีที่แล้ว

    สอนดีมากครับ เข้าใจง่าย อยากให้สอนทำ IoT Node-Red หลายๆ แบบนะครับ ขอบคุณครับเป็นกำลังใจและขอบคุณมากนะครับ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับสำหรับกำลังใจ

  • @TheAfricanEngineer
    @TheAfricanEngineer ปีที่แล้ว

    I don't understand the concept of a device. Kindly assist. I want to monitor the on/off state of 10 circuit breakers and send that information to thingsboard using an arduino and a gsm module. Is every circuit breaker a device or is the arduino the device?

  • @uaitopofficial5131
    @uaitopofficial5131 ปีที่แล้ว

    หาโหลดตัวflash generic esp32 module ไม่เจอเลยครับ

    • @dewdotninja
      @dewdotninja ปีที่แล้ว

      ชื่อมันเปลี่ยนไปครับ ใช้ตัวที่เป็น ESP32 เวอรฺชันธรรมดา

    • @uaitopofficial5131
      @uaitopofficial5131 ปีที่แล้ว

      @@dewdotninja ตัวที่เป็นidf3หรอครับ ผมโหลดมาลอง มัน เฟล อะครับ

    • @dewdotninja
      @dewdotninja ปีที่แล้ว

      ผมลองอันที่เขียนว่า ESP32 Espressif ใช้เฟิร์มแวร์เวอร์ชันล่าสุดตัวบนสุดเลย ใช้ได้โอเค

    • @dewdotninja
      @dewdotninja ปีที่แล้ว

      ไม่เอาตัว idf3 เอาตัวบนสุด

  • @narisaraphianphang1461
    @narisaraphianphang1461 ปีที่แล้ว

    ต่อEsp32 กับเซนเซอร์ขาไหนบ้างค่ะ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      ต่อ data out ของ DHT22 เข้าขา 4 ของ ESP32 เท่านั้นครับ ที่เหลือต่อไฟเลี้ยงเข้าเซนเซอร์

  • @anmjeenpk843
    @anmjeenpk843 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากคับ จาก ลาว

  • @muhaimintoh-arlim2744
    @muhaimintoh-arlim2744 ปีที่แล้ว

    Thanks, Prof. It's useful

  • @kiattisin4662
    @kiattisin4662 ปีที่แล้ว

    รบกวนสอบถามครับ ของผมเหมือน subscribe @shadow/data/updated ไม่ได้ครับ ไม่มีค่ามาเลยครับ มัน connect ได้ ส่วนฝั่งตัวส่งก็ส่งมาได้ปกติครับ ขึ้นแสดงใน device ของ netpie ได้ครับ ทำ Device group แล้วครับ ถ้าเป็น @msg ใช้ได้ครับ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      เหมือน netpie มีการแก้ไขบางอย่างทำให้ใช้ @shadow/data/updated ไม่ได้แล้ว ผมก็เพิ่งมาทราบปัญหาตอนสอนไม่นานนี้เองครับ

    • @wachihighq495
      @wachihighq495 ปีที่แล้ว

      @@varodomt แล้วเราจะเปลี่ยน topic หรือ แก่ไขยังไงครับ ขอบคุณครับ

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      @@wachihighq495 ตอนนี้ผมนึกออกทางเดียวคือหลังจากเขียน shadow แล้ว ให้ตัว ESP32 ส่งข้อมูลนั้นเป็น topic $msg/ ให้กับ node-red ด้วย

  • @ningsabaihair1941
    @ningsabaihair1941 ปีที่แล้ว

    555 ฟองเบียร์

    • @varodomt
      @varodomt ปีที่แล้ว

      มันประท้วงว่าไม่โชว์รูปมันบ้าง

    • @ningsabaihair1941
      @ningsabaihair1941 ปีที่แล้ว

      @@varodomt 😂

  • @jpdiaw
    @jpdiaw 2 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณท่านอาจารย์สำหรับเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชน์มากๆครับ

  • @engfreesty
    @engfreesty 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับผม

  • @engfreesty
    @engfreesty 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @varodomt
    @varodomt 2 ปีที่แล้ว

    นา่ที 37:45 ที่กลับมา master branch แล้วเห็นไฟล์ main.cpp เป็นฟังก์ชันเปล่าๆ ความจริงต้องไม่เป็นอย่างนั้น สาเหตุคือมาทำคลิปต่อในเครื่อง Windows แล้วลืม commit master branch ไว้ก่อนที่จะสร้าง branch ใหม่ พอกลับมาเลยไม่เจอไฟล์ original main.cpp ขออภัยข้อผิดพลาดในการทำคลิป

  • @mariopaesdealmeidajunior1557
    @mariopaesdealmeidajunior1557 2 ปีที่แล้ว

    I'm about to start the "Process Simulation Subject" in my Chemical Engineering B.Sc. course in Brazil and I intend to use Julia for numerical calculations so your video and material was of great help.

  • @electronicsshop1135
    @electronicsshop1135 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ อาจารย์

  • @anuraksaethao5845
    @anuraksaethao5845 2 ปีที่แล้ว

    ขอโทษนะครับ พอดีผมได้ทำตามในคลิปของคุณแล้วเหมือน Client ID netpie ระหว่าง esp32 กับ node-red ชนกันครับ ส่งค่าไปไม่ได้ครับ netpie ขึ้น status offline ตลอดครับ จะมีวิธีแก้ไขได้ไหมครับ ขอบคุณครับ

    • @dewdotninja
      @dewdotninja 2 ปีที่แล้ว

      ต้องสร้าง device ของ esp 32 และ node red คนละตัวและ group เข้าด้วยกันใน netpie portal ครับ

  • @truyentranhm4v900
    @truyentranhm4v900 2 ปีที่แล้ว

    thanks

  • @paohuee
    @paohuee 2 ปีที่แล้ว

    ช่วยสอนลง library blynk ได้ไหมครัย

  • @mitkosokolov9382
    @mitkosokolov9382 2 ปีที่แล้ว

    Can we use python codes on thingsboard to analyze the data, that is uploaded ?

  • @Transmission4less
    @Transmission4less 2 ปีที่แล้ว

    Thank you for sharing , but but buttttt where is the source code, could not find you in github.

    • @varodomt
      @varodomt 2 ปีที่แล้ว

      The code is on my IoT course page. Download Workshop 2 Programs (.ZIP) github.com/dewdotninja/embedded_iot

    • @Transmission4less
      @Transmission4less 2 ปีที่แล้ว

      @@varodomt Highly appreciated. Great man.

  • @Tyler-uh3oj
    @Tyler-uh3oj 2 ปีที่แล้ว

    Nice one, you have a new sub. Why don’t you use promosm!? I’ve been using it on my main channel to increase my subs!!

  • @nuttme1694
    @nuttme1694 2 ปีที่แล้ว

    Thank you for your sharing

  • @user-sc3ry9zd2l
    @user-sc3ry9zd2l 2 ปีที่แล้ว

    ผมใช้esp8266 ujsonของผมโหลดไม่ได้ครับ มันเกี่ยวอะไรกับบอร์ดไหมครับ