ฺBiasing Transistor การไบอัสทรานซิสเตอร์ ภาคปฏิบัติ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 11 พ.ค. 2020
  • เรียนรู้การจัดกระแสไบอัสทรานซิสเตอร์ โดยการลงมือปฏิบัติจริง ทั้งการคำนวณกระแสเบส กระแสคอลเล็คเตอร์ แล้วนำอุปกรณ์มาต่อไฟจริง และวัดค่าต่างๆ เทียบกับการคำนวณ
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 54

  • @FirstSightStudio
    @FirstSightStudio 3 ปีที่แล้ว +4

    ชอบครับ การเรียนจริงๆต้องแบบนี้
    ไม่ใช่สอนแต่ให้อ่านหนังสือ สุดท้ายจบไปเอาไปใช้อะไรไม่ได้เลย

  • @user-ht3ty1bj1e
    @user-ht3ty1bj1e 10 หลายเดือนก่อน +1

    ฟังง่ายเข้าใจง่ายครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961 10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @nikomphetkao9434
    @nikomphetkao9434 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณอาจารยครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ

  • @orapinthongma340
    @orapinthongma340 ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยม,อธิบายเข้าใจง่ายค่ะ
    ขอบคุณค่ะ

    • @saroj1961
      @saroj1961 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ
      ขอบคุณครับ ที่ติดตามรับชม

  • @user-uz2sn2lv8s
    @user-uz2sn2lv8s 11 หลายเดือนก่อน +1

    ติดตามแล้วครับ รวมถึงช่อง ทําอะไรก็มีสุข

    • @saroj1961
      @saroj1961 10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @Vnus1962
    @Vnus1962 4 ปีที่แล้ว +2

    เยี่ยมครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @wudhikaewyangchit2290
    @wudhikaewyangchit2290 3 ปีที่แล้ว +2

    เยี่ยมมากเลยครับ อาจารย์ อธิบายละเอียด ทำให้เข้าใจได้ดีครับ นับถือมาก

    • @saroj1961
      @saroj1961 3 ปีที่แล้ว +1

      ขอบพระคุณครับ
      จะหาผลงานดีๆมานำเสนอต่อไปครับ

  • @snookwcp6306
    @snookwcp6306 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ นั่งงงมาตั้งนาน เจออันนี้ เข้าใจทันที

    • @saroj1961
      @saroj1961 3 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ
      ขอบคุณทีติดตามรับชม

  • @nattakiet1
    @nattakiet1 2 ปีที่แล้ว +2

    transistor เป็นสองคำ คือ tranfer+resistor, tranfer หมายถึงการส่งผ่าน resistor หมายถึงตัวต้านทาน
    ทรานซิสเตอร์ คือการส่งสัญญานผ่าน คตท.ที่ขา b หรือใช้ระดับไฟฯ bias+signal ที่ขา b ควบคุม คตท.ระหว่างขา c ถึง e
    คล้ายหลอด(vacuum tube) ที่ใช้กริดควบคุมกระแสอิเลคทรอนจาก K ไป P
    ระดับไฟที่ขา B คือ input ส่วน output คือ C กับ E จุดไฟฯ bias ทั้งสามขาที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับชนิดที่จะเอาไปใช้งานของทรานซิสเตอร์แต่ละเบอร์ รายละเอียดมีมาก เช่น การ bias วงจรขยายฯแบบ common base, emitter, collecter สมัยก่อนเมื่อสี่สิบกว่าปีก่อนอ่านสนุกมาก โดยเฉพาะหนังสือ "นายช่างเยอรมัน เอนทะเนียแดง"

    • @saroj1961
      @saroj1961 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับข้อมูล่ครับ

  • @uthaikitchakhut4515
    @uthaikitchakhut4515 3 ปีที่แล้ว

    ได้ความรู้มากเลยครับ ขอบคุณครับ

  • @torsak37290
    @torsak37290 4 ปีที่แล้ว

    ติดตาม ครับ ได้ความรู้เพิ่ม ขอบคุณที่แบ่งปั่นความรู้ครับ

    • @user-on1mu5fv1i
      @user-on1mu5fv1i  3 ปีที่แล้ว

      ขอบพระคุณครับ

  • @wiratumpo6833
    @wiratumpo6833 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมมากครับ อาจารย์

  • @purimath
    @purimath 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับพ้ม ได้ทวนความรู้ตอนเรียนมหาลัย

    • @saroj1961
      @saroj1961 3 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ

  • @0000way0000
    @0000way0000 3 ปีที่แล้ว +1

    สอนดีมากครับ เข้าใจง่าย

    • @saroj1961
      @saroj1961 3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @boronn888
    @boronn888 ปีที่แล้ว +1

    ศึกษาด้วยตนเองมานานละ จากพื้นฐานฟิสิกส์มัธยม ปี 2008 เริ่มค้นหาพลังงานไฟฟ้าฟรีคู่ขนานไปกับอิเล็กทรอนิกส์หลากหลายเรื่องแต่เน้นศาตร์เครื่องเสียง
    ตอนเริ่มต้นโอ้โหมันโคตรยาก แต่พอเริ่มเข้าใจการทำงานของทรานซิสเตอร์มันก็เลยก้าวกระโดดจากมัธยมไปดอกเตอร์เลย นวัตกรรมชิ้นแรก สวิทช์สัมผัสประหยัดพลังงาน แล้วก็ก้าวไปเรื่อง power amplifier class A class AB ชิ้นแรกออกแบบเองร้อยเปอร์เซ็นต์ครับ ไม่เคยคิดจะเอาชุดคิท
    มาต่อเลยครับ เล่นแบบขั้นเทพเลยมันทำได้ไม่ยากอย่างที่คิด แถมไร้เสียงรบกวนเงียบจนสงัดเลยทีเดียว วงจรขยาย 3 stage zero negative feedback
    แต่ได้กำลังขับ 30 W มันจำกัดด้วยวงจรที่ออกแบบอัตราขยายสูงสุดเท่านั้น
    จนถึงปัจจุบันวันนี้ รู้แล้วครับว่าการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ได้ยากอย่างที่คิด ที่น่าทึ่งคือใช้ปัญญาญาณในจิต(99%)มากกว่าสมอง(1%)
    เคยคุยกับผู้ที่จบจากสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงโดยตรงเขาบอกว่า ออกแบบไม่ได้เลยหรือได้เล็กน้อย นี้คือความจริงครับ สุดท้ายก็ต้องพึ่งพาตนเองครับ
    ถ้ามีผู้สอนที่เน้นปฏิบัติก็ดีครับ ต้องทำได้หรือออกแบบได้ยิ่งดีครับ

  • @user-pg7ed1yd7h
    @user-pg7ed1yd7h 3 ปีที่แล้ว

    มาติดตามดุชมคลิปดีๆครับ

  • @runkor4551
    @runkor4551 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณท่านอาจารย์มากครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961 2 ปีที่แล้ว +1

      ยินดีครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชม
      เรายังมีอีกช่องหนึ่ง เกี่ยวกับงาน IoT คือช่อง
      "ทำอะไรก็มีสุข" ฝากติดตามด้วยนะครับ

  • @PeterGBS
    @PeterGBS 3 ปีที่แล้ว +3

    ได้สาระความรู้มาก ๆ ครับ ขอบคุณครับผม

  • @user-xb6zq5hq6w
    @user-xb6zq5hq6w 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากๆครับ

  • @prasitprompong2992
    @prasitprompong2992 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณ​ครับ​อาจารย์​

    • @saroj1961
      @saroj1961 2 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ

  • @user-hk8nu8zb8k
    @user-hk8nu8zb8k ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับครู🙏❤️

  • @nut9141
    @nut9141 3 ปีที่แล้ว

    สุดยอดคับอาจาร

    • @user-on1mu5fv1i
      @user-on1mu5fv1i  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ
      เราจะนำเสนอผลงานดีๆต่อไปครับ

  • @user-vp2to2vf9c
    @user-vp2to2vf9c ปีที่แล้ว +1

    ติดตามคับ

    • @saroj1961
      @saroj1961 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ
      ติดตามผมได้อีกช่องหนึ่ง ชื่อช่อง "ทำอะไรก็มีสุข" ว่าด้วยเรื่อง arduino และ IoT ครับ

  • @diy3636
    @diy3636 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับพี่หนึ่ง

  • @user-hy5fv6ho6b
    @user-hy5fv6ho6b 2 ปีที่แล้ว

    ขอขอบคุณมากครับ

    • @user-on1mu5fv1i
      @user-on1mu5fv1i  ปีที่แล้ว +1

      ยินดีครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชม

  • @user-vn6zo9vf3n
    @user-vn6zo9vf3n 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ.

    • @saroj1961
      @saroj1961 3 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ
      จะจัดหาเนื้อหาดีๆมานำเสนอต่อไปครับ

  • @fantasiadeamorhpp7702
    @fantasiadeamorhpp7702 3 ปีที่แล้ว +2

    อาจารย์ผมสอนนิดเดียวที่เน้นปฏฺิบัติ ผมยังไม่รู้เรื่องเลยจะเข้าใจได้ไง เจอคลิปนี้โล่งเลยครับ

    • @user-on1mu5fv1i
      @user-on1mu5fv1i  3 ปีที่แล้ว +1

      ยินดีที่มีส่วนแก้ปัญหาให้ครับ
      ถ้าสนใจแนวนี้ เรามีอีกช่องคือ "ทำอะไรก็มีสุข" ลองเข้าไปดูเนื้อหานะครับ
      ขอบพระคุณที่ติดตามรับชม

  • @user-sx6no3cl7x
    @user-sx6no3cl7x 3 ปีที่แล้ว

    ลุงมีกี่ช่องกันครับเนี่ยย

  • @phrompornkulthitikorn3399
    @phrompornkulthitikorn3399 3 ปีที่แล้ว +1

    สอนเก่งอย่างนี้ช่วยสอนแอมหลอดด้วยครับ

  • @Mr.Mac.
    @Mr.Mac. 3 ปีที่แล้ว

    ตกลงกระแสไหลจากแบตฯไปทางบวกหรือลบครับ

  • @tawatchaitojabton8607
    @tawatchaitojabton8607 3 ปีที่แล้ว

    ตอนเรียนไม่ตั้งใจ มาตั้งใจหาความรู้ตอนทำงาน รู้สึกวัวเเท้ๆ สอบเเค่ผ่านๆ พอได้ทำงานเกี่ยวกับพวกนี้ถือเป็นพื้นฐานสำคัญเลย 555555 (ขอบคุณครับความรู้ดีๆครับ)

  • @user-ul5cu1yp7q
    @user-ul5cu1yp7q 2 ปีที่แล้ว +1

    ตัวไดโอดมีหน้าที่ทำงานยังไงคะ ในวงจรทรานซิสเตอร์

    • @saroj1961
      @saroj1961 2 ปีที่แล้ว

      ไดโอดในวงจรทรานซิสเตอร์ หมายถึง ตัวไดโอ 1 ตัวที่มีอยู่ในวงจรทำงานร่วมกับทรานซิสเตอร์ใช่ไหม
      ผมตอบหน้าที่ของตัวไดโอก็แล้ว กัน ไม่ว่ามันจะอยู่ในวงจรไหน
      หน้าที่ของมันคือยอมให้กระแสไฟตรงไหนในทิศทางเดียว
      คือจาก อาโนด ไป คาโธด
      ถ้ามันอยู่ในภาคจ่ายไฟมันก็ทำหน้าที่เรียงกระแส
      ถ้ามันต่ออยู่กับรีเลย์มันก็ทำหน้าที่ กำจัด back EMF
      และมันยังคงมีอีกหลายบทบาทในวงจรอิเล็คทรอนิคส์ครับ

  • @user-cz2ug7xg1r
    @user-cz2ug7xg1r 2 ปีที่แล้ว

    วิธีจับคู่ในอุปกรณ์เรียงยังไง

  • @rujzamamo
    @rujzamamo 4 ปีที่แล้ว +1

    ทำไมอาจารลงคลิบ ปีละครั้ว
    อาจารช่วยลงเยอะหน่อยผมจะรอ

    • @user-on1mu5fv1i
      @user-on1mu5fv1i  3 ปีที่แล้ว

      ขอบพระคุณที่ติดตาม พอดีเนื้อหาทางอิเล็คทรอนิคส์เบื้องต้นมันมีไม่เยอะครับ
      จะพยายามหาเนื้อหามาลงครับ