The TeacheRism
The TeacheRism
  • 191
  • 16 557

วีดีโอ

การจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) เรื่อง การทดสอบสารอาหารในพืช
มุมมอง 39หลายเดือนก่อน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
1โรงเรียน1นวัตกรรม โรงเรียนธรรมโฆสิต
มุมมอง 497 หลายเดือนก่อน
Mr.Nut Project นวัตกรรมเพื่อชุมชน โรงเรียนธรรมโฆสิต อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
การจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning best practice : ฮอร์โมนอินซูลิน
มุมมอง 71ปีที่แล้ว
การจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning best practice : ฮอร์โมนอินซูลิน
phato coffee in Satun province
มุมมอง 29ปีที่แล้ว
การนำเสนอผลงานตัวแทนโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร โดยกลุ่มนักเรียนชุมนุมพะโต๊ะ คอฟฟี โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคใต้ ครั้งที่ 70
การแสดงนาฏศิลปืไทยสร้างสรรค์ ชุด ระบำล่องแพ แลหมอก
มุมมอง 172ปีที่แล้ว
รายชื่อผู้แสดง 1. ด.ญ. สาริษฐา หนูสวัสดิ์ 2. ด.ญ. สรรวยา หนูสวัสดิ์ 3. ด.ญ. ธารธารา คำด้วง 4. ด.ช. ชนาธิป นวลศรี 5. ด.ช. ธนรัตน์ เรืองมนตรี 6. ด.ช. กลทีป์ สิทธิสมบูรณ์ 7. ด.ช. รณกฤต ขอมเเพ 8. ด.ญ.ปิ่นสุดา ชูรัตน์ 9. ด.ญ.สุวิชาดา ขุนศรี 10. ด.ช.พรรณศักธ์ ธรรมเนียม 11. ด.ญ ธิดารัตน์ กลับกุล 12. นางสาวกฤติมา พิณเอก 13. นางสาวอนันทิตา นาคประเสริฐ ครูผู้ฝึกซ้อม นางสาวชลิตา อินทร์ชู นางสาวเพราพนิต ภิ...
วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา (18 สิงหาคม 2565)
มุมมอง 1242 ปีที่แล้ว
วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา (18 สิงหาคม 2565)
EP.34 ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ ม.5
มุมมอง 882 ปีที่แล้ว
EP.34 ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ สวัสดีครับนักเรียนทุกคน /ข้อมูลสารสนเทศอุตุนิยมวิทยา อีกชนิดหนึ่งนะครับ ก็คือ ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ ครับ ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศเป็นเครื่องมือที่ใช้ติดตามข้อมูลหยาดน้ำฟ้าที่เกิดขึ้นขณะทำการตรวจวัด ซึ่งมีรัศมีการตรวจวัดหลายกิโลกเมตรเลยทีเดียวครับ หลักการทำงานนะครับ จะมีเครื่องมือปล่อยคลื่นไมโครเวฟ คลื่นจะสะท้อนเมฆ ฝน ฟ้าคะนอง กลับมายังตัวรับสัญญาณ ความเข้มของคลื่นที่สะท...
EP.33 แผนที่อากาศผิวพื้นและภาพถ่ายดาวเทียม ม.5
มุมมอง 1372 ปีที่แล้ว
EP.33 แผนที่อากาศผิวพื้นและภาพถ่ายดาวเทียม สวัสดีครับนักเรียนทุกคน /นักอุตุนิยมวิทยารวบรวมข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากสถานีอวกาศทั่วโลกมาแสดงผลในรูปแบบของสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้ในการพยากรณ์อากาศครับ ข้อมูลสารสนเทศชนิดแรกนะครับ แผนที่อากาศผิวพื้น เป็นแผนที่อากาศชนิดหนึ่งที่แสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากการตรวจวัด โดยจะแสดงในรูปของสัญลักษณ์ เช่น อุณหภูมิของอากาศ ปริ...
EP.47เทคโนโลยีอวกาศ ม.3
มุมมอง 1602 ปีที่แล้ว
EP.47 เทคโนโลยีอวกาศ สวัสดีครับนักเรียนทุกคน/มนุษย์เราสามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงในระบบสุริยะได้อย่างไร การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆนอกโลกนั้น ยังส่งผลต่อการใช้ชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก จึงเกิดการประดิษฐ์สิ่งต่างๆแล้วใช้กันอย่างแพร่หลาย เกิดเป็น เทคโนโลยีอวกาศ ครับ เทคโนโลยีอวกาศ เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสำรวจอวกาศ เช่น การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ ยานอวกาศ จรวด ดาวเทียม สถานีอวกาศ และอีก...
EP.46 ข้างขึ้น-ข้างแรมและน้ำขึ้น-น้ำลง ม.3
มุมมอง 1872 ปีที่แล้ว
EP.46 ข้างขึ้นข้างแรม-น้ำขึ้นน้ำลง สวัสดีครับนักเรียนทุกคน / ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะนอกจากการเกิดกลางวันกลางคืนและฤดูกาลก็จะมีเหตุการณ์อื่นอีกนะครับ นั้นก็คือ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม ข้างขึ้นข้างแรมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจาก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ครับ เพราะเมื่อแสงจากดวงอาทิตย์กระทบกับดวงจันทร์แล้วสะท้อนมายังโลกเราก็จะเห็นดวงจันทร์สว่างครับและส่วนที่เว้าไปไม่เกิดแสงนั้นก็คือส่ว...
EP.32 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์ ม.6
มุมมอง 1062 ปีที่แล้ว
Ep. 32 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์ สวัสดีครับนักเรียนทุกคน/การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ อาจมีบางช่วงที่ตำแหน่งการโคจรอยู่ใกล้เคียงกัน จึงทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆครับ เช่น การเกิดปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน เป็นเหตุการณ์ที่ปรากฏในยามค่ำคืน โดยมีดาวศุกร์และดาวพฤหัสบดีเป็นดวงตา และมีพระจันทร์เสี้ยวข้างขึ้นเป็นปากที่กำลังยิ้ม ภาพที่ปรากฏจึงเป็นลักษณะท้องฟ้าที่มีดวงและรอยยิ้มค...
EP.32 มาตราธรณีกาล ม.4
มุมมอง 922 ปีที่แล้ว
EP.32 มาตราธรณีกาล สวัสดีครับนักเรียนทุกคน/เราสามารถเทียบอายุของหินจากมาตราธรณีกาล วันนี้เรามาดูกันว่าในมาตราธรณีกาลมีหมายุคและยุคใดกันบ้างครับ ในมาตราธรณีกาลจะแบ่งออกเป็น 4 มหายุคนะครับ เริ่มตั้งแต่มหายุคพรีแคมเบรียน มหายุคพาลีโอโซอิก มหายุคมีโซโซอิก และมหายุคปัจจุบันคือ มหายุคซีโนโซอิกครับ เราลองมาทำความรู้จักกันทีละมหายุคนนะครับและดูว่าในแต่ละมหายุคมียุคใดบ้างจากคลิปวิดิโอนี้นะครับ เราใช้มาต...
EP.31 การเขียนกราฟตำแหน่งการโคจรของดาวเคราะห์วงนอก ม.6
มุมมอง 752 ปีที่แล้ว
Ep. 31 การเขียนกราฟตำแหน่งในวงโคจรและตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงนอก สวัสดีครับนักเรียนทุกคน/เมื่อนักเรียนคำนวณการหามุม ณ ตำแหน่งการโคจรของโลกและดาวเคราะห์ เราก็จะได้ข้อมูลในตารางดังนี้ครับ เมื่อเราลงจุดครบทุกตำแหน่ง กราฟที่ได้ก็จะออกมามาประมาณนี้ครับ จากกราฟเราก็จะทราบว่า ดาวอังคารมีมุมห่าง 180 องศา ทั้งทางทิศตะวันออกและทางทิศตะวันตกครับ จริงๆแล้วก็คือ 0 องศานั้นแหละครับแต่เนื่องจากจุดหมุนอยู่ ...
EP.32 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศ ม.5
มุมมอง 362 ปีที่แล้ว
EP.32 ผลจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศและการรับมือ สวัสดีครับนักเรียนทุกคน /ภูมิอากาศมีวามสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตละสิ่งแวดล้อมครับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศ จึงส่งผลในด้านต่างๆ แล้วเราควรรับมือผลกระทบดังกล่าวอย่างไร กันบ้าง มาดูกันครับ ด้านปัญหาภัยธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศส่งผลให้เกิดอุทกภัย หรือภัยแล้ง มนุษย์จึงต้องมีการจักการน้ำอย่างบูรณาการ และมีการจัดการความเสี่ยงทั้งจา...
EP.44 แรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุ ม.3
มุมมอง 862 ปีที่แล้ว
EP.44 แรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุ ม.3
EP.45 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ ม.3
มุมมอง 1522 ปีที่แล้ว
EP.45 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ ม.3
EP.27 แก๊สเรือนกระจก ม.5
มุมมอง 512 ปีที่แล้ว
EP.27 แก๊สเรือนกระจก ม.5
EP.30 ตำแหน่งในวงโคจรและตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงนอก (ม.6)
มุมมอง 2102 ปีที่แล้ว
EP.30 ตำแหน่งในวงโคจรและตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงนอก (ม.6)
EP.31 หลักฐานแสดงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศบรรพกาล (ม.5)
มุมมอง 3502 ปีที่แล้ว
EP.31 หลักฐานแสดงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศบรรพกาล (ม.5)
EP.31 การใช้ประโยชน์จากแผนที่ (ม.4)
มุมมอง 682 ปีที่แล้ว
EP.31 การใช้ประโยชน์จากแผนที่ (ม.4)
EP.43 ทัศนอุปกรณ์ (ม.3)
มุมมอง 7092 ปีที่แล้ว
EP.43 ทัศนอุปกรณ์ (ม.3)
EP.42 ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง (ม.3)
มุมมอง 5882 ปีที่แล้ว
EP.42 ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง (ม.3)
EP.29 การเขียนกราฟตำแหน่งการโคจรของดาวเคราะห์วงใน (ม.6)
มุมมอง 1112 ปีที่แล้ว
EP.29 การเขียนกราฟตำแหน่งการโคจรของดาวเคราะห์วงใน (ม.6)
EP.30 พลังงานจากดวงอาทิตย์ (ม.5)
มุมมอง 2902 ปีที่แล้ว
EP.30 พลังงานจากดวงอาทิตย์ (ม.5)
EP.30 ข้อมูลในแผนที่ธรณีวิทยา (ม.4)
มุมมอง 1332 ปีที่แล้ว
EP.30 ข้อมูลในแผนที่ธรณีวิทยา (ม.4)
EP.29 ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพื้นโลก ม.5
มุมมอง 1.1K2 ปีที่แล้ว
EP.29 ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพื้นโลก ม.5
EP.29 ข้อมูลในแผนที่ภูมิประเทศ ม.4
มุมมอง 712 ปีที่แล้ว
EP.29 ข้อมูลในแผนที่ภูมิประเทศ ม.4
EP.40 การหักเหของแสง (ม.3)
มุมมอง 1352 ปีที่แล้ว
EP.40 การหักเหของแสง (ม.3)
EP.41 การเกิดภาพจากเลนส์ (ม.3)
มุมมอง 822 ปีที่แล้ว
EP.41 การเกิดภาพจากเลนส์ (ม.3)

ความคิดเห็น

  • @sayajinny9386
    @sayajinny9386 21 วันที่ผ่านมา

    ทำต่อไปนะคะมีประโยชน์มากๆๆๆๆๆ ช่องดีดีแบบนี้ควรดัง

    • @theteacherism5991
      @theteacherism5991 20 วันที่ผ่านมา

      @@sayajinny9386 ขอบคุณนะครับ..ที่คลิปวิดิโอนี้เป็นประโยชน์

  • @พงศ์เทพรักษ์สกุล-ต4ฦ
    @พงศ์เทพรักษ์สกุล-ต4ฦ หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @พงศ์เทพรักษ์สกุล-ต4ฦ
    @พงศ์เทพรักษ์สกุล-ต4ฦ หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับ

  • @Goodboy-bq1rs
    @Goodboy-bq1rs 2 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจง่ายมาก ขอบคุณครับ

  • @kittinat1185
    @kittinat1185 2 ปีที่แล้ว

    สอนดีครับ

  • @kittinat1185
    @kittinat1185 2 ปีที่แล้ว

    ปกกกไข่:ป้องลองกองครับ

  • @kittinat1185
    @kittinat1185 2 ปีที่แล้ว

    กงเง

  • @kittinat1185
    @kittinat1185 2 ปีที่แล้ว

    องุดทรุดตัวค้าบ

  • @จอดี้หมาเส้นใหญ่

    ส่งก่อนเพื่อนคนเเรกเลยครับ

  • @จอดี้หมาหน้าเซเว่น

    ผมส่งคนที่2ครับ

  • @จอดี้หมาเส้นใหญ่

    ผมส่งงานเเล้วครับ

  • @b_giggs119
    @b_giggs119 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ ติดตามมาหลาย EP แล้วค่ะ

  • @กัลยาผลสด
    @กัลยาผลสด 3 ปีที่แล้ว

    ขอชื่นชมว่าเยี่ยมจริงๆค่ะลูกๆๆชมจาก.จว.กระบี่.ค่ะ

  • @phunchaiamarangkun5829
    @phunchaiamarangkun5829 3 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมมากครับ และผลการทดลองที่ได้ก็คือ อุณหภูมิน้ำที่นิยมใช้สกัดกาแฟกันมากที่สุดด้วยคือ 90-95 องศา