pongkran07011
pongkran07011
  • 4
  • 47 848
ฟ้อน นบสะหรีป๋ารมีภูกามยาว
โดย ชุมนุมนาฏยศิลป์ โรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม
มุมมอง: 4 191

วีดีโอ

ละครนอก เรื่อง ไชยเชษฐ์ บด ๔
มุมมอง 3.1K13 ปีที่แล้ว
ละครนอก เรื่อง ไชยเชษฐ์ บด ๔
รำถวายพระพร ๕ ธันวามหาราช
มุมมอง 41713 ปีที่แล้ว
รำถวายพระพร ๕ ธันวามหาราช
ฟ้อนก๋ายลาย บัณฑิตพัฒนศิลป์
มุมมอง 40K13 ปีที่แล้ว
เป็นการนำท่าจากการฟ้อนก๋ายลายดั้งเดิมมาปรับรุงลีลาให้สวยงามและอ่อนช้อย เป็นงานวิจัยของนักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ความคิดเห็น

  • @ธารีพรสังขมรรทร
    @ธารีพรสังขมรรทร 10 หลายเดือนก่อน

    ❤❤❤❤❤

  • @ixpondxi
    @ixpondxi 2 ปีที่แล้ว

    ผ่านมา9ปีละที่เข้ามาดูคลิปนี้ตลอด ชอบเพลง ชอบเสียงฆ้องเสียงกลอง ซะล้อซอซึง ทำหื้อนึกถึงบ้านสามเหลี่ยมทองคำ ที่มีตึงเงี้ยวตึงคนเมืองอยุุ่ร่วมกัน เวลามีปอยจะได้ยินเสียงเพลงแบบนี้แหละ

  • @nongka1983
    @nongka1983 2 ปีที่แล้ว

    สวยงาม ใช้เพลงนี้แล้ว ดูน่าสนใจมากๆ

  • @ช้างน้อยน่ารัก-พ7ษ

    งามขนาด

  • @SS-zi4vh
    @SS-zi4vh 4 ปีที่แล้ว

    ชอบ งดงามอ่อนช้อย กลมกลืนทุกอย่าง ท่ารำ ชุด 👏👏👏🙏

  • @woraphonkun8006
    @woraphonkun8006 4 ปีที่แล้ว

    โปรดอย่าคิดอะไรมากมายเลยครับ น้องๆเขามีความตั้งใจในการทำการแสดงในรูปแบบใหม่แต่ยังมีท่าเดิมให้เห็นกันอยู่ ผมก็ว่าดีอยู่นะครับ ดีกว่านักการเมืองบางจำพวกที่ต้มคนดูเผาคนจนเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง

  • @กฤษฎาเรือนจันทร์-ร7ฑ

    ฟ้อนก๋ายลาย (ชื่อเต็ม ฟ้อนลายก๋ายเมือง) ลาย:เจิง คือศิลปะการต่อสู้ของล้านนา ก๋าย:เปลี่ยน เมือง : ฟ้อนเมือ(ฟ้อนเล็บ) ค้นพบในเขตุพื่นที่ อ. สะเมิง จ.เชียงใหม่ โดยชมรมพื้นบ้านล้านนา ได้ไปศึกษา รวบรวมท่ารำในเขตุพื่นที่ อ.สะเมิง แล้วนำออกเผยแพร่ เมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว ถามว่าฟ้อนก๋ายลายเป็นของเก่าไหมคำตอบคือหลักฐานบันทึกข้อมูล การนำฟ้อนก๋ายลายจากชุมชน อ.สะเมิงมาฟ้อนรับเสด็จ ร.๗ใน ครั้งเสด็จเลียบมลฑลภายัพ ถามว่าเก่าพอไหม? ดนตรีประกอบ เดิมใช้วงกลองแอว(กลองตึงโนง)วงเดียวกับที่ใช้ฟ้อนเล็บฟ้อน ภายหลังมาเปลี่ยนเป็นกลองมองเซิง ส่วนดนตรีการเอากลองมองเซิงมาบรรเลงเข้ากับดนตรีพื้นเมืองเป็นแนวคิดของ อ. สนั่น ธรรมธิ ม.ช. ซึ่งทำมาจะน่าจะสิบปีละ และมีการบันทึกเทปออกวางจำหน่าย ด้วย

    • @tawinlaynaree1532
      @tawinlaynaree1532 7 ปีที่แล้ว

      แต๊ๆแล้วสมันนั้นเปิ่นขางเน่อลายนี้นา เดิมฟ้อนลายได้ก๋ายสมัยแม่อุ๊ยจื่น แม่อุ๊ยงา แม่อุ๊ยออน แม่อุ๊ยต๋า สมัยนั้นอ.สนั่น ไปสืบมาครับ สมัยนั้นหนานอ้อยังเป๋นละอ่อนครับ ยังอยู่ในเหตุการณ์เมื่อปี๋2534(ถ้าจ๋ำบ่ผิด)ฟ้อนอันนี้น่าจะเปลี่ยนจื่อใหม่ครับ

  • @ศรายุทธกุนทา-ภ3จ
    @ศรายุทธกุนทา-ภ3จ 8 ปีที่แล้ว

    เพลงเพราะมากฟ้อนได้งามดี

  • @ajanasoykrathok9543
    @ajanasoykrathok9543 8 ปีที่แล้ว

    งามขะหนาด

  • @khajonsakkheyfoo7180
    @khajonsakkheyfoo7180 8 ปีที่แล้ว

    รบกวนน้องขอชื่อเพลงหน่อยได้ก่จ้าว

  • @nuttapongprommaboon9734
    @nuttapongprommaboon9734 9 ปีที่แล้ว

    เพลงที่ฟ้อนชื่อเพลงอะไรหรอครับ?

    • @pangpondjackann5523
      @pangpondjackann5523 9 ปีที่แล้ว

      ฟ้อนภูกามยาว

    • @nuttapongprommaboon9734
      @nuttapongprommaboon9734 9 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ แล้วไฟล์เพลงสามารถหาได้จากที่ไหนหรอครับ?

    • @pangpondjackann5523
      @pangpondjackann5523 9 ปีที่แล้ว

      ผมก็ไม่ทราบเหมือนกันครับ รู้แต่ชื่อ

    • @nuttapongprommaboon9734
      @nuttapongprommaboon9734 9 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับผม ^^

  • @YutthanaSeapour
    @YutthanaSeapour 9 ปีที่แล้ว

    เมื่อปี 2548 คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีการนำเสนอการแสดงชุด ฟ้อนก๋ายลาย ซึ่งเป็นผลงานศิลปนิพนธ์ เป็นกลุ่มพวกพี่ทางภาคเหนือ ในการนำเสนอครั้งนั้น มีการบรรเลงด้วยวงดนตรีพื้นเมือง ที่มีแต่จังหวะกลอง ผู้แสดงแค่ 8 คน ไม่มีการแปรแถว แต่ในการครั้งนี้เป็นการนำเสนอเพื่อความสวยงามและไม่ให้น่าเบื่อ ทางคณะผู้จัดทำ คงท่ารำไว้ตามเดิม โดยเพิ่มทำนองเพลงเข้ามาและการแปรแถว อนึ่งการแสดงไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าถูกหรือผิด มันคงขึ้นอยู่กับความชื่นชอบของผู้ชมเป็นตัวตัดสิน และการเปลี่ยนแปลงมันก้อาจทำให้อะไรหลายอย่างพัฒนาขึ้น แต่อย่างน้อยยังคงมีเชื้อเพลิงของรากเง้าแห่งวัฒนธรรมอยู่

  • @วราศิณีเชื้ออุ่น

    เป็นการเรียบเรียงท่ารำใหม่ โดยนำท่าเดิมมาเรียบเรียลใหม่ เพราะต้นฉบับเดิมมีจังหวะเร็วและยาก ซึ่งสถาบันบัณทิตฯเค้าเร่งเห็นจึงประยุกต์ให้ง่ายขึ้ย

  • @Chungizuho
    @Chungizuho 9 ปีที่แล้ว

    เพลงซอเงี้ยวป่ะ

  • @Erotice121
    @Erotice121 10 ปีที่แล้ว

    ขอโทษน่ะะค่ะอยากทราบชื่อเพลงอะค่ะว่าชื่อเพลงอะไร รบกวนผู้รู้หรือเจ้าของคลิปนี้ช่วยแนะนำทีค่ะ ขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ :D

  • @ssurapongsriprom
    @ssurapongsriprom 10 ปีที่แล้ว

    เรามองว่า วัฒนธรรมมันมีพลวัต ของมันเสมอนะ วัฒนธรรมที่ไม่มีการปรับ เปลี่ยนให้เข้ากับยุคสมัยก็เท่ากับเป็นวัฒนธรรมที่ตาายแล้ว ถ้าจะอ้างความเป็นแบบเบ้าโบราณจริงๆ แค่คุณเอามาโชว์บนเวทีมันก็ไม่เป็นแบบโบราณแล้ว

  • @ชิตษณุพงศ์พ่ายเวหา

    ไค่ได้เพลงนี้ขนาดครับ จื่อเพลงอะหยังนี่ ฟังแล้วก่ม่วนขนาดครับ

  • @จิรายุสเหล็กแก้ว-ฏ5ว

    อยากได้เพลงอ่ะครับ เพลงไรครับ

  • @ticholastach1253
    @ticholastach1253 11 ปีที่แล้ว

    boskung nakup ผมว่าไม่มีหรอกครับ ต้นฉบับเค้าหวงจะตาย ไม่รู้หวงไปไหน เก็บไว้ต้นกินหรือไงก็ไม่รู้

  • @ticholastach1253
    @ticholastach1253 11 ปีที่แล้ว

    ก๋ายลาย ก๋ายคือการเปลี่ยนแปลง ลายคือท่ารำ ก๋ายลายคือการเปลี่ยนไปของท่ารำ คนที่บอกว่ามีของเก่านั้นหนะ ของเก่าตอนนี้เมือก่อนมันก็คือของไหม่นั้นแหละ จากเจิงเป็นก๋ายลาย ลายก็เปลี่ยนมาเลื่อยๆ แล้วแต่แม่ครู พ่อครู มันไม่ผิดสาหัสอะไรหรอกเชื่อเราสิ เราคนเหนือ *-*

  • @กองคําณกองกีต
    @กองคําณกองกีต 11 ปีที่แล้ว

    ทำนองซอเงี้ยว หรือว่า เสเลเมา ครับ

  • @phattyoo
    @phattyoo 11 ปีที่แล้ว

    เพลงนี้ชื่อเพลงไรครับ

  • @จิตรเสนสมชาย
    @จิตรเสนสมชาย 11 ปีที่แล้ว

    เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงชือเพลงไรอะคับ ใครก็ได้ช่วยบอกหน่อยยยยนะ

  • @ixpondxi
    @ixpondxi 11 ปีที่แล้ว

    ก๋องมองเซิง กับ สะล้อ ซอ ซึง มันเข้ากั๋น จับเบ๊ะ ม่วนขนาด

  • @nuttapongprommaboon9734
    @nuttapongprommaboon9734 11 ปีที่แล้ว

    เพลงอะไรหรอครับ

  • @zackds4t
    @zackds4t 11 ปีที่แล้ว

    ก๋ายลาย มาจากคำว่า กลายลาย ซึ่งกลาย หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ลาย มาจากคำว่าเชิงการต่อสู้ ของการฟ้อนเจิง ฟ้อนก๋ายลายจึงอาจตั้งข้อสันนิษฐานได้ว่ามีหลาย รูปแบบขึ้นอยู่กับศิลปินผู้สร้างสรร ได้นำเอาตำหรับกระบวนท่ามาจากสำนักไหนซึ่งก็มีอยู่มากมายหลายสูตรเช่นกัน ครับ

  • @aeyza55
    @aeyza55 12 ปีที่แล้ว

    ใครรู้ว่าเพลงอะไรหาได้จากไหนบอกหน่อยนะคับ

  • @kantchai
    @kantchai 12 ปีที่แล้ว

    ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราไปเรียนฟ้อนก๋ายลายกับแม่อุ้ยดี แม่อุ้ยอายุ 80 ปีแล้ว ท่านก็ไม่สามารถจะมาฟ้อนให้แอวอ่อนพิศดารได้ คนที่ไปเรียนไม่ได้คำนึงถึงจุดนี้ จึงลอกท่าคนแก่คนเฒ่าออกมาเด๊ะๆ การฟ้อนเลยแข็งเกิกเดิกเหมือนหุ่นยนต์ แต่การฟ้อนที่ผ่านงานวิจัยมาแล้ว เขาจะมีวิธีวิจัยทางนาฏศิลป์อยู่ คือการปรับท่าให้เป็นธรรมชาติและงดงามตามอายุและวัยและบริบทของการแสดง เอามาทำใหม่ให้อ่อนช้อยงดงามแต่ยังคงแม่ท่าไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ อย่างนี้ถือเป็นการวิจัยเชิงอนุรักษ์ คือทำให้ของดีปรากฎ ไม่ใช่แต่เก็บเข้ากรุครับ

  • @chakkriza234
    @chakkriza234 12 ปีที่แล้ว

    ก้อสวยกว่าองต้นฉบับนิดนึงน่ะ

  • @tankura
    @tankura 12 ปีที่แล้ว

    _+_ ของแท้ต้อง มช เท่านั้น

  • @rawiwatta
    @rawiwatta 12 ปีที่แล้ว

    ดิฉันในฐานะเป็นช่างฟ้อน แล้วก็ฟ้อนได้ทั้สองอย่า ของเก่าของแม่ครูก็ดี สวย ฟ้อนยากบ้าง แต่ก็ฟ้อนได้ แต่พอได้เห็ของวิทยาลัย ก็สวยดี สะอาดตา ฟ้อนง่ายขึ้น แล้วที่สำคัญเขาก็ใช้ซื่อว่า """"ฟ้อนก๋ายลาย บัณฑิตพัฒนศิลป์ """"ด้วยค่ะ ก็เป็นที่รู้กันแล้วค่ะค่ะ

  • @pantumburi
    @pantumburi 12 ปีที่แล้ว

    แรงเกินไปครับ ไม่มีใครเค้าจะไปทับถมอะไรใครหรอกครับ ที่เรียนที่รำกันอยู่ทุกวันนี้ก็เพราะรักในวัฒนธรรมกันทั้งนั้น

  • @bluepearlia
    @bluepearlia 12 ปีที่แล้ว

    เอ๋ นี่มันไม่ใช่ฟ้อนก๋ายลายนี่คะ

  • @Dramatic6422
    @Dramatic6422 12 ปีที่แล้ว

    ไม่มีใครดูถูกหรอกนะครับ แต่มันเปรียบเสมือนการดูถูกบรรดาพ่อครูแม่ครู ศิลปินพื้นบ้านทั้งหลายที่พวกท่านได้สืบทอดเอาศิลปการเหล่านี้ไว้ ถ้าพวกท่านทราบก็คงจะรู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจที่คนรุ่นใหม่มาทำแบบนี้กับของที่มีมาแต่โบราณ เพราะฉะนั้นถ้าจะเป็นการสร้างสรรค์ ก็ควรจะเปลี่ยนชื่อเสียใหม่ ถ้าคนที่เขาไม่รู้เขาดูว่าสวยเขาก็บอกว่าสวย เพราะเขาไม่รู้ที่มาที่ไป แต่ถ้าเกิดคนที่เขารู้แล้วเขามาดู ก็จะโดนตำหนิได้ อย่างเช่นหลายๆความคิดเห็นที่ได้แสดงกันออกมาต่างๆนาๆ

  • @Dramatic6422
    @Dramatic6422 12 ปีที่แล้ว

    ของเก่าของแท้จริงอยู่ที่ชมรมพิ้นบ้านล้านนา มช ครับ

  • @rainbowboyMFU
    @rainbowboyMFU 12 ปีที่แล้ว

    แต่คำว่าก๋ายลายนั้น ความหมายคือ การแปลง(ก๋าย)ศิลปะการต่อสู้หรือเจิง(ลาย)ของผู้ชายให้ออกมาอ่อนช้อยเหมาะสมกับการฟ้อนรำของผู้หญิง ดังนั้นฟ้อนก๋ายลาย มันต้องคงลีลาท่าทาง(แม่ท่า)ของฟ้อนเจิงเอาไว้ด้วย ในความคิดเห็นส่วนตัว(ซึ่งก็ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์แต่อย่างใด) การฟ้อนชุดนี้ น่าจะใช้ชื่อใหม่ เช่น ฟ้อนมองเซิง ฟ้อนลื้อ ฟ้อนลื้อมองเซิง ฯลฯ เหตุเพราะ เห็นการแต่กายของช่างฟ้อนเป็นชาติพันธุ์ลือ และใช้กลองมองเซิงมาเป็นเครื่องประกอบจังหวะ

  • @rainbowboyMFU
    @rainbowboyMFU 12 ปีที่แล้ว

    ฟ้อนงาม พร้อมเพรียง เป็นระเบียบเรียบร้อย สมกับเป็นนักเรียนของกรมศิลปากร รู้จักประยุกต์ให้ออกมาสวยงาม

  • @RAM15149
    @RAM15149 12 ปีที่แล้ว

    คุณที่บอกว่าเป็นระบำภาคกลางอะเอาตาดูหรือเปล่าครับ เสื้อผ้าเครื่องเเต่งกาย ดนตรี ท่ารำ มันภาคกลางตรงไหน ถ้าใส่จีบหน้านางห่มสใบ หรือตั้งรัดเกล้ามาฟ้อนว่าไปอย่าง หรือจะว่าลายฟ้อนไม่เหมือนล้านนา ผมก็ไม่เถียงเพราะการจัดสรีระอาจไม่เหมือนกัน เเต่การเเสดงสวยงามขนาดนี้ สมบูรณ์ขนาดนี้ ดูเอาเถอะครับกับคำวิจารณ์ของพวกคุณ กับคนอีกมากโข เขาจะชื่นชมใคร

  • @RAM15149
    @RAM15149 12 ปีที่แล้ว

    ถ้าจะดูว่าทำลายของเดิมผมยังมองไม่เห็นเลยว่าการเเสดงชุดนี้ไปทำลายยังไง จุดมุ่งหมายก็เพื่อการอนุรักษ์สืบทอด เละสร้างสรรค์ไปพร้อมกันครับคุณ อยู่ที่ว่าจะเสนอออกมาในรูปเเบบใด ตรึงใจกับผู้ชมมากน้อยเเค่ไหน เอกลักษณ์เดิมยังคงอยู่ การเเต่งกาย เพลงที่ใช้ประกอบการเเสดง ท่ารำปรับปรุงการนำเสนอในรูปเเบบอ่อนช้อยอ่อนหวานให้เหมาะกับสตรี หรือคุณว่าไม่จริง อย่าพยายามดูถูกกันเลยครับ ผู้สร้างสรรค์เขาจะหมดกำลังใจในการสร้างผลงาน ผมว่าช่วยกันผดุงไว้ซึ่งศิลปะประจำชาติดีกว่า

  • @RAM15149
    @RAM15149 12 ปีที่แล้ว

    ไม่ได้เหยียบย่ำผลงานเก่าหรอกครับ ไม่ใช่นึกอย่างจะรำก็รำ อย่างจะฟ้อนก็ฟ้อน ใส่เสื้อผ้าให้เยอะเข้าไว้เเล้วก็ฟ้อนไปเรื่อย บางอย่างก่อนที่จะเป็นการเเสดงสมบูรณ์ก็ต้องเเอ๊บพรายทั้งนั้น เเหละครับหรือคุณว่าไม่จริง ดูให้เป็นศิลปะ เเล้วอย่ามาดูถูสถาบันของผม ไม่มีผิดหรือถูกหรอกครับมันอยู่ที่ความเหมาะสม เปิดใจให้กว้างๆหน่อย

  • @RAM15149
    @RAM15149 12 ปีที่แล้ว

    สร้างสถาบันมาเพื่อสืบทอดครับ เเละทางเดียวกัน ก็สร้างสรรค์ผลงานดีๆ มาก็เยอะ สถาบันต่างๆก็ยอมรับในความสามารถหรือคุณว่าไม่จริง ผู้สร้างสรรค์ผลงานเขาคงมีเเนวความคิดเสนอผลงานออกมาในรูปเเบบใหม่ โดยยังคงเอกลักษณ์เดิมอยู่ ผู้สร้างสรรค์เขาก็บอกอยู่ว่าปรับปรุง อีกอย่างก่อนจะเป็นผลงานศิลปนิพนธ์ได้เขาก็ต้องมีการเก็บข้อมูลก่อน

  • @phonwisut
    @phonwisut 12 ปีที่แล้ว

    สถาบันนี้ เขาสร้างมาเพื่อ ทับถมเหยียบย่ำของเก่า หรือเพื่อสืบทอด

  • @noiread
    @noiread 12 ปีที่แล้ว

    ฟ้อนก๋ายลาย ไม่ใช่เเบบนี้ น่าจะใช้ชื่ออื่นมากกว่านะครับ

  • @bengility4701439
    @bengility4701439 12 ปีที่แล้ว

    ยังไม่เห็นการปรับปรุงจากของดั้งเดิมมาเป็นของใหม่ เพียงแต่นำท่ามาเรียงใหม่เพิ่มความเป็นนาฏศิลป์เข้าไป เรื่องการปรับปรุงหรือที่เราอาจจะเรียกว่า "การนำเสนอรูปแบบใหม่" ตรงนี้ผู้ประดิษฐ์น่าจะตีประเด็นให้ขาด ท่าฟ้อนของก๋ายลาย น่าสนใจตรงคำว่า "ลาย" ที่หมายถึงชั้นเชิง ถ้าเราได้ศึกษาพัฒนาการท่าฟ้อนของฟ้อนก๋ายลายอาจจะเห็นถึงความหมายของลายนั้นๆ การเรียงท่าเพื่อความงามกับการเรียงท่าที่มีความหมายต่างกัน ขอชื่นชมงานวิจัยนี้ที่จะเป็นแรงกระตุ้นให้มีงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์งานนาฏยล้านนาที่แสดงถึงพลังปัญญา

  • @10012483
    @10012483 12 ปีที่แล้ว

    ถ้าจะปรับให้สวยงามและอ่อนช้อย ควรเปลี่ยนใช้ชื่ออื่น หรือประดิษฐ์คิดค้นใหม่แล้วใช้ชื่อใหม่ไปเลย เพราะฟ้อนก๋ายลาย คือการฟ้อนที่ กลายลวดลายการฟ้อนเจิงของผู้ชาย ซึ่งครูบาอาจารย์ของล้านนาท่านได้คิดค้นขึ้น แล้วถ้าคนที่ไม่รู้ มาดูก็จะคิดว่า นี่แหละคือการฟ้องก๋ายลาย ซึ่งผิดจากความเป็นจริงโดยสิ้นเชิง

  • @maneegarb
    @maneegarb 12 ปีที่แล้ว

    ผมว่าบางท่าคล้าย เรือมอัปสรา ของอีสานใต้ ซึ่งไม่เหมือนก๋ายลายที่เคยเห็นครับ แต่ก็สวยไปอีกแบบ ดนตริแปลกๆครับมีเครื่องดีดสีเพิ่มเข้ามาด้วนเนอะ

  • @teerachai31
    @teerachai31 12 ปีที่แล้ว

    งดงาม การแสดงคือการดูแล้วเพลิดเพลิน หากคิดติดอยู่แบบเดิมๆ ก็ไม่ใช่การแสดงเชิงสร้างสรรค์ ชอบการแสดงชุดนี้ สวยงาม ดนตรีเพราะ...ท่าฟ้อนก็งาม

  • @worapisis
    @worapisis 12 ปีที่แล้ว

    ลอกแลน

  • @Dramatic6422
    @Dramatic6422 12 ปีที่แล้ว

    จะว่าเป็นการวิจัยเชิงอนุรักษ์ก็ไม่ใช่ เพราะ มีการปรับท่าใหม่เพิ่มขึ้น จะว่าเป็นวิจัยเชิงสร้างสรรค์ ก็ไม่ใช่เพราะเอาท่าเก่าชื่อเก่ามาดัดแปลง

  • @Dramatic6422
    @Dramatic6422 12 ปีที่แล้ว

    ถ้าจะเป็นฟ้อนก๋ายลายของเก่าจริงๆต้องของชมรมพื้นบ้านล้านนาครับ แต่นี่อะไรกันเอาท่าเก่าของเขามาดัดแปลงแต่ยังกล้าใช้ชื่อเดิมอีก ไม่ให้เกียรติพ่อครู แม่ครู ต้นฉบับท่านเลย ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าวิจัยเรื่องนี้ได้รับการอนุมัติผ่านมาได้ไง เพราะเป็นการเอาของเก่ามาทำลายชัดๆ