เดี่ยวซอสามสาย นกขมิ้น สามชั้น ทางครูหลวงไพเราะเสียงซอ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 9 ก.ย. 2024
  • บรรเลงโดย ผศ.ดร.สุรพงษ์ บ้านไกรทอง

ความคิดเห็น • 17

  • @user-bp4jp3fe3h
    @user-bp4jp3fe3h 3 ปีที่แล้ว +1

    เพราะมากๆเลยค่ะอาจารย์⚘

  • @khimpiror6470
    @khimpiror6470 3 ปีที่แล้ว +1

    เพราะมากๆครับครูโอ๊ต

  • @AaAa-tq6dh
    @AaAa-tq6dh 3 ปีที่แล้ว +1

    เพราะ และเศร้ามากครับ

  • @chedhatingsanchali
    @chedhatingsanchali 2 ปีที่แล้ว +2

    ละเอียด​ลออมากครับ​ครู​

  • @somwangphulsombat8468
    @somwangphulsombat8468 2 ปีที่แล้ว

    เพราะแบบเด็กๆ สีน่ารักดี

  • @somwangphulsombat8468
    @somwangphulsombat8468 ปีที่แล้ว

    เรื่องคันชักนั้น ถ้าไม่ได้ต่อมาตัวต่อตัว ก็เดาผิดได้เหมือนกันครับ แต่คันชักซอสามสาย ยังเป็นไปตามหลัก/กฎเป็นส่วนใหญ่ มียกเว้นบ้าง หรืออาจจะทำได้หลายแบบ

  • @professor9992
    @professor9992 3 ปีที่แล้ว +2

    ซอได้มาจากที่ไหน​ครับ​

    • @user-bs9vq9rz9r
      @user-bs9vq9rz9r 2 ปีที่แล้ว

      คันนี้สร้างที่บ้านซอบางปะกงครับ

  • @pattaratornshovichit
    @pattaratornshovichit 4 ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยม

  • @somwangphulsombat8468
    @somwangphulsombat8468 ปีที่แล้ว

    แต่คันชักซอด้วง หลายตอน พลิกจนคาดไม่ถึงว่าจะเป็นแบบนี้ อย่าง เดี่ยวซอด้วง แขกมอญ/กราวใน ของครูเติม ที่เพื่อนแกะเทป มาก่อน แล้วค่อยมาต่อกับครูอีกที ปรากฏว่า คันชักผิดคาด หลายตอนเลย

  • @user-zr1vz2eu1z
    @user-zr1vz2eu1z 2 ปีที่แล้ว

    สงสัยคะ คำว่าทางครูนั้น หมายความว่าเสียงซอที่สีนั้นในเพลงเดียวกันจะแตกต่างกันได้จากการสอนของครูแต่ละท่านหรือ ไม่เหมือนการสอนดนตรีอื่นหรือ

    • @user-bs9vq9rz9r
      @user-bs9vq9rz9r 2 ปีที่แล้ว +2

      คำว่า ทาง ในดนตรีไทยมีความหมาย 3 ประการ ได้แก่ 1. วิธีการบรรเลงเครื่องดนตรี เช่น ทางซอสามสาย ทางระนาด 2. วิธีการเรียบเรียง เช่น ทางครู ก. ทางครู ข ทางสักวา ทางเปลี่ยน 3. บันไดเสียง เช่น ทางเพียงออ คือบันไดเสียง ที่มีเสียง ฟา หรือเสียง ทีเป็นโทนิค เป็นต้น รายละเอียดอื่น ๆ นั้นสามารถหาเพิ่มเติมได้จากหนังสือแนะนำดนตรีไทยโดยทั่วไปได้ครับ
      สำหรับคำว่า “ทาง” ในที่นี้ คือ เป็น โน้ตเพลงที่ ครูหลวงไพเราะฯ ท่านเรียบเรียงไว้ครับ ความแตกต่างจากทางอื่น ๆ ก็มีหลายประการเช่น รูปแบบของโน้ตที่เรียงกัน การใช้เทคนิคของมือขวา มือซ้าย รวมไปถึงวิธีคิดและความรู้สึกของผู้บรรเลงครับ

    • @user-bs9vq9rz9r
      @user-bs9vq9rz9r 2 ปีที่แล้ว +1

      เพิ่มเติมอีกนิดคือ ทางเพลงเดียวกัน ผู้บรรเลงต่างคนก็ฟังแตกต่างครับ ส่วนบทเพลงเดียวกันใช้ทางครูต่างกันก็ให้ความรู้สึกและความงามต่างกันเช่นกันครับ สำหรับเดี่ยวซอสามสาย เพลงนกขมิ้น ก็มีทางครูหลายท่าน สามารถหาฟังได้ใน TH-cam ครับ เราจะได้รับรู้ถึงความหลายหลาย และเสน่ห์ของเสียงดนตรีไทยครับ ผมยินดีอย่างยิ่งที่มีคำถามเช่นนี้ แสดงว่าท่านเป็นผู้สนใจดนตรีไทยครับ ขอบคุณครับ

    • @user-zr1vz2eu1z
      @user-zr1vz2eu1z 2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-bs9vq9rz9r ขอบคุณคะคุณ

  • @sathaporntosuwan4688
    @sathaporntosuwan4688 ปีที่แล้ว

    เพราะมากคุณโอ๊ต