- 2 123
- 202 369
ขันธ์ห้า ปัญญาวิมุตติ
Thailand
เข้าร่วมเมื่อ 21 พ.ย. 2020
ภิกษุทั้งหลาย!
เมื่อพระสุคตก็ดี ยังคงมีในโลก อยู่เพียงใด
อันนั้นก็ยังเป็นไป เพื่อความเกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขของชนเป็นอันมาก
เพื่ออนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล
เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อยู่เพียงนั้น.
บาลี จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.
เมื่อพระสุคตก็ดี ยังคงมีในโลก อยู่เพียงใด
อันนั้นก็ยังเป็นไป เพื่อความเกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขของชนเป็นอันมาก
เพื่ออนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล
เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อยู่เพียงนั้น.
บาลี จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.
(๓๕/๖๖๔-๖๗๕/๓๖๖-๓๖๙) คำว่า มีปีติและสุข ฯลฯ คำว่า ทุติยะ
(๓๕/๖๖๔-๖๗๕/๓๖๖-๓๖๙) คำว่า มีปีติและสุข ฯลฯ คำว่า ทุติยะ #พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่๓๕ #พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่35 #พระอภิธรรมปิฎก #ขันธ์ห้า #ปัญญา #พุทธวจน #อริยมรรค #อริยสัจสี่ #atdhammasong
มุมมอง: 25
วีดีโอ
(๓๕/๖๔๗-๖๕๑/๓๖๓-๓๖๔) คำว่า ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉา
มุมมอง 162 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๖๔๗-๖๕๑/๓๖๓-๓๖๔) คำว่า ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉา #พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่๓๕ #ขันธ์ห้า #ปัญญา #พุทธวจน #อริยมรรค #อริยสัจสี่ #atdhammasong
(๓๕/๖๑๒/๓๕๓-๓๕๔) สติ สัมปชัญญะ เป็นไฉน
มุมมอง 4514 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๖๑๒/๓๕๓-๓๕๔) สติ สัมปชัญญะ เป็นไฉน
(๓๕/๖๑๑-๖๑๒/๓๕๒-๓๕๓) คำว่า เจริญโพธิปักขิยธรรม เป็นไฉน
มุมมอง 10814 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๖๑๑-๖๑๒/๓๕๒-๓๕๓) คำว่า เจริญโพธิปักขิยธรรม เป็นไฉน
(๓๕/๖๐๗/๓๕๐-๓๕๑) คำว่า คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
มุมมอง 5016 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๖๐๗/๓๕๐-๓๕๑) คำว่า คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
(๓๕/๖๐๒-๖๐๔/๓๔๗-๓๔๙) คำว่า ปาฏิโมกข์ ฯลฯ โคจร เป็นไฉน
มุมมอง 6019 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๖๐๒-๖๐๔/๓๔๗-๓๔๙) คำว่า ปาฏิโมกข์ ฯลฯ โคจร เป็นไฉน
(๓๕/๕๙๙/๓๔๔-๓๔๕) ๑๒.ฌานวิภังค์ มาติกา จบ #พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่๓๕
มุมมอง 14019 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๕๙๙/๓๔๔-๓๔๕) ๑๒.ฌานวิภังค์ มาติกา จบ #พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่๓๕
(๓๕/๕๖๙-๕๙๘/๓๒๙-๓๔๓) ๑๑.มัคควิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ อริยมรรคมีองค์๘ นัยที่๑
มุมมอง 6521 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๙-๕๙๘/๓๒๙-๓๔๓) ๑๑.มัคควิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ อริยมรรคมีองค์๘ นัยที่๑
(๓๕/๕๙๖-๕๙๗/๓๔๒-๓๔๓) ทุกมาติกาวิสัชนา ฯลฯ ๑-๒.จูฬันตรทุกาทิวิสัชนา
มุมมอง 3721 ชั่วโมงที่ผ่านมา
(๓๕/๕๙๖-๕๙๗/๓๔๒-๓๔๓) ทุกมาติกาวิสัชนา ฯลฯ ๑-๒.จูฬันตรทุกาทิวิสัชนา
(๓๕/๕๙๔-๕๙๕/๓๔๐-๓๔๑) ปัญหาปุจฉกะ ติกมาติกาวิสัชนา องค์มรรค๘
มุมมอง 77วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๙๔-๕๙๕/๓๔๐-๓๔๑) ปัญหาปุจฉกะ ติกมาติกาวิสัชนา องค์มรรค๘
(๓๕/๕๔๒-๕๖๘/๓๑๖-๓๒๘) ๑๐.โพชฌังค์วิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ โพชฌงค์๗ นัยที่๑
มุมมอง 147วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๔๒-๕๖๘/๓๑๖-๓๒๘) ๑๐.โพชฌังค์วิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ โพชฌงค์๗ นัยที่๑
(๓๕/๕๐๕-๕๔๑/๓๐๐-๓๑๕) ๙.อิทธิปาทวิภังค์สุตตันตภาชนีย์ฉันทสมาธิปธานสังขาร
มุมมอง 171วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๐๕-๕๔๑/๓๐๐-๓๑๕) ๙.อิทธิปาทวิภังค์สุตตันตภาชนีย์ฉันทสมาธิปธานสังขาร
(๓๕/๔๖๕-๕๐๔/๒๘๕-๒๙๙) ๘.สัมมัปปธานวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์
มุมมอง 73วันที่ผ่านมา
(๓๕/๔๖๕-๕๐๔/๒๘๕-๒๙๙) ๘.สัมมัปปธานวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์
(๓๕/๔๓๑-๔๖๔/๒๕๙-๒๘๔) ๗.สติปัฏฐานวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ สติปัฏฐาน ๔
มุมมอง 53วันที่ผ่านมา
(๓๕/๔๓๑-๔๖๔/๒๕๙-๒๘๔) ๗.สติปัฏฐานวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ สติปัฏฐาน ๔
(๓๕/๕๘๙/๓๓๔-๓๓๕) ปัญจังคิกวาระ เอกโตปุจฉาวิสัชนานัย มรรคมีองค์๕
มุมมอง 27วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๘๙/๓๓๔-๓๓๕) ปัญจังคิกวาระ เอกโตปุจฉาวิสัชนานัย มรรคมีองค์๕
(๓๕/๕๘๐-๕๘๘/๓๓๒-๓๓๔) อภิธรรมภาชนีย์ อัฏฐยังคิกวาระ มรรคมีองค์๘
มุมมอง 64วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๘๐-๕๘๘/๓๓๒-๓๓๔) อภิธรรมภาชนีย์ อัฏฐยังคิกวาระ มรรคมีองค์๘
(๓๕/๕๖๙-๕๗๗/๓๒๙-๓๓๑) ๑๑.มัคควิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ อริยมรรคมีองค์๘ นัยที่๑
มุมมอง 45วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๙-๕๗๗/๓๒๙-๓๓๑) ๑๑.มัคควิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ อริยมรรคมีองค์๘ นัยที่๑
(๓๕/๕๖๘/๓๒๘) ทุกมาติกาวิสัชนา ๑-๑๒ จูฬันตรทุกาทิวิสัชนา
มุมมอง 44วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๘/๓๒๘) ทุกมาติกาวิสัชนา ๑-๑๒ จูฬันตรทุกาทิวิสัชนา
(๓๕/๕๖๔-๕๖๕/๓๒๖-๓๒๗) ปัญหาปุจฉกะ โพชฌงค์๗ ติกมาติกาวิสัชนา
มุมมอง 12814 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๔-๕๖๕/๓๒๖-๓๒๗) ปัญหาปุจฉกะ โพชฌงค์๗ ติกมาติกาวิสัชนา
(๓๕/๕๖๓/๓๒๔-๓๒๕) ปาฏิเยกกปุจฉาวิสัชนานัย อภิธรรมภาชนีย์ จบ
มุมมอง 9914 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๓/๓๒๔-๓๒๕) ปาฏิเยกกปุจฉาวิสัชนานัย อภิธรรมภาชนีย์ จบ
(๓๕/๕๖๑/๓๒๑-๓๒๒) ปาฏิเยกกปุจฉาวิสัชนานัย โพชฌงค์๗
มุมมอง 8414 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๖๑/๓๒๑-๓๒๒) ปาฏิเยกกปุจฉาวิสัชนานัย โพชฌงค์๗
(๓๕/๕๕๓-๕๖๐/๓๒๐-๓๒๑) อภิธรรมภาชนีย์ เอกโตปุจฉาวิสัชนานัย โพชฌงค์๗
มุมมอง 3914 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๕๓-๕๖๐/๓๒๐-๓๒๑) อภิธรรมภาชนีย์ เอกโตปุจฉาวิสัชนานัย โพชฌงค์๗
(๓๕/๕๔๔-๕๕๑/๓๑๗-๓๑๙) โพชฌงค์ ๗ นัยที่๒
มุมมอง 2714 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๔๔-๕๕๑/๓๑๗-๓๑๙) โพชฌงค์ ๗ นัยที่๒
(๓๕/๕๓๑-๕๓๕/๓๑๐-๓๑๒) อภิธรรมภาชนีย์ อิทธิบาท๔ (จบ)
มุมมอง 8314 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๓๑-๕๓๕/๓๑๐-๓๑๒) อภิธรรมภาชนีย์ อิทธิบาท๔ (จบ)
(๓๕/๕๒๘-๕๓๐/๓๐๙-๓๑๐) อภิธรรมภาชนีย์ วิมังสาสมาธิปธานสังขาร
มุมมอง 2414 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๒๘-๕๓๐/๓๐๙-๓๑๐) อภิธรรมภาชนีย์ วิมังสาสมาธิปธานสังขาร
(๓๕/๕๑๘-๕๒๑/๓๐๖-๓๐๗) อภิธรรมภาชนีย์ ฉันทสมาธิปธานสังขาร
มุมมอง 10314 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๑๘-๕๒๑/๓๐๖-๓๐๗) อภิธรรมภาชนีย์ ฉันทสมาธิปธานสังขาร
(๓๕/๕๐๔/๒๙๗-๒๙๙) ปัญหาปุจฉกะ ทุกมาติกาวิสัชนา สัมมัปปธานวิภังค์ (จบบริบูรณ์)
มุมมอง 3121 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๐๔/๒๙๗-๒๙๙) ปัญหาปุจฉกะ ทุกมาติกาวิสัชนา สัมมัปปธานวิภังค์ (จบบริบูรณ์)
(๓๕/๕๐๒-๕๐๓/๒๙๖-๒๙๗) ปัญหาปุจฉกะ สัมมัปปธาน ๔ ติกมาติกาวิสัชนา
มุมมอง 821 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๕๐๒-๕๐๓/๒๙๖-๒๙๗) ปัญหาปุจฉกะ สัมมัปปธาน ๔ ติกมาติกาวิสัชนา
(๓๕/๔๙๔-๕๐๑/๒๙๔-๒๙๖) อภิธรรมภาชนีย์ สัมมัปปธาน ๔ ตอนที่ ๔. (จบ)
มุมมอง 4821 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๔๙๔-๕๐๑/๒๙๔-๒๙๖) อภิธรรมภาชนีย์ สัมมัปปธาน ๔ ตอนที่ ๔. (จบ)
(๓๕/๔๙๒-๔๙๓/๒๙๓-๒๙๔) อธิธรรมภาชนีย์ สัมมัปปธาน ๔ ตอนที่ ๓
มุมมอง 3421 วันที่ผ่านมา
(๓๕/๔๙๒-๔๙๓/๒๙๓-๒๙๔) อธิธรรมภาชนีย์ สัมมัปปธาน ๔ ตอนที่ ๓
-สติ=หยุดฟุ้งซ่าน -สัมปชัญญะ=รู้ว่าทำอะไรอยู่ ขอเพิ่มมหาสติ... -มหาสติ=รู้ลมหายใจเข้าออกได้เองตลอดเวลา ทำอะไรก็ทำไปแต่รู้ลมไปด้วย เป็นการรู้ที่อยู่เหนือสติ เป็นต้นทางของศีลสมาธิ ขอบคุณครับ
เขากำลังเพ่งอารมณ์อยู่ ไม่เดินสายกลาง เอาซะเลยอดทนต่อไปนะ 77777777777😊😊
🙂เนื้อหาสาระดี...แต่ควรจะอ่านให้เต็ม ไม่ควรตัดลัดสั้น ทำให้เสียอรรถรสแห่งธรรมะ
ผู้อ่าน อ่านตามพระไตรปิฎก บทเต็มจะมีอยู่เฉพาะต้นเรื่องค่ะ ต่อจากนั้น มีการละไว้ในฐานที่เข้าใจ ตามบทต้นเรื่องค่ะ ต้องขออภัยด้วยนะคะ..ขอบคุณค่ะ
สาธุ
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
❤❤❤
❤❤❤
สาธุๆ
สาธุ😊ครับ😊
ขอน้อมยินดีในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
❤❤
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
สาธุ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
อ่านให้คนอินเดียโบราณฟังรึ ที่นี่ประเทศไทยนะ.
สวัสดีค่ะท่านกัลยาณมิตร ผู้อ่าน อ่านตามพระไตรปิฎกสยามรัฐ ฉบับภาษาไทย หากทำให้ท่านขุ่นใจขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ.
ความเห็นของพระโสดาบัน ❤กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล ❤กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากตัวเองบันดาล ❤กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นและตนเองบันดาล ❤กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆโดยปราศจากเหตุผล ⭐⭐นิทานสัมภวะ(แดนเกิด)แห่งกรรมทั้งหลายเกิด จากผัสสะ และกัมมนิโรธ(ความดับกรรม)แห่งกรรมทั้งหลาย ย่อมมีเพราะความดับไปแห่งผัสสะ
สังขารขันธ์ กองแห่งธรรมที่มีสภาพปรุงแต่งทำให้จิตที่เกิดขึ้นเป็นไปใน ชาติกุศล ชาติอกุศล ชาติวิบาก ชาติกิริยา
ปุถุชน พระโสดาบันบุคคล พระสกทาคามี พระอนาคามี มีจิต๔ ชาติ คือ กุศล อกุศล วิบาก กิริยา 💖พระอรหันต์มีจิตเพียง ๒ ชาติเท่านั้น คือ วิบากและกิริยา
อธิบายเป็นภาษาชาวบ้านจะได้เข้าใจ
สวัสดีค่ะท่านกัลาณมิตร ผู้อ่าน อ่านตามพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย ท่านให้อธิบาย ตรงส่วนไหน ถามมาได้ค่ะ ผู้อ่านจะตอบตามพระไตรปิฎก อรรถกถาค่ะ
ไม่เข้าใจ คะ ช่วยอธิบาย ให้เข้าใจ ในธรรม หน่อยคะ
สวัสดีค่ะท่านกัลยาณมิตร ท่านสงสัยข้อธรรมบทไหน ถามได้ค่ะ ผู้อ่านจะตอบตามพระไตรปิฎก อรรถกถาค่ะ.
สาธุสาธุสาธุอนุโมทามิ
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
นิวรณธรรม ๕ ได้แก่ ❤ กามฉันทนิวรณ(ความยินดีพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ) ❤พยาปาทนิวรณ์ (ความขุ่นเคืองใจ) ❤ถีนมิทธนิวรณ์ (ความท้อถอย หดหู่ และความซบเซาง่วงเหงา) ❤อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์(ความฟุ้งซ่าน และความรำคาญใจ) ❤วิจิกิจฉานิวรณ์ (ความสงสัยไม่แน่ใจในสภาพธรรม และในเหตุและผลของสภาพธรรม)
นิวรณ์ คืออกุศลที่เป็นเครื่องกั้นความดี นิวรณ์ ๖ คือเครื่องกั้นฌาน และวิปัสสนา โดยนิวรณ์ ๕ เป็นเครื่องกั้นของฌาน เพราะเป็นธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ (ตรงข้าม) กับองค์ฌาน ๕ ในปฐมฌาน ดังนี้ ๑. กามฉันทะ กั้น เอกัคคตา ๒. พยาปาทะ กั้น ปีติ ๓. ถีนมิทธะ กั้น วิตักกะ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ กั้น สุข (คือโสมนัสเวทนา) ๕. วิจิกิจฉา กั้น วิจาระ นิวรณ์ที่ ๖ คือ อวิชชานิวรณ์ ได้แก่ โมหเจตสิก อวิชชานิวรณ์นี้ เป็นอกุศลที่กั้นการเจริญวิปัสสนา คือการเจริญปัญญาเพื่อรู้แจ้งสภาพธรรมตามความเป็นจริง
ก็ สวนานุตตริยะ (การฟังที่ยอดเยี่ยม) เป็นอย่างไร? ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลงขับบ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ บ้าง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณะหรือพราหมณ์ผู้เห็นผิดผู้ปฏิบัติผิด บ้าง ดูกร ภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ มีอยู่ เราไม่กล่าวว่า ไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้นั้น เป็นกิจเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อสงบ-ระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ส่วน ผู้ใด มีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต การฟังนี้ยอดเยี่ยมกว่าการฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม (อริยมรรค) เพื่อทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ไปเพื่อฟังธรรมของพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่า สวนานุตตริยะ (การฟังที่ยอดเยี่ยม) .
การฟังด้วยดี ย่อมได้ปัญญา
ที่สุดแห่งโลก อ.อริยเจ้า
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
อนุโมทนา ในธรรมทาน
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
กราบนมัสการพุทธวจน
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
เข้าใจผิดแล้วครับ ข้ามขั้นตอนอาการของจิต ที่ถูกต้องตามที่พระศาสดาสอนไว้ในกฏิทัปปัจจยตา-ปฏิจสมุปบาท ที่ถูกคือ .. ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เพราะความมีอวิชชาของสรรพสัตว์ การดับแห่งสังขาร-เพราะการดับแห่งอวิชชา ... พระศาสดาตรัสสอนไว้ว่า..."เพราะการความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีการดับแห่งสังขาร". .. หาก"ผัสสะดับ" สิ่งที่ดับมาก่อนคือ "สะฬายะตะนะ" ครับ {เพราะมี"สฬายะตะนะ" เป็นปัจจัย จึงมี"ผัสสะ"(กิด) / เพราะความดับแห่ง"สฬานะตะนะ" จึงมีความดับแห่ง"ผัสสะ"(ดับ) } ครับ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ๔. ปริวัฏฏสูตร ว่าด้วยการรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔
สวัสดีค่ะท่านกัลยาณมิตร ส่งพระสูตรให้ท่านลองศึกษาดูนะคะ ยินดีในกุศลของท่านผู้ศึกษาพระธรรมค่ะ 🕯พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมหลายนัยยะ 📍และผัสสะ ก็ประกอบอยู่ในจิตทุกดวงขณะที่จิตเกิดปรากฏ 📍ผัสสะเป็น เจตสิก เป็นนามธรรม เป็นสังขารขันธ์. หากผู้พูดมีความเห็นผิด ยินดีรับฟังและแก้ไขค่ะ ..สาธุค่ะ
@@ขันธ์ห้าปัญญาวิมุตติ-ธ6ข :จิตเป็นธาตุตามธรรมชาติ จิต ทำหน้าที่รู้ขันธ์ทั้ง4 ไปตามเหตุปัจจัยคือผัสสะ (ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ) เพราะสัตว์มีตัณหา-อุปาทาน..จึงเกิดการกระทบกับรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัส จะก่อให้เกิดภพชาติชรามรณะขึ้น ครับ
น้อมกราบสาธุค่ะ
สาธุ
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
ปัญญาว่างเปล่า อ.อริยเจ้า
โสดาบัน เห็น ความเป็นจริง ของธรรมะ(สิ่งที่มีจริง)ดังนี้แล.
โสดาบันรู้▶️ อริยสัจ4▶️ ปฏิจจสมุปบาท เวทนา ปรากฏ เหตุเพราะมี ผัสสะเป็นปัจจัย =ทุกขอริยสัจ ผัสสะ เป็นปัจจัยให้ เวทนาปรากฏ =ทุกขสมุทยอริยสัจ ผัสสะดับ เวทนาดับ =ทุกขนิโรธอริยสัจ ความเห็นถูก ว่า สิ่งที่มีจริงทั้งหลาย(ธรรมะทั้งหลาย)▶️ไม่เที่ยง แปรปรวน ไม่มีตัวตนด้วยตนเอง ต่างอาศัยกันและกันเกิดขึ้น เกิดดับตามเหตุปัจจัย บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา. =ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตทุกท่านค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
เจตสิกคืออะไร? เป็นส่วนใดของขันธ์5 มันทำหน้าที่อย่างไรครับ?
สวัสดีค่ะท่านกัลยาณมิตร เจตสิก คือนามธรรมที่อาศัยจิตเกิดขึ้น แสดงลักษณะอาการของตนๆค่ะ นามขันธ์มี๔ แบ่งเป็น วิญญาณขันธ์๑(จิต) และอีก๓ขันธ์(เจตสิก) คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ค่ะ *เวทนา ทำกิจ รู้สึก (สุข ทุกข์ เฉยๆ) *สัญญา ทำกิจ จำ *สังขาร ทำกิจ ปรุงแต่งอารมณ์
@@ขันธ์ห้าปัญญาวิมุตติ-ธ6ข แสดงว่า เจตสิกคืออาการของจิต. จิต.หมายถึง วิญญาณ อาการเวทนา(สุขทุกข์อุเบกขา) หมายถึง จิตหรือวิญญาณเข้าไปตั้งฝังลึกอยู่ในเวทนา ถือเอาเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย.และเมื่อมีนันทิ(ความเพลิน) เข้าไปเป็นที่ซ่องเสพ จิตจึงเจริญงอกงามไพบูรณ์ได้ เจตสิกจึงเป็นอาการของจิต และอยู่ในวิญญาณขันธ์ ผมเข้าใจถูกไหมครับ?
ธรรมะ(สิ่งที่มีจริง) ต่างอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ดับไป ตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่สัตว์ บุคคล
รูปที่เป็นใหญ่เป็นประธาน มี ๔ รูป ธาตุดิน (ปฐวี)๑. ลักษณะ แข็ง,อ่อน ธาตุน้ำ (อาโป)๑. ลักษณะที่เกาะกุม ธาตุไฟ (เตโช)๑. ลักษณะร้อน,เย็น ธาตุลม (วาโย)๑. ลักษณะไหว,ตึง
ปัญญา(รู้ความจริง) ปัญญา เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ปัญญาที่รู้ความจริงในสภาพธรรมะที่มีจริงในขณะนี้ คือ อริยมรรค8 เป็นปัญญาที่เป็นหนทางดับกิเลส.
ขันธ์ห้า เป็นสภาพธรรมที่มีจริง สิ่งใดมีจริง สิ่งนั้นเป็นธรรมะ เช่น เสียง ได้ยิน พอใจ ไม่พอใจ คิด ง่วง เป็นต้น.
ขันธ์ห้า (รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์) หมายถึง สภาพธรรมที่มีจริง เป็นสภาพธรรมที่เกิดดับ ตามเหตุ ตามปัจจัย ทรงไว้ซึ่งความว่างเปล่า จากความเป็นตัวตน สัตว์ บุคคล.
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ..สาธุค่ะ🌷
สาธุค่ะ
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..เจริญธรรมค่ะ.
สาธุๆๆค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ ขอความเจริญยิ่งแห่งพระสัทธรรมบังเกิดมีแก่ท่านเทอญ..สาธุค่ะ
ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ ขอความเจริญยิ่งแห่งพระสัทธรรมบังเกิดมีแก่ท่านเทอญ..สาธุค่ะ
ผมรู้จักในอภิธรรมเพราะทำให้สัตว์จมอยู่ในวัฏฏะสงสารมีอย่างเดียวที่แก้ได้คือปัญญาและปฏิบัติกรรมฐานในอริยะสัจ๔อย่างละเอียดจนทำให้อาสาวะกิเลสที่หมักดองในสันดานหมดจดจนจิตบริสุทธิ์สิ้นเชิงจึงละได้ตลอดกาลกิเลสไม่มาเกิดอีกต่อไปไม่เชื้อรากเหง้าไฟดับไม่ติดอีกเลยจิตเป็นบรมสุขตลอดกาลไม่มีที่สิ้นสุดไม่มีทุกเกิดกับจิตแม้กายจะมีทุกก็ตาม
ชีวิตที่เหลืออยู่เพื่อเจริญปัญญาให้ปรากฏ ชาตินี้นี้เป็นชาติที่ประเสริฐสุด ได้ยินได้ฟังพระธรรม(สิ่งที่มีจริง เป็นธรรมะ มีลักษฯะเฉพาะตน )เกิด ดับตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่เรา 💞💞💞💞💞💞💞💞 ขอน้อมอนุโมทนาในกุศลจิตค่ะ ขอความเจริญยิ่งแห่งพระสัทธรรมบังเกิดมีแก่ท่านเทอญ..สาธุค่ะ
ภาวนามยปัญญา เป็นปัญญาแห่งพระนิพพานและเป็น ปัจจัตตัง
ขอน้อมยินดีในกุศลค่ะ..สาธุค่ะ
@@ขันธ์ห้าปัญญาวิมุตติ-ธ6ข เป็นผลจากที่ปฏิบัติธรรมกับพ่อแม่ครูบาอาจารย์ ฝ่านมาสรลี่สิบสามปี
อนัตตลักขณสูตร เสนอให้ถูกด้วย
สวัสดีค่ะท่านกัลยาณมิตร ขออนุญาตส่งข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามพระไตรปิฏกค่ะ ขอบคุณมากค่ะที่ชี้ข้อถูกผิดให้ตรวจทานพิจารณา..สาธุค่ะ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต ๓. อนิจจสูตร [๓๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นสังขารไรๆ โดย ความเป็นของเที่ยง จักเป็นผู้ประกอบด้วยขันติที่สมควร ข้อนั้นย่อมไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้ ไม่ประกอบด้วยขันติที่สมควรแล้ว จักก้าวลงสู่ความเป็นชอบ และความแน่นอน ข้อนั้นย่อมไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อไม่ก้าวลงสู่ความเป็นชอบ และความแน่นอน จักกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล หรืออรหัตผล ข้อนั้นย่อมไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นสังขารทั้งปวงโดยความเป็นของไม่ เที่ยง จักเป็นผู้ประกอบด้วยขันติที่สมควร ข้อนั้นย่อมเป็นฐานะที่จะมีได้ เธอ ประกอบด้วยขันติที่สมควรแล้ว จักก้าวลงสู่ความเป็นชอบและความแน่นอน ข้อ นั้นย่อมเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อก้าวลงสู่ความเป็นชอบและความแน่นอน จักกระ ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล หรือ อรหัตผล ข้อนั้น ย่อมเป็นฐานะที่จะมีได้ ฯ จบสูตรที่ ๓ ๔. ทุกขสูตร [๓๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นสังขารไรๆ โดยความ เป็นสุข ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นสังขารทั้งปวงโดยความเป็น ทุกข์ ฯลฯ จบสูตรที่ ๔ ๕. อนัตตสูตร [๓๗๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นธรรมไรๆ โดยความ เป็นอัตตา ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณาเห็นธรรมทั้งปวงโดยความเป็น อนัตตา ฯลฯ
สาธุ..✨🙏🙏🙏✨😇
ถามจริง คนพูด รู้เรื่องที่ต้วเองสื่อมั้ยหนอ . 😢😢😢