ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขอบคุณครับคุณครู~งานวิจัยนี้ทำให้นึกถึงเรื่องแนวคิด will to power เลยยย😅สันนิษฐานว่าเหล่าหนูแทร่อัลฟ่า น่าจะมีสัญชาตญาณในการสืบพันธุ์มากกว่าตัวอื่น ๆ จึงเกิดการกินและใช้ powerที่ตัวเองมี เพื่อกดหนูเพศเดียวกันไม่ให้ผสมพันธุ์ เพื่อให้หนูแทร่ได้เป็นใหญ่และ สะสมยีนชายอันแกร่งแทร่เพื่อที่จะได้ถ่ายทอดสู่รุ่นลูกส่วนพฤติกรรมหนูตัวเมียเนี่ยน่าสงสัยมาก ๆ ทำไมไม่เลี้ยงลูก หรือเพราะถูกกลบสัญาชาตแม่ โดยเมืองที่ไม่จำเป็นต้องเลี้ยงลูก ลูกก็รอด?ส่วนพฤติกรรมรุ่นละทางแล้วต่อโลก น่าจะรอดเพราะเลือกหนีมากกว่าสู้รายการสนุกกกกคร้าบบบ (แอบชมจะได้ทำต่อ ๆๆ 😈)
กำลังจะนอน แต่คลิปอัพพอดี😂 (รอซีซั่น2นะคะ ชอบรายการนี้มาก รอฟังทุกสัปดาห์เลยค่ะ)
ฟังๆไปก็รู้สึกว่าอยากรู้ข้อมูลมากขึ้นว่างานวิจัยนี้ทำภายใต้องค์กรไหนให้ทุนบ้าง ด้วยมุมมองแบบไหน หน่วยงานรัฐมหาลัยหรืออะไร จะมีผลต่อทิศทางงานวิจัยจะลีดไปให้คนรู้สึกว่าต้องสรุปไปทางไหนรึเปล่า มีอเจนด้าแฝงเพื่อนายทุนอะไรไหม และมีอคติทางเพศในงานวิจัยไหม ..แล้วยิ่งงานวิจัยมันเก่าแล้วด้วย
John B. Calhoun ทคือผู้ทำวิจัย ภายใต้สถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ ของอเมริกา องกรณ์นี้เป็นผู้สนับสนุนงานวิจัย เป็นองค์กรรัฐ
ชอบ The Why File มาก อยากให้มี Season ต่อไปเร็วๆเป็นอีก 1 รายการที่รอคอยเลยค่ะ
จะรอซีซั่นต่อไปนะคะ ชอบมากๆเลย ❤
เอาล่ะไหนๆก็มานำเสนอเรื่องนี้แล้วผมจะนำเสนออีกแง่1.ผู้ทดลองเชื่อว่าพื้นที่และทรัพยากรตัวเองพอลองรับปริมาณหนูในกการทดลอง แต่จำนวนหนูมันเพิ่มตลอดครับ ถ้าใครเคยเลี้ยงหนูจะรู้ดีเรื่องหนึ่ง หนูมันหวงที่ จัวผู้ย่อมกัดกับตัวผู้เพื่อสร้างเขตตัวเอง แล้วคิดว่าจะเกิดไรขึ้นถ้าหนูนับพันกว่าถูกอัดอยู่ด้วย มันก็กัดกันสิครับ 2.เรื่องเพศไม่เกี่ยวครับ ซึ่งที่เกิดจากการทดลองนี้ คือ "หน้าที่" ต่างหาก สัตว์สังคมทุกชนิดมีหน้าที่ และ "ลำดับทางสังคม" ของตนเองเสมอ แข็งแกร็งจึงคุมฝูง สั่งการให้สมาชิกหาอาหาร "อ่อนแอ" จึงเชื่อฟังคอยไล่หาอาหาร จะเกิดอะไรขึ้นครับถ้าสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวไปตามสัญชาติญาณนั้นไร้ระบบสังคม เละสิครับ3.ข้อมูลการทดลองระบุชัดเจนครับ ว่าระบบนี้พังเพราะพฤติกรรมก้าวร้าวของจ่าฝูง เจาะจงคือหนูเพศผู้ส่วนใหญ่ เนื่องจากประชากรเยอะ และหนูก็ไม่ได้อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเดียว พวกมันมีหลายก๊กครับ เกิดไรขึ้นเมื่อสัตว์ป่าตามธรรมชาติ ที่หวงอาณาเขตหลายๆตัวรวมกันครับ ก็กัดกันสิ4.อันนี้ไม่มีระบุ แต่ผมเดาว่าเกี่ยวการทดลองนี้เริ่มด้วยหนูตัวเมีย 4 ผู้ 4 ในสภาวะที่เหมือนกัน ถ้าใครเคยเลี้ยงปลาในบ่อบัวน่าจะเดาออกนะครับ "ภาวะเลือดชิด" ครับ ผมขอกล่าวนะจุดนี้เลย สิ่งมีชีวิตล้วนเป็นเครื่องจักรของธรรมชาติครับ พฤติกรรมก็เช่นกัน ความผิดปกติทางพันธุกรรมสามารถก่อโรคทางสมองและจิตเภทได้ครับ อย่าคิดว่าสัตว์เป็นข้อยกเว้น "ยิ่งซับซ้อนยิ่งบอบบาง" ครับ
คุณเชอรรี่เสียงเพราะมาก
สนุกมากก หาวิจัยการทดลองมาเล่าอีกบ่อยๆนะคะ
รอ season ต่อไปอยู่นะคะ ชอบมาก ๆ เลยค่ะ
ติดตามนะคะ ขอให้มีซีซั่นต่อๆไปอีก ชอบมากก
ชอบรายการนี้มากค่ะ
งานวิจัยนี้มีจุดอ่อนตรงเริ่มต้นหนูตัวผู้4ตัวกับตัวเมีย4ตัวถ้าเริ่มต้นที่อย่างละ100ตัว ลดการผสมพันธุ์ในเครือญาติการทดลองนี้น่าจะไม่เป็นแบบนี้
กด 9 ครับ รอซีซั่นต่อไปเลย
เอกสารมันเยอะไปจริงๆครับ
กด 9 ค่ะ ชอบรายการนี้มากๆ สนุกมากๆเลย
รอ season 2 ครับ
มีต่อเถอะนะครับคือดีมากๆ จากใจเด็ก 16 ครับ
ขอบคุณครับ
สนุกมากค่าาา
รายการนี้ทำให้งานวิจัยสนุกขึ้นเยอะเลย ขอบคุณครับ
อาจเป็นเพราะมันแออัดมากก็ได้นะ เราไปคิดเองว่าจุได้สามพันแต่จริงๆแล้วกล่องมันเล็กกว้าห้องนอนเล็กๆห้องนึงอีก หนูแค่พันคัวก็แน่นเกินไปแล้ว. อีกอย่าง น่าสนใจว่าถ้าเราเลี้ยงต่อจนกว่าตัวสุดท้ายจะตายจะเป็นยังไง ตอนเหลือน้อยๆพฤติกรรมอาจเปลี่ยนก็ได้
ยูโทรเปีย คือที่ๆทุกคนทำไรก็ได้ตามความพึ่งพอใจของตนไร้กฎ ตอนแรกๆอาจสวยงาน แต่พอนานๆไป ก็จะมีความต้องการมากขึ้นและมากขึ้นไปอีก
กด9รอซซ.2ค่ะ😆😆
ขอบคุณคอนเท้นดีๆค่ะรายการสนุกมากได้คิดตามต่อด้วย รอติดตามซีซั่นต่อไปนะค้า😊
เอา9กี่ตัวดีคะ 99สาธุ ชอบมากเลยยยย รอวันกลับมานะคะะ
ต้องการครับ รายการดีมากเลย SS.2 มาไวๆ นะครับ รอกดไลค์
จุดที่ผมคิดว่าเป็นช่องโหว่ของงานวิจัยนี้คือเค้ารู้ได้ไงว่าหนูคิด/รู้สึกแบบนั้น?
กลายเป็นโยงเข้ากับข่าวอัตราการเกิดน้อยกับสังคมสูงอายุช่วงนี้พอดีเลยครับ
เป็นไปได้ไหมว่าในหนูต้นเรื่องแปดตัว มียีนส์ที่รุ่นแรงกร้าวร้าวปนอยู่ด้วย เมื่อผสมซ้ำไปมาเลยรุนแรงขึ้นและแสดงออกและทำลายยูโทเปียนี้ อยากรู้ว่า ถ้ามียูโทเปียอื่น ที่ใช้หนูคนละชุดกัน ยีนส์ต่างกัน ผลจะเหมือนกันไหมครับ
กด9ค่ะ👀✨
ขนลุกเลยค่ะ เหมือนประเทศไทยตอนนี้เลย แม้ทรัพยากรจะต้องแย่งกันก็ตาม 555
กด9 รอให้กลับมานะคะ
กด 9 ❤
❤❤❤❤
กด9ล้านครั้ง
อาหารไม่อร่อยเท่าเนื้อกันเอง
9
ก็คงประมาณสังคมคนรวยที่เกิดมาก็มีทุกอย่างมักจะมีนิสัยก้าวร้าวหัวรุนแรงชอบรังแกคนไปทั่ว มักจะมีความรู้สึกเบื่อนหนายอะไรง่ายๆแล้วชอบหาสิ่งแปลกๆมาสร้างความสูขกับตัวเองเสมอตัวอย่างลูกชายเฉินหลง
เงื่อนไขของยูโทเปียหนูคือมันไม่มีกฏหมาย
ขอบคุณครับคุณครู~
งานวิจัยนี้ทำให้นึกถึงเรื่องแนวคิด will to power เลยยย😅
สันนิษฐานว่าเหล่าหนูแทร่อัลฟ่า น่าจะมีสัญชาตญาณในการสืบพันธุ์มากกว่าตัวอื่น ๆ จึงเกิดการกินและใช้ powerที่ตัวเองมี เพื่อกดหนูเพศเดียวกันไม่ให้ผสมพันธุ์ เพื่อให้หนูแทร่ได้เป็นใหญ่และ สะสมยีนชายอันแกร่งแทร่เพื่อที่จะได้ถ่ายทอดสู่รุ่นลูก
ส่วนพฤติกรรมหนูตัวเมียเนี่ยน่าสงสัยมาก ๆ ทำไมไม่เลี้ยงลูก หรือเพราะถูกกลบสัญาชาตแม่ โดยเมืองที่ไม่จำเป็นต้องเลี้ยงลูก ลูกก็รอด?
ส่วนพฤติกรรมรุ่นละทางแล้วต่อโลก น่าจะรอดเพราะเลือกหนีมากกว่าสู้
รายการสนุกกกกคร้าบบบ (แอบชมจะได้ทำต่อ ๆๆ 😈)
กำลังจะนอน แต่คลิปอัพพอดี😂 (รอซีซั่น2นะคะ ชอบรายการนี้มาก รอฟังทุกสัปดาห์เลยค่ะ)
ฟังๆไปก็รู้สึกว่าอยากรู้ข้อมูลมากขึ้นว่างานวิจัยนี้ทำภายใต้องค์กรไหนให้ทุนบ้าง ด้วยมุมมองแบบไหน หน่วยงานรัฐมหาลัยหรืออะไร จะมีผลต่อทิศทางงานวิจัยจะลีดไปให้คนรู้สึกว่าต้องสรุปไปทางไหนรึเปล่า มีอเจนด้าแฝงเพื่อนายทุนอะไรไหม และมีอคติทางเพศในงานวิจัยไหม ..แล้วยิ่งงานวิจัยมันเก่าแล้วด้วย
John B. Calhoun ทคือผู้ทำวิจัย ภายใต้สถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ ของอเมริกา องกรณ์นี้เป็นผู้สนับสนุนงานวิจัย เป็นองค์กรรัฐ
ชอบ The Why File มาก อยากให้มี Season ต่อไปเร็วๆ
เป็นอีก 1 รายการที่รอคอยเลยค่ะ
จะรอซีซั่นต่อไปนะคะ ชอบมากๆเลย ❤
เอาล่ะไหนๆก็มานำเสนอเรื่องนี้แล้วผมจะนำเสนออีกแง่
1.ผู้ทดลองเชื่อว่าพื้นที่และทรัพยากรตัวเองพอลองรับปริมาณหนูในกการทดลอง แต่จำนวนหนูมันเพิ่มตลอดครับ ถ้าใครเคยเลี้ยงหนูจะรู้ดีเรื่องหนึ่ง หนูมันหวงที่ จัวผู้ย่อมกัดกับตัวผู้เพื่อสร้างเขตตัวเอง แล้วคิดว่าจะเกิดไรขึ้นถ้าหนูนับพันกว่าถูกอัดอยู่ด้วย มันก็กัดกันสิครับ
2.เรื่องเพศไม่เกี่ยวครับ ซึ่งที่เกิดจากการทดลองนี้ คือ "หน้าที่" ต่างหาก สัตว์สังคมทุกชนิดมีหน้าที่ และ "ลำดับทางสังคม" ของตนเองเสมอ แข็งแกร็งจึงคุมฝูง สั่งการให้สมาชิกหาอาหาร "อ่อนแอ" จึงเชื่อฟังคอยไล่หาอาหาร จะเกิดอะไรขึ้นครับถ้าสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวไปตามสัญชาติญาณนั้นไร้ระบบสังคม เละสิครับ
3.ข้อมูลการทดลองระบุชัดเจนครับ ว่าระบบนี้พังเพราะพฤติกรรมก้าวร้าวของจ่าฝูง เจาะจงคือหนูเพศผู้ส่วนใหญ่ เนื่องจากประชากรเยอะ และหนูก็ไม่ได้อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเดียว พวกมันมีหลายก๊กครับ เกิดไรขึ้นเมื่อสัตว์ป่าตามธรรมชาติ ที่หวงอาณาเขตหลายๆตัวรวมกันครับ ก็กัดกันสิ
4.อันนี้ไม่มีระบุ แต่ผมเดาว่าเกี่ยวการทดลองนี้เริ่มด้วยหนูตัวเมีย 4 ผู้ 4 ในสภาวะที่เหมือนกัน ถ้าใครเคยเลี้ยงปลาในบ่อบัวน่าจะเดาออกนะครับ "ภาวะเลือดชิด" ครับ ผมขอกล่าวนะจุดนี้เลย สิ่งมีชีวิตล้วนเป็นเครื่องจักรของธรรมชาติครับ พฤติกรรมก็เช่นกัน ความผิดปกติทางพันธุกรรมสามารถก่อโรคทางสมองและจิตเภทได้ครับ อย่าคิดว่าสัตว์เป็นข้อยกเว้น "ยิ่งซับซ้อนยิ่งบอบบาง" ครับ
คุณเชอรรี่เสียงเพราะมาก
สนุกมากก หาวิจัยการทดลองมาเล่าอีกบ่อยๆนะคะ
รอ season ต่อไปอยู่นะคะ ชอบมาก ๆ เลยค่ะ
ติดตามนะคะ ขอให้มีซีซั่นต่อๆไปอีก ชอบมากก
ชอบรายการนี้มากค่ะ
งานวิจัยนี้มีจุดอ่อนตรงเริ่มต้นหนูตัวผู้4ตัวกับตัวเมีย4ตัวถ้าเริ่มต้นที่อย่างละ100ตัว ลดการผสมพันธุ์ในเครือญาติการทดลองนี้น่าจะไม่เป็นแบบนี้
กด 9 ครับ รอซีซั่นต่อไปเลย
เอกสารมันเยอะไปจริงๆครับ
กด 9 ค่ะ ชอบรายการนี้มากๆ สนุกมากๆเลย
รอ season 2 ครับ
มีต่อเถอะนะครับคือดีมากๆ จากใจเด็ก 16 ครับ
ขอบคุณครับ
สนุกมากค่าาา
รายการนี้ทำให้งานวิจัยสนุกขึ้นเยอะเลย ขอบคุณครับ
อาจเป็นเพราะมันแออัดมากก็ได้นะ เราไปคิดเองว่าจุได้สามพันแต่จริงๆแล้วกล่องมันเล็กกว้าห้องนอนเล็กๆห้องนึงอีก หนูแค่พันคัวก็แน่นเกินไปแล้ว. อีกอย่าง น่าสนใจว่าถ้าเราเลี้ยงต่อจนกว่าตัวสุดท้ายจะตายจะเป็นยังไง ตอนเหลือน้อยๆพฤติกรรมอาจเปลี่ยนก็ได้
ยูโทรเปีย คือที่ๆทุกคนทำไรก็ได้ตามความพึ่งพอใจของตนไร้กฎ ตอนแรกๆอาจสวยงาน แต่พอนานๆไป ก็จะมีความต้องการมากขึ้นและมากขึ้นไปอีก
กด9รอซซ.2ค่ะ😆😆
ขอบคุณคอนเท้นดีๆค่ะรายการสนุกมากได้คิดตามต่อด้วย รอติดตามซีซั่นต่อไปนะค้า😊
เอา9กี่ตัวดีคะ 99สาธุ ชอบมากเลยยยย รอวันกลับมานะคะะ
ต้องการครับ รายการดีมากเลย SS.2 มาไวๆ นะครับ รอกดไลค์
จุดที่ผมคิดว่าเป็นช่องโหว่ของงานวิจัยนี้คือ
เค้ารู้ได้ไงว่าหนูคิด/รู้สึกแบบนั้น?
กลายเป็นโยงเข้ากับข่าวอัตราการเกิดน้อยกับสังคมสูงอายุช่วงนี้พอดีเลยครับ
เป็นไปได้ไหมว่าในหนูต้นเรื่องแปดตัว มียีนส์ที่รุ่นแรงกร้าวร้าวปนอยู่ด้วย เมื่อผสมซ้ำไปมาเลยรุนแรงขึ้นและแสดงออกและทำลายยูโทเปียนี้
อยากรู้ว่า ถ้ามียูโทเปียอื่น ที่ใช้หนูคนละชุดกัน ยีนส์ต่างกัน ผลจะเหมือนกันไหมครับ
กด9ค่ะ👀✨
ขนลุกเลยค่ะ เหมือนประเทศไทยตอนนี้เลย แม้ทรัพยากรจะต้องแย่งกันก็ตาม 555
กด9 รอให้กลับมานะคะ
กด 9 ❤
❤❤❤❤
กด9ล้านครั้ง
อาหารไม่อร่อยเท่าเนื้อกันเอง
9
ก็คงประมาณสังคมคนรวยที่เกิดมาก็มีทุกอย่างมักจะมีนิสัยก้าวร้าวหัวรุนแรงชอบรังแกคนไปทั่ว มักจะมีความรู้สึกเบื่อนหนายอะไรง่ายๆแล้วชอบหาสิ่งแปลกๆมาสร้างความสูขกับตัวเองเสมอตัวอย่างลูกชายเฉินหลง
เงื่อนไขของยูโทเปียหนูคือมันไม่มีกฏหมาย
9
9
9
9
9
9