เรือมบูเจียมจวมกรู

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 ต.ค. 2024

ความคิดเห็น • 21

  • @jukkarith
    @jukkarith 7 ปีที่แล้ว +3

    ตอนไตเติล เขียน เรียมบูเจียวจวมกรู ชือการแสดง เขียว เรียมบูเจียมจวมกรู ทีขึ้น เรีอมบูเจียจวมกรู

  • @Thanakitkul
    @Thanakitkul 6 ปีที่แล้ว +8

    เรือม = รำ
    บูเจีย = บูชา
    จวม = บายศรี หรือ คล้ายขันธ์ห้า
    กรู = ครู
    ข้าพเจ้าพนมกรก้มกราบบูชาครูกำเนิดครูผู้ประเสริฐประสิทธิ์ประสาทวิทยา ข้าพเจ้าจุติแล้วบนโลกาครูช่วยปกปักรักษาข้าพเจ้าด้วยเทอญ
    ดิฉันนั้นขอเทิดทูนครูกำเนิด ข้าพเจ้ายอยกบายศรีครูกำเนิด พระคุณอันประเสริฐคุ้มครองรักษาขอให้ดิฉันปลอดภัยอันตรายใดๆ อย่าได้ใกล้มา
    บายศรีครูกำเนิดสวยงาม ขอขมาครูข้าผู้มีคุณ
    อันเชิญครูกำเนิดลงมาดูบายศรีสวย(ซ้ำ)
    แต่งรับพร้อมสับแล้วหนอ หมาก พลู นก ปลาตะก้อ ขี้เถ้า ใบหญ้าคา ธูปเทียนอีกดอกไม้ตระการตางามนักหนาบายศรีครูกำเนิดข้าพเจ้าแต่งไว้บูชาแจ่มจรัสเจิดจ้าปัญญาบังเกิด ด้วยอนุภาพครูกำเนิดเลิศล้ำนำสุขสวัสดี
    เป็นแค่ความเข้าใจส่วนตัวครับ บางคำศัพท์ไม่ค่อยได้ยินเลยไม่รู้ว่าแปลว่าอะไร และเป็นศัพท์เฉพาะ หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

    • @jukkarith
      @jukkarith 6 ปีที่แล้ว +1

      บูเจีย ไม่ใช่ บูเจียม คนเอาวีดีโอลงพิมพ์ผิด ในตัวการแสดงก็เขียน บูเจีย คนสุรินทร์ ก็ ร้องว่า บูเจีย หรือ ปูเจีย หมายความ บูชา

  • @usermetoo
    @usermetoo ปีที่แล้ว

    เขมรอีสานใต้ คฺแมรเจือนเลอ (เจนละ)
    กำเนิด (คำเขมรโบราณ ไทย-กำเหนิด)
    ตา(เรียกว่าเนตรหรือเนตฺรา)
    ฟ้า(ไม่มีฟ้า มีแต่เมฆฺหรือเมฆาหรือก้อนเมฆ และจะมีคำว่า “จักรวาล”เลย)
    ตามพิธีพราห์ม อาจารยฺ จะทำพิธีให้ คนเขมรอีสานใต้ทำพิธีครอบครูตั้งแต่กำเกิดแล้ว จึงไม่เรียกว่า “ตา” ว่า “เนตร” แต่จะเรียกว่า “ทฺเมฆฺ” แปลว่าไม่มี”เมฆ”หรือก้อนเมฆ มาบดบังสายตาเราแล้ว เมื่อกำเนิดขึ้นมา แต่กัมพูชาจะเรียกว่า “เนตรา” ไม่รู้จักพิธีครอบครูตามแบบพราห์ม
    ก็เช่นเดียวในภาษาไทยที่เรียกว่า “พิธีเบิกเนตร”หรือ”ทำให้ฟ้าเปิด” ส่องสว่างรู้แจ้งเห็นชัด

  • @yhinyhin7758
    @yhinyhin7758 ปีที่แล้ว

    สาธุครูเห็นศิษย์แล้วนะสวยมาก

  • @looktanwachiraya5070
    @looktanwachiraya5070 4 ปีที่แล้ว

    ขออนุญาตนำไปฝึกซ้อมให้นักเรียนแสดงงานเกษียณนะคะ

  • @สุชาติคิดดีจริง-ด7ต

    มีของใหมครับ

  • @novaphone6080
    @novaphone6080 6 ปีที่แล้ว +1

    ใครรุ้อธิบายหน่อยครับ

    • @wutthlpongnildam2506
      @wutthlpongnildam2506 5 ปีที่แล้ว

      จวมกรู คือที่สถิต ของครูบาอาจาร์ที่ปกปักรักษาตัวเรา หรืงเทวดาประจำตัว ชาวไทยเชื่อสายเขมรจะมีไว้บูชา เกือบทุกคน ถ้ากระทำผิดจะมีการทำการขอขมา ต่อครูบาอาจาร์ เป็การกตัญูต่อครูบาอาจารย์

  • @novaphone6080
    @novaphone6080 6 ปีที่แล้ว

    มันแปลว่าอะไรอ่ะ

  • @Manow-oe5nl
    @Manow-oe5nl 5 ปีที่แล้ว

    สวยงามมากๆ

  • @novaphone6080
    @novaphone6080 6 ปีที่แล้ว +1

    ครูกำเนิดคือใคร

    • @อเล็กซ์ฮัมบูก
      @อเล็กซ์ฮัมบูก 4 ปีที่แล้ว

      พระศรีอริย

    • @ลูกหลานวัฒนธรรมสุรินทร์
      @ลูกหลานวัฒนธรรมสุรินทร์ ปีที่แล้ว

      คือครูประจำตนครับ หรือที่ทั่วไปเข้าใจคือเเม่ซื้อหรือเทวดาประจำกาย
      ....
      จวมครู : ที่สถิตแห่งครูกำเนิด และครูประจำตน
      ตามคติความเชื่อของชาวเขมรถิ่นไทย ที่ว่าทุกคนเกิดมามีครูที่คอยปกปักรักษาติดตามตัวมาตั้งแค่กำเนิด จึงต้องสร้างจวมทรงสถูปนี้ เป็นที่สถิตของครู เพื่อกราบไหว้บูชาหากเราขึ้นบนบ้านของคนเขมร เรามักจะพบสิ่งหนึ่งบนหิ้งบูชาหรือบนหัวนอนของเขาที่เป็นวัตถุทรงสถูป มีใบตาลฉลุลายเสียบประดับรอบสถูปเล็กๆนั้นอย่างสวยงาม วัตถุทรงสถูปนั้นเรียกว่า จวมกรูตามความเชื่อของเขมรนั้นจวมก็เท่ากับศาลเจ้าหรือที่สิงสถิตของเทวดาผู้คุ้มครองบุคคลนั้นๆ ครูกำเนิดนี้เป็นเทพที่จะดลบันดาลให้สุขภาพของเจ้าของดีหรือไม่ดีถ้าทำผิดต่อครูกำเนิดก็จะทำใหเกิดอาการปวดหัวจิตใจแคร่งเครียดก็ต้องขอขมาครูกำเนิดอาการเหล่านั่นก็จะหายไป
      เพราะฉนั้นชาวเขมรจึงเคารพจวมครูกำเนิดเพราะมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตเป็นอย่างมาก

    • @สุวัฒน์สุวัฒน์-ฐ8ย
      @สุวัฒน์สุวัฒน์-ฐ8ย ปีที่แล้ว

      ครูกำเนิดถ้าเทียบทางภาคกลางก็จะประมาณที่เขาเรียกแม่ซื้อครับ

  • @TheChandhi
    @TheChandhi 5 ปีที่แล้ว

    She sings with the original Khmer form, just a different language, because all kind of musics and songs were only able to present under the Khmer character of dancing and singing.

    • @khmercambodiaculture3352
      @khmercambodiaculture3352 2 ปีที่แล้ว

      @@KP-mq7qq This art was created by the original Khmer people, showing the Khmer tradition from ancient times, respecting the native teacher, I know that the singer is a Khmer native of Surin province

    • @khmercambodiaculture3352
      @khmercambodiaculture3352 2 ปีที่แล้ว

      @@KP-mq7qq Although Khmer Leu live in Than, separated from Khmer Kampuchea, Khmer cultural traditions are always in the hearts of Khmer children because Khmer has a civilization, culture, temples, which is their tradition since ancient times.

    • @khmercambodiaculture3352
      @khmercambodiaculture3352 2 ปีที่แล้ว

      @@KP-mq7qq Great Khmer ancestors built many ancient temples, even though part of the Khmer territory was lost to foreigners to occupy, but where there are ancient temples, there are Khmer people who still maintain the Khmer traditional customs well in their clothes and language

    • @takodeesom556
      @takodeesom556 หลายเดือนก่อน

      ทั้งร้องทั้งประพันธ์​@@khmercambodiaculture3352

    • @takodeesom556
      @takodeesom556 หลายเดือนก่อน

      ด้วยต้องการสื่อภาษาเข้าใจง่ายอย่างน้อยกรรมการฟังเข้าใจในรูปแบบการเสนอในผลงาน
      การทำดนตรีขับร้องต้องเสร็จสิ้นในเวลาจำกัด ด้วยงบประมาณการใช้ห้องบันทึกเสียง
      นักดนตรีสองคนเป็นหลักจากนั้นก็จะบันทึกเสียงร้องจบด้วยมิกซ์เสียง น้อยชุดนักจะแก้ไขด้วยถ้าพลาดคือตัวงบที่ลูกๆต้องเป็นภาระ