โครงสร้างภายในโลก วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (โลกและดาราศาสตร์)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 14 พ.ย. 2015
  • จุดประสงค์การเรียนรู้
    1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างภายในโลก ได้แก่ แก่นโลก เนื้อโลก และเปลือกโลก และองค์ประกอบทัง้กายภาพและเคมีของวัสดุภายในโลก
    2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างและปรากฏการณ์ภายในโลกได้
    จัดทำโดย :
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ม่วงน้อยเจริญ
    ภาควิชาธรณีวิทยา
    คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT (Distance Learning Information Technology)
    www.dlit.ac.th

ความคิดเห็น • 30

  • @gutjang6899
    @gutjang6899 4 ปีที่แล้ว +1

    สอนเข้าใจมากๆเลยค่ะ

  • @pattarathorndokkaew5385
    @pattarathorndokkaew5385 6 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณนะครับ กำลังเรียนอยู่พอดีเลยครับ

  • @imonseafooddiet
    @imonseafooddiet 6 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ

  • @chalisamongkolsai119
    @chalisamongkolsai119 5 ปีที่แล้ว +2

    หนูชอบค่ะมีประโยชน์มากค่ะ

  • @amu4731
    @amu4731 ปีที่แล้ว

    สนุกมากเลยมีสาระมากๆเลยครับบบ

  • @letmesee6266
    @letmesee6266 5 ปีที่แล้ว +26

    เอางบ 1300 ล้าน ที่ใช้เลือก สว มาทำสื่อดีๆ แบบนี้ดีกว่า

  • @nanfahchannel6882
    @nanfahchannel6882 3 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมากค่ะหนูอยู่ป.3

  • @user-zk4sq8xj5x
    @user-zk4sq8xj5x 6 ปีที่แล้ว

    ชอบๆ

  • @lumpao
    @lumpao 6 ปีที่แล้ว

    ทำวิดีโอได้น่าสนใจ น่าเรียนมากครับ :)

  • @user-ui5he9lm2y
    @user-ui5he9lm2y 7 ปีที่แล้ว +1

    เข้ามากขึ้นเยอะเลยค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

  • @neverdie_xxx1282
    @neverdie_xxx1282 2 ปีที่แล้ว

    ขอเเบบสรุปได้ไหมครับ

  • @dkwk_bk5331
    @dkwk_bk5331 4 ปีที่แล้ว +1

    32:25

  • @fernmy8517
    @fernmy8517 6 ปีที่แล้ว +1

    อยากได้ที่เเยกเป็นตอนของเนื้อโลกโดยเฉพาะจังค่ะ ความยาวกระชับเข้าใจง่าย4-5น.

  • @dkwk_bk5331
    @dkwk_bk5331 4 ปีที่แล้ว

    10:47

  • @nammwan
    @nammwan 4 ปีที่แล้ว

    ช่วงหลังเสียงหายค่ะ

  • @theerakornjinaya5361
    @theerakornjinaya5361 3 ปีที่แล้ว

    ธีรกรณ์ จินายะครับ

  • @phurisottatipreedawong1618
    @phurisottatipreedawong1618 5 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าคลื่นpเคลื่อนที่เร็วกว่าคลื่นsแถมคลื่นpยังสามารถเคลื่อนที่ผ่านของเหลวได้ด้วย
    แล้วทำไมเราถึงใช้คลื่นs คลื่นsมีข้อได้เปรียบคลื่นpด้านไหนบ้างครับ?
    หรือเราแค่ใช้คลื่นsแทนคลื่นpเฉยๆ?

    • @rabbitomao7184
      @rabbitomao7184 4 ปีที่แล้ว +6

      น่าจะเพื่อทำให้ทราบว่าชั้นใดมีสถานะเป็นของแข็งและของเหลวค่ะ เพราะหากใช้คลื่นPที่เคลื่อนที่ผ่านได้ทุกสถานะอย่างเดียวแล้ว เราก็อาจจะไม่ทราบเลยว่ายังมีชั้นที่มีสถานะเป็นหินหนืดอยู่ด้วยค่ะ ^^

  • @BG-ry2vd
    @BG-ry2vd 7 ปีที่แล้ว +22

    ซิลิคอน Si ตัวนี้ไม่ใช่หลอครับ อันนั้นมันซัลเฟอ S

  • @mommymoomin7159
    @mommymoomin7159 2 ปีที่แล้ว

    ทำไมต้องเจาะด้วยไม่คิดถึงผลเสียผลกระทบเลยหรอ

  • @chonladasedas2890
    @chonladasedas2890 6 ปีที่แล้ว +6

    ทำไมตอนหลังไม่มีเสียงงง งงแพบ

  • @hapenisfri3782
    @hapenisfri3782 4 ปีที่แล้ว +1

    ซับอังกฤษอย่าหาทำนะคะ

    • @kaikinkaoyang
      @kaikinkaoyang 3 ปีที่แล้ว

      Kroyah atp มันมีซับengด้วยหรอ

    • @hapenisfri3782
      @hapenisfri3782 3 ปีที่แล้ว

      มีค่ะแต่อาบัติ555555

  • @phurisottatipreedawong1618
    @phurisottatipreedawong1618 5 ปีที่แล้ว

    มีสิ่งมีชีวิตแบบไหนอาศัยใต้เปลือกโลกครับ?

    • @t-6ix923
      @t-6ix923 5 ปีที่แล้ว

      ไม่มี

  • @daodao1207
    @daodao1207 7 ปีที่แล้ว +1

    มีคัยเคยรู้หรือไม่แกนโลกของเราคือเพรช

    • @fengli1429
      @fengli1429 6 ปีที่แล้ว +2

      ใช่หรอ แกนโลกจะร้อนมากนะ

    • @mompnsppsnpmom9487
      @mompnsppsnpmom9487 4 ปีที่แล้ว +1

      แกนในสุดของโลกมีอุณหภูมิเกือบเท่าเปลือกดวงอาทิตย์

    • @ThePuuc2
      @ThePuuc2 3 ปีที่แล้ว

      เพชรไม่ใช่วัตถุที่มีมวลและความหนาแน่นที่สุด วัตถุที่หนักกว่าย่อมจมลงลึกกว่า