19. จูฬสุญญตสูตร | ความว่างเปล่า สูตรเล็ก | ธรรมปฏิบัติ ชุดที่ ๑ | ตอนที่ 19/21

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 27 ก.ค. 2015
  • พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่พระอานนท์ เรื่อง สุญญตวิหารธรรม
    จูฬสุญญตสูตร
    พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ [๓๓๓] ถึงข้อที่ [๓๔๒]
    84000.org/tipitaka/attha/v.ph...
    แสงธรรมแห่งพระไตรปิฎก มูลนิธิอุทยานธรรม

ความคิดเห็น • 8

  • @user-ej5oo6im4g
    @user-ej5oo6im4g 5 หลายเดือนก่อน

    ขอน้อบน้อมสักการะธรรมของตถาคต สัพพัญญูผู้รู้แจ้งโลกรู้ทั่วทุกโลกธาตุ สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ

  • @zen.the.upasaka
    @zen.the.upasaka ปีที่แล้ว

    สาธุ

  • @user-ej5oo6im4g
    @user-ej5oo6im4g 5 หลายเดือนก่อน

    สาธุ สาธุ สาธุ
    อนุโมทามิกับรัตนะห้าผู้หาได้ยากในโลกนี้ค่ะ

  • @t-rex8673
    @t-rex8673 4 ปีที่แล้ว +2

    งดงามยิ่งนัก..การวางจิตให้อยู่ในสุญญตา ตามลำดับจนกระทั่งหลุดพ้นในที่สุด ใครจะรู้ละเอียดลึกซึ้งและสามารถบัญญัติให้ผู้คนรู้ตามได้จนหลุดพ้น นอกจากตถาคต ...พระบิดานั้น ...ไม่มีเลย..สาธุ

  • @dasugino1555
    @dasugino1555 4 ปีที่แล้ว

    สาธุค่ะ

  • @jotawski
    @jotawski 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ
    ขออนุญาตเถิด สุญญตา นั้น หมายถึง ความว่าง มิใช่ ความว่างเปล่า นะครับ

  • @user-st2qp8og7p
    @user-st2qp8og7p 3 ปีที่แล้ว

    @ ความว่างเปล่า(สุญญตา)เป็นเครื่องอยู่ของจิต/ ไม่ใส่ใจในอายตนะภายนอกหก ทั้งส่วนที่น่ายินดีหรือส่วนที่น่ายินร้ายก็ตาม, ไม่ใส่ใจในขันธ์ห้า , สัญญานั้นเหลือแต่ความว่างเปล่า
    จิตตั้งมั่นในสภาวะความว่างเปล่า/ ที่ไม่มีเครื่องหมาย(นิมิต)ของสมมุติใดๆ /แต่จิตก็มิได้ยึดมั่นถือมั่นในความว่างนั้น(อุปาทานดับ) , จิตสักว่ารู้ สักว่าเห็น สักว่าทราบความว่างนั้น/รู้ชัดว่าหลุดพ้นแล้ว(วิมุติ) /ในญาณหยั่งรู้นี้ จิตไม่ได้อาศัย รูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะธรรมารมณ์/ อันน่ายินดีทั้งหลาย(วิราคะ) , ไม่ได้ยินดีในภพชาติ(โลกียะภูมิ) , อวิชชาดับไป
    อายตนะมีอยู่ , จิตมีอยู่ , สติสัมปชัญญะมีอยู่ / แต่ไม่มีความยึดมั่นถือมั่นต่อสิ่งใด แม้แต่ความว่างก็ไม่ยึด

  • @pongponmardsirisup1429
    @pongponmardsirisup1429 2 ปีที่แล้ว

    น.5:50 บางประกง หมู่ 7 ที่นี่ รหัสไปรสนี่ 70000
    ต้อนรับ มาฆบูชาหน่อย พร้อมป่าว???