ขีววิทยา : กลไกเปิดปิดปากใบ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 17 เม.ย. 2020
  • #สรุปชีวะ กลไกเปิดปิดปากใบ #โครงสร้างพืชดอก
    คลิปนี้จะมาอธิบายถึงกลไกการเปิดปิดปากใบของพืชทั่วไปนะครับ
    ประเด็นนี้ #ออกบ่อย ในบทพืชครับ ทำความเข้าใจกันดีๆนะ
    ======
    สนใจคอร์สเรียนแบบออนไลน์ที่อัพเดทข้อสอบใหม่ให้ตลอดระยะเวลาเรียน
    ทั้งคอร์สเนื้อหาละเอียดและตะลุยโจทย์ ดูได้ที่
    / 1286655858117914
    ********
    ติดตามข้อมูลความรู้เพิ่มเติมของชีวะ ม.ปลายหรือสั่งซื้อคอร์สเรียน
    ได้ที่เพจ BioCover
    / biocoverth
    Line ID:biocover
    ชอบที่สอนไหม comment บอกพี่ด้วยนะ ^ ^

ความคิดเห็น • 9

  • @USER-vi4zg
    @USER-vi4zg 4 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ

  • @seakungch.4304
    @seakungch.4304 3 ปีที่แล้ว +2

    พี่ครับเซลคุมมันมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าได้มั้ยครับ

    • @BIOCOVER
      @BIOCOVER  3 ปีที่แล้ว +1

      ต้องดูผ่านกล้องจุลทรรศน์นะครับ 😅

  • @golfwdygo
    @golfwdygo 3 ปีที่แล้ว

    พี่พีคะหนูมีจุดหนึ่งที่สับสนค่ะ การเปิดปิดของปากใบ กับ photorespiration ของพืชค่ะ ทั้งสองกรณีอยู่ในที่ที่มีแสงแต่ทำไมเหตุการณ์หนึ่งปากใบเปิด แล้วทำไมอีกเหตุการณ์ปากใบถึงปิดตามลำดับคะ ช่วยทำให้หนูกระจ่างด้วยค่ะ >

    • @BIOCOVER
      @BIOCOVER  3 ปีที่แล้ว +2

      Photorespiration เกิดตอนปากใบเปิดได้นะครับปัจจัยที่ทำให้ photorespiration สูงได้หลักๆก็คือมี O2 ในปริมาณมากเกินเมื่อเทียบกับ CO2 ครับ

    • @golfwdygo
      @golfwdygo 3 ปีที่แล้ว +1

      @@BIOCOVER อ๋ออ ขอบคุณพี่พีมากค่ะ 🙏🏽❤

  • @lucosscosmoo7619
    @lucosscosmoo7619 2 ปีที่แล้ว

    พี่ครับแล้ว บนใบกับใต้ใบ ส่วนไหนมีปากใบมากกว่ากันครับ 🙏🏻

    • @BIOCOVER
      @BIOCOVER  2 ปีที่แล้ว +1

      ส่วนใหญ่ข้อสอบจะใช้คำว่า หลังใบ(บนใบ)
      กับท้องใบ(ใต้ใบ) มากกว่าครับ
      พืชบนบกทั่วไปจะพบปากใบที่ท้องใบมากกว่านะครับ

    • @user-wf9yh9hz8c
      @user-wf9yh9hz8c 6 หลายเดือนก่อน

      70%ของปากใบอยู่ใต้ท้องใบ