เพลงระบำโบราณคดีเชียงแสน (The Chiengsaen Dance)
ฝัง
- เผยแพร่เมื่อ 3 พ.ย. 2024
- เพลงไทยประสานเสียง Portrait of Siam II
วงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร National Symphony Orchestra
อำนวยเพลงโดย สถาพร นิยมทอง
ระบำโบราณคดีเชียงแสน
เป็นระบำชุดที่ ๔ ในระบำโบราณคดี ๕ ชุด นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้แต่งทำนองเพลงจากสำเนียงไทยภาคเหนือ นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย และนางเฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย และศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำจากจิตรกรรมฝาผนัง และลายปูนปั้นที่ประดับโบราณสถานยุคเชียงแสน อาณาจักรล้านนา ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๓ ดังนั้นท่ารำและดนตรี ตลอดจนเครืองแต่งกายในระบำชุดนี้ จึงมีลีลา สำเนียง และแบบอย่างเป็นแบบไทยภาคเหนือและไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือระคนกัน
The Chiengsaen Dance
Chiengsaen period was belived to lie between either 12th and 17th or 14th and 20th Centuries. Its influence was extended through out north-eastern Thailand, and also crossing the Me Khong river to the Lao Kingdom. The musical instruments used in this came off by the result from the investigation on the Chiengsaen’s artistic works. The melodic lines were in the styles of northern, north-eastern Thai mixed together with those of Laos.