ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
สวัสดีตอนเย็นครับพี่ๆคนไทยทุกคน ขอบคุณที่เข้ามาให้กำลังใจผมนะคร้บ❤ขอบคุณคลิปต้นฉบับth-cam.com/video/Myk-wHUB3Ow/w-d-xo.htmlsi=-BzNyM_S6QOGDosL
th-cam.com/video/8E95lzN9DFg/w-d-xo.html เด็กไทยคว้าเหรียญทองโดรนแปลอักษรที่โปแลนด์
สวัสดี ครับ doctor Nick ต้องไปเรียนวิธีใช้งานจากที่ญี่ปุ่นครับ วิศวกรโยธา❤❤❤❤😂😂❤❤❤❤...ตอนนี้คือขั้นตอนท้ายของการทำแล้ว .....
งบต่อ1กิโลเมตรประมาณ3ล้านบาครับ
ก่อนอื่นเขาต้องถมดินแล้วเอาปูนทาผสมกับดินพื้นถนนมก่อนแล้วอัดดินให้แน่นแล้วพอแน่นแล้ว แล้วก็เจาะนำตัวอย่างดินว่าแข็งได้ตามมาตรฐานพอผ่านแล้วเอายางมะตอยลงอัดตามที่เห็น
😊😊@@atthaponsanthima7236
ผมคนไทย เข้าใจความคิดของคนลาวที่ทำงานในไทย รึคนลาวที่นำเสนอเรื่องดีๆ เรื่องความเจริญในไทยเพราะอะไร ที่เขาทำแบบนั้นเพราะต้องการนำเสนอให้คนลาวในประเทศได้ตื่นตัว นำเสนอเพื่อให้หวังว่าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงในประเทศลาวให้เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น อยากให้คนลาว รัฐบาลลาวได้ตื่นตัว ว่าประเทศอื่นเขาพัฒนาไปไกล เขาอยากนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีในประเทศตัวเอง
มันคือ Asphalt concrete ครับ เป็นวัสดุคอมโพสิตที่นิยมใช้บนพื้นผิวถนน ลานจอดรถ สนามบิน และแกนหลักของเขื่อน ส่วนผสมแอสฟัลต์ประกอบด้วยแร่ธาตุ(หินคลุกและปูน)รวมตัวเกาะกันด้วยน้ำมันดิน (ยางมะตอย) ปูเป็นชั้น ๆ และบดอัดให้แน่น 🙂
ในแง่ของการก่อสร้าง ผมได้ยินผู้รับเหมาเขาคุยกัน สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ คุณภาพของวัสดุในการก่อสร้าง เช่นหินคลุกที่ไม่มีสิ่งเจอปน ไม่ผุ บางงานอยู่ไกลค่าใช้จ่ายสูง อาจจะคุยกันเพื่อลดสเปคลง แอสฟัลต์คุณภาพต่ำไม่กี่ปีจะแตกลายงา เป็นเม็ดข้าวโพด น้ำซึมลงด้านล่างทำให้ถนน ซอร์ฟหรืออ่อนตัวพังในที่สุด สิ่งที่ขาดไม่ได้เลย ระบบการตรวจสอบและควบคุมการก่อสร้างต้องแข็งแกร่งด้วย
มันต้องได้คุณภาพทุกชั้นทาง ตั้งแต่ชั้นดินคันทาง ชั้นรองพื้นทาง(ดินลูกรัง) ชั้นพื้นทาง(หินคลุก) และสุดท้ายชั้นผิวทาง(แอสฟัลท์ติก) อาจจะปูชั้นเดียวหรือสองชั้น ขึ้นอยู่กับปริมาณจราจร จะมีความหนาประมาณชั้นละ 5 ซม.
เพิ่มเติมนะครับ จากที่เห็นมาก่อนจะเป็น Asphalt concrete เมื่อก่อนถนนจะเทดินบดอัด ตามด้วยลงหินอัคนีเบอร์เล็ก บดอัดแล้วราดซ้ำด้วยยางมะตอยครับ ถนนยุคโบราณมีแค่นั้น 🙂
@@birdblueskyแต่ก็ทนมาก น่าจะคอรัปชั่นน้อย ถนนหน้าบ้านผมสร้างตั้งแต่ปี 2525 แทบจะไม่มีตรงไหนชำรุดเลย แต่พอมาเปลี่นยเป็น สี่เลนราดอย่าสวยแต่ไม่ทนปีสองปี หลุดร่อนเป็นแถบ เป็นหลุมเป็นบ่อ แป๊บเดียวก็ต้องมาซ่อมปะผุ
@@godfather7245 น่าจะขึ้นอยู่กับปริมาณรถที่วิ่งและน้ำหนักรถด้วยนะครับเท่าที่ทราบรอผู้รู้อีกที
คือการสร้างถนนที่ไทยนั้นเราพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ใช้เวลาสะสมมาหลายสิบปีผมเคยฟังคนแก่เล่าให้ฟังสมัยเป็นเด็กเมื่อก่อนวิศวะกรผู้คุมงานจะเป็นฟรั่งชาติต่างๆ แล้วแต่บริษัทนั้นจ้างมาเราก็เอาวิศวกรคนไทยเป็นเป็นผู้ช่วยเพื่อเรียนรู้เทคโนโลยีของเค้าจนตอนนี้เราไม่ต้องใช้วิศวกรต่างชาติถ้าแค่สร้างถนนหนทางต่าง ยกเว้นการสร้างรถไฟใต้ดิน รถไฟความเร็วสูง นี้ต้องจ้างเค้ามาเป็นที่ปรึกษา
อืมเราได้รับการถ่ายทอดจากวิศวกรฝรั่งนี่เอง ผมนึกว่าญี่ปุ่น
หมอครับผมเคยเห็นโรงพยาบาลหมอแล้วคือหมอครับสู้ๆนะครับ❤❤
สปป.ลาว คงยากที่จะทำให้ได้ทั่วประเทศแบบไทยล่ะนะหมอ ล่าสุดที่ลาวทำถนนลาดยางมะตอยได้แค่ 5 เดือน พังแล้วมันขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มากมาย แต่ทางฝั่งลาวก็รู้ๆกันอยู่ในเรื่องของการโกงกินและการคอรัปชั่น ผู้รับเหมาก็ไม่มีเครื่องจักรในการทำงานแบบไทยด้วย และการตรวจสอบ ตรวจรับ และการรับประกันของงาน ซึ่งทางลาวเหมือนจะไม่มีการรับประกันแบบไทยล่ะนะ ลองเทียบดูกับถนนที่ไทยไปทำให้ฝั่งลาวดูครับ ผ่านมา 3-4 ปี แล้วยังใช้งานได้ปกติดีอยู่เลยครับ
เราก็อยู่ในจังหวัดบุรีรัมย์อำเภอพลับพลาชัยเป็นอำเภอเล็กๆแต่มีถนนสี่เลนสวยงาม ถนนวิ่งผ่านแต่ละหมู่บ้านลาดยางกว้างขวางสะดวกสบายในหมู่บ้านมีถนนคอนกรีตทุกซอย มีไฟส่องสว่างปลอดภัยดีด้วย
สวยจริงครับ วิ่งกระสัง-พลับพลาชัย-ประโคนชัย เนียนกริ้บ จนต้องชมตลอดทางเลย
มันคือปลายเหตุครับการทำถนนดี ๆ ต้นเหตุคือ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรบุคคล สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้ และเป็นสิ่งแรกเลยที่ต้องพัฒนาก่อนอย่างอื่น ครับผม
ได้งบไปแล้วสร้างไม่ได้มาตรฐานเดียวก็โดน.ประชาชนเล่นงานเอา.จะมากินแบบหมูๆไม่ได้.😊😊😊
ผมเป็นคนไทย คนนึง อยากให้หมอ มาอยู่ประเทศไทย แต่คงเป็นไปได้ยาก ผมก็ขอเป็นกำลังใจให้ ทุกสถานการณ์การปฎิบัติหน้าที่ครับหมอ 👏😉
ตรงที่ใส่วัสดุปูยางมะตอยเรียกว่า Hopper(ฮอปเปอร์) ตรงที่ลำเลียงเรียกว่า Conveyor(คอนเวเยอร์) ส่งไปที่ Screw Conveyor แล้วเข้าชุดรีดบดอัดลงพื้น
ทางดีไม่เสียเวลา สะดวกสบาย ช่วงล่างแหนบโช้คอัพจะได้ทนทานค่าอะไหล่เปลี่ยนทีหน้ามืด ลดฝุ่นระบบหายใจดี
หมอครับ จะมียิ่งไปกว่านี้ เมื่อผสมยางมะตอยด้วยน้ำยางที่กรีดจากต้นยางพาราครับ
ประเทศไทยใช้เครื่องจักรกลทำงานมากขึ้น ใช้แรงงานน้อยลง ต่อไปข้างหน้าก็ไม่แน่ อาจจะใช้เครื่องทำงานเกือบทั้งหมดแน่ๆ
การคมนาคมสะดวกสบาย เป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเทศค่ะ
ผมเคยเป็นลูกจ้างของกรมทางหลวงอยู่ช่วงหนึ่ง เขตที่ผมสังกัดได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศออสเตรเลียทั้งระบบ เครื่องจักรบางคันอายุเกิน40ปียังใช้ได้ปรกติ เราสะสมความรู้มานานส่งต่อรุ่นสู่รุ่นในองกรณ์ทำให้เรามีวันนี้
ถนนที่ไทยยิ่งถ้าเป็นสายเมนหลักนะคะ ยิ่งแข็งแรงหมอ
ขอให้กำลังใจคุณหมอ และให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญ และขอให้มีทัศนะคติที่ดี ควรpro ประเทศประชาธิปไตย เป็นแบบอย่าง พร่อมกับพัฒนาด้านจิตใจไปด้วย
ความแข็งแรงของถนน มีหลายปัจจัยครับ บดดินให้แน่ บดยางให้แน่ที่สำคัญ ความหนาของถนน วัสดุที่ใช้ และต้องมีไหล่ทางด้วยครับ เห็นภาพถนนเพื่อนบ้าน เห็นยางมะตอยบางเกิน เลยทำให้ยางหลุด สังเกตุด้วยตาน่าจะหนาแค่ 1-2 ซม.เองมั่งครับ แบบนี้ถนนไม่ทนครับ
คุณหมอลองดูรายการ เก่งจริงชิงค่าเทอม ครับสนุกด้วยได้ความรู้ด้วยครับ
ถนนเป็นไงไม่รู้ รู้แต่ว่า หมอน่ารัก ❤ โอเคร แต่งค่ะ 🥰
.แอสฟัลท์ติก คอลกรีต..ผสมมาจากแพล้นท์มิก..ความร้อน200 องศาขึ้นไป..รถบดต้องใช้น้ำเลี้ยงล้อ พอประมาณ เพื่อไม่ให้ยางติดล้อรถบด..รถบดต้องบด 2 ขอบแล้วค่อยบดตรงกลาง ไม่งั้นมันจะ สไล้ด์ออกข้าง จะไม่ได้ความหนาตามสเป็ค...รถบดล้อยาง บดนวดตั้งแต่ยางร้อน บดนวดไปจนกว่ายางจะเย็น ประมาณ3-4 ชั่วโมง
สบายดี คุณเป็นยูทูปเปอร์ที่ผมสนับสนุน คอนเทนต์ที่ทำดีมากๆครับ เป็นการเป็นหูเปิดตาคนลาวได้เห็นโลกใหม่ๆ เพื่อนำกลับไปคิดไปเปรียบเทียบว่าที่ลาวเจริญถึงไหนแล้ว คอนเทนต์แนวๆไทยด่าลาว ลาวด่าไทย เป็นคอนเทนต์ไร้สาระ ไม่มีประโยชน์ มีแต่เสียทั้ง2ฝ่าย อย่าหาทำ!!! ให้กำลังใจครับ
สวัสดีครับคุณหม อนิก วิศวกรรมการก่อสร้างของไทยส่วนใหญ่จะใช้มาตรฐานสากล ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สถาปัตย์ วัสดุ อุปกรณ์ ทุกอย่างต้องได้มาตรฐานครับ โดยเฉพาะการสร้างถนนก็จะใช้การบด การใช้หิน ใช้ดิน ความหนาของพื้นผิวลงราดยางความหนาจะต้องได้มาตรฐานจริงๆเพราะจะมีเจ้าหน้าที่มาตรวจสอบความหนาของตัวลาดยางถ้าไม่ได้ความหนาตามเสป๊กก็จะไม่ผ่าน มีการตรวจสอบทุกขั้นตอนของการก่ อสร้าง
การสร้างถนนในประเทศไทยส่วนมากจะทำแบบ2ชั้น ชั้นล่างเทเป็นคอนกรีตและชั้นบนจะลาดหิน+ยางมะตอยหนา10เซ็นต์
😂ที่ลาว เอาหินโลยๆเอาน้ำยางเทลาด จบ รับเงิน มันง่ายเกิน🤣🤣🤣
รถปูยางมีสามชนิดครับ_รถสิบล้อบรรทุกยางมาเทใส่รถปูยาง_รถต้มยางปูและรีดยาง(คันกลาง)_รถบดให้ยางแน่นเพือความคงทนถาวรของถนน(ล้อเหล็ก/ล้อยาง)❤❤❤❤ครับคุณหมอตอนนี้ที่หมู่บ้านผมกำลังทำถนนลาดยางไปไร่ไปนาอยู่ครับ
ครับแต่เหนือจรดไต้ตะวันออกเสร็จสมบูรณ์เกือบ100%พะนะถนนเส้นหลักเส้นรองในเมืองในหมู่บ้านไปไร่นา-ป่าสวน
ถ้าเรื่องการทำถนนหนทางอาจดูดีมีเทคโนโลยีที่ดี แต่เชื่อเถอะว่าไม่ได้มาตราฐานหรอกเพราะลาดบาง ใช้งานไม่นานก็ต้องซ่อม ผมเจอมาเยอะแล้ว ตอนทำดูดีใช้งานจริงไม่ได้นาน
การมีถนน หนทางดี สิเฮ็ดให้ความเป็นอยู่ดีขึ้น เดินทาง บ่เหมื่อย สุขภาดี บ่อต้อง ดมขี้ฝุ่น รถบ่อพังไว
ยางมะตอยจะถูกผสมกับหินคลุกด้วยความร้อนที่โรงงานผสมโดยเฉพาะ แล้วนำใส่รถบรรทุกมาส่งหน้างาน
การทำถนนมาตรฐานจะมีชั้นของวัสดุแต่ละชั้นแยกดังนี้1. ชั้นดินหรือทรายถมความหนาประมาณ 30-50 เซ็นติเมตร2. ชั้นลูกรังความหนาประมาณ 25-30 เซ็นติเมตร3. ชั้นหินคลุกความหนา 20-25 เซ็นติเมตร4. ชั้นผิวทาง(แอสฟัลติกส์คนกรีต(ยางมะตอย)) ชั้นละ 5 เซ็นติเมตรหรือผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็กจะมีความหนา 20 เซ็นติเมตร
ถนนดี รถที่ใช้งานก็มีอายุการใช้งานยาวนานมากขึ้นและรถก็ไม่สกปรกขับขี่ก็สวยงาม
ตอนนี้ถนนประเทศไทยจาก 2 เลนเริ่มขยายเป็น 4 เลนแล้วครับบางที่เป็นคอนกรีตหนามากๆๆรถบรรทุกสิบล้อวิ่งถนนไม่มีพังแน่นอนครับรับประกัน
ผิวถนนที่ลาดยางอยู่แล้วพอใช้ๆไป ชำรุดเป็นหลุมไม่เรียบ เขาจะใช้รถขูดผิวถนนเดิมทิ้ง แล้วลาดยางใหม่ตามในคลิป เดี๋ยวนี้แห้งไวมาก ทำกลางคืน รุ่งขึ้นรถวิ่งได้
ถ้าจำไม่ผิดเห็นอาทิตย์ก่อนญี่ปุ่นก็บริจาครถปูยางมะตอยกับรถบดอัดให้สปป.ลาวนะยี่ห้อsakai ถ้าผมจำไม่ผิดสมัยก่อน20-30ปีที่แล้วถนนยางมะตอยปูหนากว่านี้อีกนะเกือบๆคืบอ่ะ แต่สมัยนี้บางกว่าสมัยก่อนมากอาจจะเพราะมีเทคนิคมีส่วนผสมยางมะตอยที่ดีกว่าเดิมก้ได้ ทำให้รับน้ำหนักได้มากและทนทุกสภาพอากาศ ซึ่งสภาพอากาศและเทคนิคในการผสมยางมะตอยของแต่ละประเทศก็จะใช้แตกต่างกันไป
รถคันนั้นเวียดนามเอาไปใช้เจ๊งไปนานแล้วมั้ง..ของดีๆที่ชาวโลกบริจาคให้เค้าใช้อยู่ลาวไม่นานหรอก
เวียนเอาไปแล้วครับ
เพิ่งเข้ามาติดตาม อยากให้ทำ Q&A คืออยากรู้จักมากกว่านี้
สวัสดีค่ะ คุณหมอ🎉
สวัสดีคะหมอนิคจากfcขอนแก่น
ไทยรวยจริง ถนนเก่าเป็นปูนคอนกรีตผิวถนนยังดี แต่ยังมีเงินมาลาดยางมะตอยเพิ่มความหนาถนนขึ้นอีก รับประกันใช้อีก10กว่าปีไม่มีได้ซ่อม
เพราะว่าถนนเปรียบเหมือนเส้นเลือดใหญ่ ถนนดีการคมนาคมดีประเทศก็พัฒนาทั้งเศรษฐกิจและสังคม
มีรถขูด เก็บยางเก่า ออกก่อน ก็มี. ต้องขูดของเก่า ออก ก่อน เสมอ
หากเป็นคอนกรีตในชุมชน 15. เซนต์ หากเป็นถนนสี่เลน หนา30 เซนต์ ครับ คุณหมอนิค
บางครั้งถนนยังไม่ชำรุด แต่งบประมาณลงมาอบต.ก็ต้องทำเพราะว่สจะได้กินงบ😁
สวัสดีจ้า ตามชมให้กำลัง❤จ้า🇹🇭
ถนนดีทำให้ประหยัดน้ำมันด้วยครับ
บุรีรัมย์จังหวัดขเจ้า ถนนงามงามบุรีรัมย์
มียากประเทศเจ้าคอรัปชั่นหลาย
กว่าจะพัฒนามาได้แบบนี้ ก็ผ่านสิ่งที่ไม่ดีมามากมาย แต่ก่อนถนนลาดยางพังเร็วมาก อาจจะเป็นเพราะสร้างถนนไม่มาตรฐาน ...เป็นหลุมเป็นบ่อเร็ว...หรือไม่ก็พวกรถบรรทุกหนักเกินอัตรา...
ดีใจกับ จ.บุรีรัมย์ผู้นำเขารักบ้านเขา ผมอยู่ปราจีนฯโคตรอนุรักษ์ของเก่ามากเลยสู้บุรีรัมย์ไม่ได้ ส.ส.พรรคเดียวกัน
ทำถนนดีแค่ไหน ก็ต้องจำกัดน้ำหนักรถที่บรรทุกด้วย ถนนจะได้ใช้นานๆ ไม่สึกกร่อนเร็วเกินไป
คนไทยเรียกแบบง่ายๆ ก็รถปูยาง แหละ แอดมิน
ลาวมีโรงกลั่นน้ำมันกี่แห่งครับ แต่ดูข่าวว่าจีนร่วมกับลาวเปิดใหม่อีกหนึ่งแห่งหวังว่าจะมียางมะตอยพอเพียงต่อการสร้างถนน เพราะสิ่งที่เหลือสุดท้ายจากการกลั่นน้ำมันคือยางมะตอย
รถที่บรรทุกที่บรรทุกมาคือ Asphalt ผสมหินเกร็ด(หินบดขนาดเล็ก) ที่ผสมมาจากโรงงานแล้ว มาถึงก็ยกดั๊มลงรถอัดให้แน่น แล้วตามด้วยรถบดล้อเหล็ก รีดด้วยรถบดล้อยางเก็บรายละเอียด
จริงๆแล้วถนนในไทยมาตรฐานยังธรรมดามากครับ มาตรฐานสูงจริงๆต้องญี่ปุ่น จีนฯ #รู้ไหมถนนของญี่ปุ่นก่อนจะลาดยางเค้าเทคอนกรีตข้างไต้ลึกเป็นเมตรนะ ( และนั่นเป็นเหตุผลว่าทำไมถนนเมืองนอกมันถึงเรียบเสมอกัน ไม่มีชำรุดและมีหลุมมีบ่อง่าย )ดูถนนเมืองไทยสิ่ มองเผินๆอาจจะดูเรียบดูมาตรฐานนะ แต่พอลงไปขับจริงๆแล้วจะรู้ว่าขับไปสักพักมันจะเป็นคลื่นเป็นเนิน
สบายดีหมอนิค ความหนา 10 เซ็นนี่คือปูมับถนนเก่าเพื่อปรับปรุงผิวถนนจราจร ถ้าเฮ็ดใหม่สิหนากว่านี้คับ
เขาเรียกรถบาร์เบอร์กรีนหรืิอรถปูยางมะตอย(อัสฟัลส์)จะเกลี่ยและปรับระดับไปในตัวทนความร้อนได้เกิน 200 องศาเซลเซียสเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ในเอเชียบริษัทรับทำถนนไปหมดทั้ง เวียดนาม มาเลเซีย ติมอร์ บังคลาเทศ พม่า ด้วยมาตรฐานสากลที่ทั่วโลกยอมรับ
ความหนาของถนนต้องเป็นไปตามกรมทางหลวงกำหนดคือปูครั้งแรกหนา 5 cm. ปูครั้งที่สองหนา 5 cm.สเปคหลวง
สู้ๆนะคุณหมอ❤❤😊
มันจะเป็นถนนคอนกรีต แล้วมาปูยางทับ10 เซนติเมตร เพื่อให้รถวิ่งนิ่ม และปลอดภัย
ปูยางแบบนี้ ทำจากถนนลาดยางเดิมที่พัง ภาษาช่างเรียก รีไซกลิ้ง
ภาษีที่ไทยเก็บได้มากที่สุดคือภาษีมูลค่าเพิ่มหรือvat7% ทุกคนมีส่วนร่วมเสียภาษีนี้ ซื้อสินค้าอุปโภรบริโภคทุกอย่างรัฐบวกภาษีอยูในราคาสินค้านั้นแล้ว ปีๆหนึงเก็บได้นับล้านล้านบาท แล้วเอาภาษีนี้ส่งไปยังหน่วยงานที่พัฒนาประเทศและนำมาเป็นสวัสดิการให้คนในประเทศทุกๆปี
เขาเรียก เพร็ปเวอร์ เครื่องปู แอสฟัลท์คอนกรีต ร้อนๆ ขนาดน้ำเดือด - ถนนไป่น๊า ก็ทำทำแบบเนี๊ย
หากประเทศลาวพัฒนาเศษฐกิจให้ดี..เก็บภาษีได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย..ก็จะมีต้นทุนไปสร้างสาธารณูปโภคให้ประชาชน..ถึงจะเป็นคอมมิวนิตส์ก็ทำใด้ มีประเทศอื่นๆทำเป็นตัวอย่างให้เห็นเยอะแยะ..เว้นแต่ว่าจะเอาจริงกันรึเปล่า
ที่ลาวมันคือการคอรัปชันไม่ได้มาตรฐานแต่รับเงินเต็ม ถนนพังชั่งมัน
บริษัทไทยรับทำถนนทั่วโลกนะหมอ ในอินโด,อินเดีย,มาเล,พม่า,เวียตนาม บริษัทไทยไปทำมานานแล้วนะ
ความเจริญมาจาก ลุงตู่ คิดถึงลุงตู่❤❤
ถนนไม่ดีก็เยอะอยู่นะคะ เป็นหลุมเป็นบ่อ สร้างไม่ถึงปีเป็นหลุมแล้วก็มี ซ่อมกันอยู่นั่นแหละ
ทางขึ้นเขาแถวบ้านตอนเขาลาดยางทำได้เร็วเสร็จเร็วอยู่นะ ระยะทางขึ้นเขา7กิโลเมตร ทางคดเคี้ยวตลอดเส้นทางเขาลาดยางไม่กี่วันก็เสร็จ แต่จะช้าตอนเขาขยายทางให้กว้างขึ้นแล้วอัดดินให้แน่นเทหินคลุกแล้วอัดบดให้แน่นอีก เนื่องจากทางขึ้นเขามันคดเคี้ยวตลอดเส้นทางเลยทำให้การทำงานมันยากขึ้นไปอีก
ไทยมีการปกครองอยู่ 3 ประเภท 1 พิเศษ คือส่วนกลางเป็นฝ่ายนโยบายคือกระทรวง ทบวงกรมต่างๆ ส่วนภูมิภาค ก็มี จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ส่วนท้องถิ่น ก็เป็นเทศบาล เป็นอบต. และการปกครองพิเศษคือ กรุงเทพ และเมืองพัทยา แต่ละส่วนก็จะมีเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง ประเภทที่เป็นหมู่บ้าน ตำบล เทศบาล อบต. กรุงเทพ เมืองพัทยา ประชา่ชนจะเลือกบุคคลและกลุ่มบุคคลมาทำหน้าที่บริหารงานพัฒนาชุมชนของตนเอง หมู่บ้านก็เลือกผู้ใหญ่บ้าน ตำบลก็มีกำนันที่มาจากผู้ใหญ่บ้านในตำบลนั้นๆเลือกกันเอง ส่วนเทศบาล อบต. เมืองพัทยา ก็เลือกนายกเทศมนตรี นายก อบต. นายกเมืองพัทยา และกรุงเทพ ก็เลือก ผู้ว่า พวกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนก็ไปหาทีมงานจำนวนและคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดมาช่วยกันบริหารงาน กลุ่มนี้จะมีวาระการดำรงตำแหน่ง วาระละ 4 ปี ส่วนกำนัน ผู้ใหญ่บ้านจะอยู่จนอายุ 60 ปี ตำแหน่งนอกเหนือจากนี้จะเป็นข้าราชการประจำ ทำงานจนเกษียณอายุราชการ 60 ปี จะเห็นว่าในหน่วยงานที่อยู่กับพื้นที่ชุมชนของไทยจะมีบุคลากรทั้งเป็นข้าราชการประจำและ มาจากการเลือกตั้ง นี่คือสรุปคร่าวๆพอเข้าใจ ให้คุณหมอได้ศึกษาดู เพราะเห็นคุณหมอสนใจเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับไทย
ขั้นตอนการทำถนนมาตรฐานที่ปท.ไทยทำคือ1.เตรียมพื้นที่ ทำความสะอาดและแผ้วถางสิ่งกีดขวางทั้งหมด2.ถมดินและปรับแต่งผิวหน้าดิน(ใช้รถเกรต(ปรับพื้นที่)/ตัก-ไถ-พรวน/และใช้รถอัดแรงบดพื้นถนนให้เรียบแน่น3.วางบล็อคและตะแกรงเหล็กรองพื้นแล้วเทคอนกรีต(สเตรนต์ความแข็งแรงระดับสูง)หนา10เซนติเมตร4.จากข้อ3หลังจากใช้สักหนึ่งระยะ(2ปีโดยประมาณ) จะกลับมาเคลียร์พื้นที่(ทำความสะอาด)ผิวคอนกรีตอีกรอบ5.จากข้อ4เมื่อปัดฝุ่นและเคลียร์พื้นที่ในข้อ4เสร็จแล้วจะราดยางแอตฟั้นท์(หินคลุกน้ำมันดิน)หรือยางมะตอยแล้วบดอัดแน่น2ชั้นๆละ5เซนติเมตร รวมหนา10เซนติเมตรการราดยางแอตฟั้นท์เพื่อให้พื้นผิวเรียบแน่นใช้งานทนทาน และที่สำคัญทำให้การเกาะตัวของล้อยางรถยนต์กระชับและนุ่มเบายิ่งขึ้นฯ
ถูกต้องคุณหมอ
ถนนบางที่เขาจะเทคอนกรีตก่อนแล้วค่อยปูยางมะตอยทับทีหลัง คับหมอ
ปัจจุบันถนนสายหลักตามแยกจุดตัดที่รถใหญ่วิ่งเยอะๆ จะทำแบบบดอัดหนาๆ เทคอนกรีต แล้วตามด้วยราดยางะตอย เพราะถ้าไม่ทำหลายชั้นรถใหญ่เบรกย้ำๆ ลงบ่อยๆ ถนนจะทรุดเป็นร่องคลื่นด้วยแรงกดของรถหนัก ถนนพังเร็วมากครับ
เคยคุยกับคนที่เคยไปทำถนนในลาว ทำเสร็จเอาเครื่องจักรออกจากลาวไม่ได้ โดนยึด บอกว่าเป็นกฏหมายเขา เลยไม่มีผู้รับเหมากล้าข้ามไปทำอีก
คุณหมอย้ายมาอยู่ประเทศไทยเลย จะได้ทำคอนเทนเต็มที่
คนแนะนำไม่รู้สี่รู้แปดจะให้ขามาอยู่ทำอาชีพอะไร
มึงรู้มั้ยคำว่า ไม่รู้สี่ไม่รู้แปด ประโยคนี้มันคืออะไร
ใครจะรับเลี้ยงดู มาทำงานก็ไม่กล้ามากลัวคนลาวเรียกว่าขี้ข้า
สวัสดีค่ะคุณหมอนิค
ดั้มเทลงกระบะรถรีดหน้ายางเลยกระบะรองรับอยู่รถปูก็จะเดินหน้าไปพร้อมกับรถดั้มเลย
ไม่ใช่แค่ผิวทาง ฐานทางที่อยู่ใต้ผิวทางก็มีมึความสำคัญมากเช่นกัน ผิวยางจะทำให้ขับนุ่มนวล นั่งสบายและยังมีทำหน้าที่ป้องกันฐานทางให้แห้งเมื่อมีฝนตก ถนนก็จะมีอายุการใช้งานได้นาน
เป็นกำลังใจให้คุณหมอครับ🙏😊🙏
แมนหมอ.บ่อได้เปรียบเทียบ.เพียงแต่ดุตัวอย่างใว้.อะไรที่ดีก้นำมาใช้แบบ.ไปปรับปรุ่งใช้งาน.
ก่อนที่จะปูยางก็เป็นถนนซีเมนต์20 เซ็นแล้วนะ ปูยางรถวิ่งจะไม่กระโดด
เพิ่งเข้ามาดู...ขอกดติดตามนะค่ะ
FCจากไทยแลนด์สบายดี❤❤❤
ถนนที่เมืองไทย จะมีอายุ สมมุติทางลาดยางอายุ 10ปี ทุกๆ10 ก็จะมีการทำใหม่ จะสังเกตุถนนเดิมก็ยังดีอยู่ แต่ถึงระยะของถนนเส้นนี้ ก็ต้องมีการปูยางทับไปเื่อยๆทุกๆ 10ปี ถนนเมืองไทยถึงหนาขึ้น และแข็วแรงขึ้นเรื่อยๆ ถึงถนนไม่พัง แต่พอถึงเวลา งบมา ก็ตั้งเททับไปเรื่อยๆ
การราดยางผสมหินบดอัด มาตราฐานขั้นต่ำๆต้องความหนา ประมาณ 5 cm. ขึ้นไป ( ควร อยู่ระหว่าง 10 - 15 cm. )
นี่ยังเป็นรุ่นเล็ก ๆ นะครับ รุ่นใหญ่จะเทรอบเดียวเลย
มิคยางมะตอยกับหินให้เข้ากันอุณหภูมิให้ได้ 100 องศาแล้วก็ใส่รถเอามาเทพี่เห็นขึ้นรถเวฟยางมะตอย
ถนนไปไร่ไปนา ถนนในหมู่บ้าน เป็นหน้าที่ ของ อบต.องค์การบริหาร ส่วนตำบล (แยกย่อยออกมาจากอำเภอ)
ถนนของกรมทางหลวงจะหนาที่10เซนฯแต่ถ้าเป็นทางหลวงชนบทจะหนาแค่5เซนฯ ตามมาตรฐาน
เขาเรียกว่ารถอัดยางมะตอย ส่วนมากที่ประเทศไทยเขาจะปูยางมะตอย 2 ชั้นเป็นอย่างน้อย
ของร้องท่านผู้เกี่ยวข้องกรุณาเหลือเส้นทางที่ลําบากไว้บ้างตามป่าเขา เพื่อให้ขาลุยมีเส้นทางไว้ขับออฟโรด ขอบคุณครับ
ปชชไทยสว่นมากยังไม่พอแค่นี้หรอก ทางเข้าป่ายังทำไมถึง แต่ไม่ต้องราดยาง แค่ใช้รถถากหน้าดิน ไปให้ทางเดินสุดป่า ทุกป่า คนที่เข้าไปดูแลป่า ปลูกป่า หาของป่า เวลาไฟไม้ จะได้สบาย .....
ลาดยาง ไม่ใช่ ราดยาง
เป็นการปูพื้นใหม่ทับของเก่า เพื่อปรับปรุงผิวถนน
งบประมาณที่ใช้ในการสร้างหรือซ่อมแซมแต่ล่ะครั้งไม่ต่ำกว่า90,000,000บาทครับหมอ
แคปซิล แบบนี้ได้มาตรฐานสุดแล้วทั้งความหนาและความทนทานแต่กว่าจะบดอัดและลาดยางรองพื้นอันนั้นแล้วแต่ผู้รับเหมาจะมาตรฐานไหม
ตอนปูยางครั้งแรก จะตั้งความหนาเผื่อไว้ 25 % ของความหนาเมื่อบดอัดแล้วจะได้ความหนาตามข้อกำหนดคือ 5 เซ็น.
หมอ เขามีเจ้าหน้าที่เจาะถนนตรวจ ไม่ผ่านไม่ได้เงิน ผู้รับเหมาต้องแข่งขันกันประมูลงานก็สร้าง
จะให้เด็ดดวงกว่านี้ก็ไม่พ้นการผสมน้ำยางพาราร่วมกะยางมะตอยที่เราเคยทำเพื่อช่วยชาวสวนยาง หรือแปรรูปพลสติกเหลือทิ่งไปผสมยางมะตอยราดถนนเพื่อกำจัดขยะพลาสติก ที่เรายังไม่ทำนะครับ
รถปูยางคับแล้วเทอัดคับ
เขาควรเรียกว่า คอนเวอร์เย่อร์ = ชุดลำเรียง
สบายดีหมอนิค
สวัสดีตอนเย็นครับพี่ๆคนไทยทุกคน ขอบคุณที่เข้ามาให้กำลังใจผมนะคร้บ❤
ขอบคุณคลิปต้นฉบับ
th-cam.com/video/Myk-wHUB3Ow/w-d-xo.htmlsi=-BzNyM_S6QOGDosL
th-cam.com/video/8E95lzN9DFg/w-d-xo.html เด็กไทยคว้าเหรียญทองโดรนแปลอักษรที่โปแลนด์
สวัสดี ครับ doctor Nick ต้องไปเรียนวิธีใช้งานจากที่ญี่ปุ่นครับ วิศวกรโยธา❤❤❤❤😂😂❤❤❤❤...ตอนนี้คือขั้นตอนท้ายของการทำแล้ว .....
งบต่อ1กิโลเมตรประมาณ3ล้านบาครับ
ก่อนอื่นเขาต้องถมดินแล้วเอาปูนทาผสมกับดินพื้นถนนมก่อนแล้วอัดดินให้แน่นแล้วพอแน่นแล้ว แล้วก็เจาะนำตัวอย่างดินว่าแข็งได้ตามมาตรฐานพอผ่านแล้วเอายางมะตอยลงอัดตามที่เห็น
😊😊@@atthaponsanthima7236
ผมคนไทย เข้าใจความคิดของคนลาวที่ทำงานในไทย รึคนลาวที่นำเสนอเรื่องดีๆ เรื่องความเจริญในไทยเพราะอะไร ที่เขาทำแบบนั้นเพราะต้องการนำเสนอให้คนลาวในประเทศได้ตื่นตัว นำเสนอเพื่อให้หวังว่าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงในประเทศลาวให้เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น อยากให้คนลาว รัฐบาลลาวได้ตื่นตัว ว่าประเทศอื่นเขาพัฒนาไปไกล เขาอยากนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีในประเทศตัวเอง
มันคือ Asphalt concrete ครับ เป็นวัสดุคอมโพสิตที่นิยมใช้บนพื้นผิวถนน ลานจอดรถ สนามบิน และแกนหลักของเขื่อน ส่วนผสมแอสฟัลต์ประกอบด้วยแร่ธาตุ(หินคลุกและปูน)รวมตัวเกาะกันด้วยน้ำมันดิน (ยางมะตอย) ปูเป็นชั้น ๆ และบดอัดให้แน่น 🙂
ในแง่ของการก่อสร้าง ผมได้ยินผู้รับเหมาเขาคุยกัน สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ คุณภาพของวัสดุในการก่อสร้าง เช่นหินคลุกที่ไม่มีสิ่งเจอปน ไม่ผุ บางงานอยู่ไกลค่าใช้จ่ายสูง อาจจะคุยกันเพื่อลดสเปคลง แอสฟัลต์คุณภาพต่ำไม่กี่ปีจะแตกลายงา เป็นเม็ดข้าวโพด น้ำซึมลงด้านล่างทำให้ถนน ซอร์ฟหรืออ่อนตัวพังในที่สุด สิ่งที่ขาดไม่ได้เลย ระบบการตรวจสอบและควบคุมการก่อสร้างต้องแข็งแกร่งด้วย
มันต้องได้คุณภาพทุกชั้นทาง ตั้งแต่ชั้นดินคันทาง ชั้นรองพื้นทาง(ดินลูกรัง) ชั้นพื้นทาง(หินคลุก) และสุดท้ายชั้นผิวทาง(แอสฟัลท์ติก) อาจจะปูชั้นเดียวหรือสองชั้น ขึ้นอยู่กับปริมาณจราจร จะมีความหนาประมาณชั้นละ 5 ซม.
เพิ่มเติมนะครับ จากที่เห็นมาก่อนจะเป็น Asphalt concrete เมื่อก่อนถนนจะเทดินบดอัด ตามด้วยลงหินอัคนีเบอร์เล็ก บดอัดแล้วราดซ้ำด้วยยางมะตอยครับ ถนนยุคโบราณมีแค่นั้น 🙂
@@birdblueskyแต่ก็ทนมาก น่าจะคอรัปชั่นน้อย ถนนหน้าบ้านผมสร้างตั้งแต่ปี 2525 แทบจะไม่มีตรงไหนชำรุดเลย แต่พอมาเปลี่นยเป็น สี่เลนราดอย่าสวยแต่ไม่ทนปีสองปี หลุดร่อนเป็นแถบ เป็นหลุมเป็นบ่อ แป๊บเดียวก็ต้องมาซ่อมปะผุ
@@godfather7245 น่าจะขึ้นอยู่กับปริมาณรถที่วิ่งและน้ำหนักรถด้วยนะครับเท่าที่ทราบรอผู้รู้อีกที
คือการสร้างถนนที่ไทยนั้นเราพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ใช้เวลาสะสมมาหลายสิบปีผมเคยฟังคนแก่เล่าให้ฟังสมัยเป็นเด็กเมื่อก่อนวิศวะกรผู้คุมงานจะเป็นฟรั่งชาติต่างๆ แล้วแต่บริษัทนั้นจ้างมาเราก็เอาวิศวกรคนไทยเป็นเป็นผู้ช่วยเพื่อเรียนรู้เทคโนโลยีของเค้าจนตอนนี้เราไม่ต้องใช้วิศวกรต่างชาติถ้าแค่สร้างถนนหนทางต่าง ยกเว้นการสร้างรถไฟใต้ดิน รถไฟความเร็วสูง นี้ต้องจ้างเค้ามาเป็นที่ปรึกษา
อืมเราได้รับการถ่ายทอดจากวิศวกรฝรั่งนี่เอง ผมนึกว่าญี่ปุ่น
หมอครับผมเคยเห็นโรงพยาบาลหมอแล้วคือหมอครับสู้ๆนะครับ❤❤
สปป.ลาว คงยากที่จะทำให้ได้ทั่วประเทศแบบไทยล่ะนะหมอ ล่าสุดที่ลาวทำถนนลาดยางมะตอยได้แค่ 5 เดือน พังแล้วมันขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มากมาย แต่ทางฝั่งลาวก็รู้ๆกันอยู่ในเรื่องของการโกงกินและการคอรัปชั่น ผู้รับเหมาก็ไม่มีเครื่องจักรในการทำงานแบบไทยด้วย และการตรวจสอบ ตรวจรับ และการรับประกันของงาน ซึ่งทางลาวเหมือนจะไม่มีการรับประกันแบบไทยล่ะนะ ลองเทียบดูกับถนนที่ไทยไปทำให้ฝั่งลาวดูครับ ผ่านมา 3-4 ปี แล้วยังใช้งานได้ปกติดีอยู่เลยครับ
เราก็อยู่ในจังหวัดบุรีรัมย์
อำเภอพลับพลาชัยเป็นอำเภอเล็กๆแต่มีถนนสี่เลนสวยงาม ถนนวิ่งผ่านแต่ละหมู่บ้านลาดยางกว้างขวางสะดวกสบายในหมู่บ้านมีถนนคอนกรีตทุกซอย มีไฟส่องสว่างปลอดภัยดีด้วย
สวยจริงครับ วิ่งกระสัง-พลับพลาชัย-ประโคนชัย เนียนกริ้บ จนต้องชมตลอดทางเลย
มันคือปลายเหตุครับการทำถนนดี ๆ ต้นเหตุคือ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรบุคคล สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้ และเป็นสิ่งแรกเลยที่ต้องพัฒนาก่อนอย่างอื่น ครับผม
ได้งบไปแล้วสร้างไม่ได้มาตรฐานเดียวก็โดน.ประชาชนเล่นงานเอา.จะมากินแบบหมูๆไม่ได้.😊😊😊
ผมเป็นคนไทย คนนึง อยากให้หมอ มาอยู่ประเทศไทย แต่คงเป็นไปได้ยาก ผมก็ขอเป็นกำลังใจให้ ทุกสถานการณ์การปฎิบัติหน้าที่ครับหมอ 👏😉
ตรงที่ใส่วัสดุปูยางมะตอยเรียกว่า Hopper(ฮอปเปอร์) ตรงที่ลำเลียงเรียกว่า Conveyor(คอนเวเยอร์) ส่งไปที่ Screw Conveyor แล้วเข้าชุดรีดบดอัดลงพื้น
ทางดีไม่เสียเวลา สะดวกสบาย ช่วงล่างแหนบโช้คอัพจะได้ทนทานค่าอะไหล่เปลี่ยนทีหน้ามืด ลดฝุ่นระบบหายใจดี
หมอครับ จะมียิ่งไปกว่านี้ เมื่อผสมยางมะตอยด้วยน้ำยางที่กรีดจากต้นยางพาราครับ
ประเทศไทยใช้เครื่องจักรกลทำงานมากขึ้น ใช้แรงงานน้อยลง ต่อไปข้างหน้าก็ไม่แน่ อาจจะใช้เครื่องทำงานเกือบทั้งหมดแน่ๆ
การคมนาคมสะดวกสบาย เป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเทศค่ะ
ผมเคยเป็นลูกจ้างของกรมทางหลวงอยู่ช่วงหนึ่ง เขตที่ผมสังกัดได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศออสเตรเลียทั้งระบบ เครื่องจักรบางคันอายุเกิน40ปียังใช้ได้ปรกติ เราสะสมความรู้มานานส่งต่อรุ่นสู่รุ่นในองกรณ์ทำให้เรามีวันนี้
ถนนที่ไทยยิ่งถ้าเป็นสายเมนหลักนะคะ ยิ่งแข็งแรงหมอ
ขอให้กำลังใจคุณหมอ และให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญ และขอให้มีทัศนะคติที่ดี ควรpro ประเทศประชาธิปไตย เป็นแบบอย่าง พร่อมกับพัฒนาด้านจิตใจไปด้วย
ความแข็งแรงของถนน มีหลายปัจจัยครับ บดดินให้แน่ บดยางให้แน่ที่สำคัญ ความหนาของถนน วัสดุที่ใช้ และต้องมีไหล่ทางด้วยครับ เห็นภาพถนนเพื่อนบ้าน เห็นยางมะตอยบางเกิน เลยทำให้ยางหลุด สังเกตุด้วยตาน่าจะหนาแค่ 1-2 ซม.เองมั่งครับ แบบนี้ถนนไม่ทนครับ
คุณหมอลองดูรายการ เก่งจริงชิงค่าเทอม ครับสนุกด้วยได้ความรู้ด้วยครับ
ถนนเป็นไงไม่รู้ รู้แต่ว่า หมอน่ารัก ❤ โอเคร แต่งค่ะ 🥰
.แอสฟัลท์ติก คอลกรีต..ผสมมาจากแพล้นท์มิก..ความร้อน200 องศาขึ้นไป..รถบดต้องใช้น้ำเลี้ยงล้อ พอประมาณ เพื่อไม่ให้ยางติดล้อรถบด..รถบดต้องบด 2 ขอบแล้วค่อยบดตรงกลาง ไม่งั้นมันจะ สไล้ด์ออกข้าง จะไม่ได้ความหนาตามสเป็ค.
..รถบดล้อยาง บดนวดตั้งแต่ยางร้อน บดนวดไปจนกว่ายางจะเย็น ประมาณ3-4 ชั่วโมง
สบายดี คุณเป็นยูทูปเปอร์ที่ผมสนับสนุน คอนเทนต์ที่ทำดีมากๆครับ เป็นการเป็นหูเปิดตาคนลาวได้เห็นโลกใหม่ๆ เพื่อนำกลับไปคิดไปเปรียบเทียบว่าที่ลาวเจริญถึงไหนแล้ว คอนเทนต์แนวๆไทยด่าลาว ลาวด่าไทย เป็นคอนเทนต์ไร้สาระ ไม่มีประโยชน์ มีแต่เสียทั้ง2ฝ่าย อย่าหาทำ!!! ให้กำลังใจครับ
สวัสดีครับคุณหม อนิก วิศวกรรมการก่อสร้างของไทยส่วนใหญ่จะใช้มาตรฐานสากล ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สถาปัตย์ วัสดุ อุปกรณ์ ทุกอย่างต้องได้มาตรฐานครับ โดยเฉพาะการสร้างถนนก็จะใช้การบด การใช้หิน ใช้ดิน ความหนาของพื้นผิวลงราดยางความหนาจะต้องได้มาตรฐานจริงๆเพราะจะมีเจ้าหน้าที่มาตรวจสอบความหนาของตัวลาดยางถ้าไม่ได้ความหนาตามเสป๊กก็จะไม่ผ่าน มีการตรวจสอบทุกขั้นตอนของการก่ อสร้าง
การสร้างถนนในประเทศไทยส่วนมากจะทำแบบ2ชั้น ชั้นล่างเทเป็นคอนกรีตและชั้นบนจะลาดหิน+ยางมะตอยหนา10เซ็นต์
😂ที่ลาว เอาหินโลยๆ
เอาน้ำยางเทลาด จบ รับเงิน มันง่ายเกิน🤣🤣🤣
รถปูยางมีสามชนิดครับ
_รถสิบล้อบรรทุกยางมาเทใส่รถปูยาง
_รถต้มยางปูและรีดยาง(คันกลาง)
_รถบดให้ยางแน่นเพือความคงทนถาวรของถนน(ล้อเหล็ก/ล้อยาง)❤❤❤❤ครับคุณหมอตอนนี้ที่หมู่บ้านผมกำลังทำถนนลาดยางไปไร่ไปนาอยู่ครับ
ครับแต่เหนือจรดไต้ตะวันออกเสร็จสมบูรณ์เกือบ100%พะนะ
ถนนเส้นหลัก
เส้นรอง
ในเมือง
ในหมู่บ้าน
ไปไร่นา-ป่าสวน
ถ้าเรื่องการทำถนนหนทางอาจดูดีมีเทคโนโลยีที่ดี แต่เชื่อเถอะว่าไม่ได้มาตราฐานหรอกเพราะลาดบาง ใช้งานไม่นานก็ต้องซ่อม ผมเจอมาเยอะแล้ว ตอนทำดูดีใช้งานจริงไม่ได้นาน
การมีถนน หนทางดี สิเฮ็ดให้ความเป็นอยู่ดีขึ้น เดินทาง บ่เหมื่อย สุขภาดี บ่อต้อง ดมขี้ฝุ่น รถบ่อพังไว
ยางมะตอยจะถูกผสมกับหินคลุกด้วยความร้อนที่โรงงานผสมโดยเฉพาะ แล้วนำใส่รถบรรทุกมาส่งหน้างาน
การทำถนนมาตรฐานจะมีชั้นของวัสดุแต่ละชั้นแยกดังนี้
1. ชั้นดินหรือทรายถมความหนาประมาณ 30-50 เซ็นติเมตร
2. ชั้นลูกรังความหนาประมาณ 25-30 เซ็นติเมตร
3. ชั้นหินคลุกความหนา 20-25 เซ็นติเมตร
4. ชั้นผิวทาง(แอสฟัลติกส์คนกรีต(ยางมะตอย)) ชั้นละ 5 เซ็นติเมตร
หรือผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็กจะมีความหนา 20 เซ็นติเมตร
ถนนดี รถที่ใช้งานก็มีอายุการใช้งานยาวนานมากขึ้นและรถก็ไม่สกปรกขับขี่ก็สวยงาม
ตอนนี้ถนนประเทศไทยจาก 2 เลนเริ่มขยายเป็น 4 เลนแล้วครับ
บางที่เป็นคอนกรีตหนามากๆๆรถบรรทุกสิบล้อวิ่งถนนไม่มีพังแน่นอนครับรับประกัน
ผิวถนนที่ลาดยางอยู่แล้วพอใช้ๆไป ชำรุดเป็นหลุมไม่เรียบ เขาจะใช้รถขูดผิวถนนเดิมทิ้ง แล้วลาดยางใหม่ตามในคลิป เดี๋ยวนี้แห้งไวมาก ทำกลางคืน รุ่งขึ้นรถวิ่งได้
ถ้าจำไม่ผิดเห็นอาทิตย์ก่อนญี่ปุ่นก็บริจาครถปูยางมะตอยกับรถบดอัดให้สปป.ลาวนะยี่ห้อsakai ถ้าผมจำไม่ผิดสมัยก่อน20-30ปีที่แล้วถนนยางมะตอยปูหนากว่านี้อีกนะเกือบๆคืบอ่ะ แต่สมัยนี้บางกว่าสมัยก่อนมากอาจจะเพราะมีเทคนิคมีส่วนผสมยางมะตอยที่ดีกว่าเดิมก้ได้ ทำให้รับน้ำหนักได้มากและทนทุกสภาพอากาศ ซึ่งสภาพอากาศและเทคนิคในการผสมยางมะตอยของแต่ละประเทศก็จะใช้แตกต่างกันไป
รถคันนั้นเวียดนามเอาไปใช้เจ๊งไปนานแล้วมั้ง..ของดีๆที่ชาวโลกบริจาคให้เค้าใช้อยู่ลาวไม่นานหรอก
เวียนเอาไปแล้วครับ
เพิ่งเข้ามาติดตาม อยากให้ทำ Q&A คืออยากรู้จักมากกว่านี้
สวัสดีค่ะ คุณหมอ🎉
สวัสดีคะหมอนิคจากfcขอนแก่น
ไทยรวยจริง ถนนเก่าเป็นปูนคอนกรีตผิวถนนยังดี แต่ยังมีเงินมาลาดยางมะตอยเพิ่มความหนาถนนขึ้นอีก รับประกันใช้อีก10กว่าปีไม่มีได้ซ่อม
เพราะว่าถนนเปรียบเหมือนเส้นเลือดใหญ่ ถนนดีการคมนาคมดีประเทศก็พัฒนาทั้งเศรษฐกิจและสังคม
มีรถขูด เก็บยางเก่า ออกก่อน ก็มี. ต้องขูดของเก่า ออก ก่อน เสมอ
หากเป็นคอนกรีตในชุมชน 15. เซนต์ หากเป็นถนนสี่เลน หนา30 เซนต์ ครับ คุณหมอนิค
บางครั้งถนนยังไม่ชำรุด แต่งบประมาณลงมาอบต.ก็ต้องทำเพราะว่สจะได้กินงบ😁
สวัสดีจ้า ตามชมให้กำลัง❤จ้า🇹🇭
ถนนดีทำให้ประหยัดน้ำมันด้วยครับ
บุรีรัมย์จังหวัดขเจ้า ถนนงามงามบุรีรัมย์
มียากประเทศเจ้าคอรัปชั่นหลาย
กว่าจะพัฒนามาได้แบบนี้ ก็ผ่านสิ่งที่ไม่ดีมามากมาย แต่ก่อนถนนลาดยางพังเร็วมาก อาจจะเป็นเพราะสร้างถนนไม่มาตรฐาน ...เป็นหลุมเป็นบ่อเร็ว...หรือไม่ก็พวกรถบรรทุกหนักเกินอัตรา...
ดีใจกับ จ.บุรีรัมย์ผู้นำเขารักบ้านเขา ผมอยู่ปราจีนฯโคตรอนุรักษ์ของเก่ามากเลยสู้บุรีรัมย์ไม่ได้ ส.ส.พรรคเดียวกัน
ทำถนนดีแค่ไหน ก็ต้องจำกัดน้ำหนักรถที่บรรทุกด้วย ถนนจะได้ใช้นานๆ ไม่สึกกร่อนเร็วเกินไป
คนไทยเรียกแบบง่ายๆ ก็รถปูยาง แหละ แอดมิน
ลาวมีโรงกลั่นน้ำมันกี่แห่งครับ แต่ดูข่าวว่าจีนร่วมกับลาวเปิดใหม่อีกหนึ่งแห่งหวังว่าจะมียางมะตอยพอเพียงต่อการสร้างถนน เพราะสิ่งที่เหลือสุดท้ายจากการกลั่นน้ำมันคือยางมะตอย
รถที่บรรทุกที่บรรทุกมาคือ Asphalt ผสมหินเกร็ด(หินบดขนาดเล็ก) ที่ผสมมาจากโรงงานแล้ว มาถึงก็ยกดั๊มลงรถอัดให้แน่น แล้วตามด้วยรถบดล้อเหล็ก รีดด้วยรถบดล้อยางเก็บรายละเอียด
จริงๆแล้วถนนในไทยมาตรฐานยังธรรมดามากครับ มาตรฐานสูงจริงๆต้องญี่ปุ่น จีนฯ #รู้ไหมถนนของญี่ปุ่นก่อนจะลาดยางเค้าเทคอนกรีตข้างไต้ลึกเป็นเมตรนะ ( และนั่นเป็นเหตุผลว่าทำไมถนนเมืองนอกมันถึงเรียบเสมอกัน ไม่มีชำรุดและมีหลุมมีบ่อง่าย )ดูถนนเมืองไทยสิ่ มองเผินๆอาจจะดูเรียบดูมาตรฐานนะ แต่พอลงไปขับจริงๆแล้วจะรู้ว่าขับไปสักพักมันจะเป็นคลื่นเป็นเนิน
สบายดีหมอนิค ความหนา 10 เซ็นนี่คือปูมับถนนเก่าเพื่อปรับปรุงผิวถนนจราจร ถ้าเฮ็ดใหม่สิหนากว่านี้คับ
เขาเรียกรถบาร์เบอร์กรีนหรืิอรถปูยางมะตอย(อัสฟัลส์)จะเกลี่ยและปรับระดับไปในตัวทนความร้อนได้เกิน 200 องศาเซลเซียสเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ในเอเชียบริษัทรับทำถนนไปหมดทั้ง เวียดนาม มาเลเซีย ติมอร์ บังคลาเทศ พม่า ด้วยมาตรฐานสากลที่ทั่วโลกยอมรับ
ความหนาของถนนต้องเป็นไปตามกรมทางหลวงกำหนดคือปูครั้งแรกหนา 5 cm. ปูครั้งที่สองหนา 5 cm.สเปคหลวง
สู้ๆนะคุณหมอ❤❤😊
มันจะเป็นถนนคอนกรีต แล้วมาปูยางทับ10 เซนติเมตร เพื่อให้รถวิ่งนิ่ม และปลอดภัย
ปูยางแบบนี้ ทำจากถนนลาดยางเดิมที่พัง ภาษาช่างเรียก รีไซกลิ้ง
ภาษีที่ไทยเก็บได้มากที่สุดคือภาษีมูลค่าเพิ่มหรือvat7% ทุกคนมีส่วนร่วมเสียภาษีนี้ ซื้อสินค้าอุปโภรบริโภคทุกอย่างรัฐบวกภาษีอยูในราคาสินค้านั้นแล้ว ปีๆหนึงเก็บได้นับล้านล้านบาท แล้วเอาภาษีนี้ส่งไปยังหน่วยงานที่พัฒนาประเทศและนำมาเป็นสวัสดิการให้คนในประเทศทุกๆปี
เขาเรียก เพร็ปเวอร์ เครื่องปู แอสฟัลท์คอนกรีต
ร้อนๆ ขนาดน้ำเดือด - ถนนไป่น๊า ก็ทำทำแบบเนี๊ย
หากประเทศลาวพัฒนาเศษฐกิจให้ดี..เก็บภาษีได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย..ก็จะมีต้นทุนไปสร้างสาธารณูปโภคให้ประชาชน..ถึงจะเป็นคอมมิวนิตส์ก็ทำใด้ มีประเทศอื่นๆทำเป็นตัวอย่างให้เห็นเยอะแยะ..เว้นแต่ว่าจะเอาจริงกันรึเปล่า
ที่ลาวมันคือการคอรัปชันไม่ได้มาตรฐานแต่รับเงินเต็ม ถนนพังชั่งมัน
บริษัทไทยรับทำถนนทั่วโลกนะหมอ ในอินโด,อินเดีย,มาเล,พม่า,เวียตนาม บริษัทไทยไปทำมานานแล้วนะ
ความเจริญมาจาก ลุงตู่ คิดถึงลุงตู่❤❤
ถนนไม่ดีก็เยอะอยู่นะคะ เป็นหลุมเป็นบ่อ สร้างไม่ถึงปีเป็นหลุมแล้วก็มี ซ่อมกันอยู่นั่นแหละ
ทางขึ้นเขาแถวบ้านตอนเขาลาดยางทำได้เร็วเสร็จเร็วอยู่นะ ระยะทางขึ้นเขา7กิโลเมตร ทางคดเคี้ยวตลอดเส้นทางเขาลาดยางไม่กี่วันก็เสร็จ แต่จะช้าตอนเขาขยายทางให้กว้างขึ้นแล้วอัดดินให้แน่นเทหินคลุกแล้วอัดบดให้แน่นอีก เนื่องจากทางขึ้นเขามันคดเคี้ยวตลอดเส้นทางเลยทำให้การทำงานมันยากขึ้นไปอีก
ไทยมีการปกครองอยู่ 3 ประเภท 1 พิเศษ คือส่วนกลางเป็นฝ่ายนโยบายคือกระทรวง ทบวงกรมต่างๆ ส่วนภูมิภาค ก็มี จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ส่วนท้องถิ่น ก็เป็นเทศบาล เป็นอบต. และการปกครองพิเศษคือ กรุงเทพ และเมืองพัทยา แต่ละส่วนก็จะมีเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง ประเภทที่เป็นหมู่บ้าน ตำบล เทศบาล อบต. กรุงเทพ เมืองพัทยา ประชา่ชนจะเลือกบุคคลและกลุ่มบุคคลมาทำหน้าที่บริหารงานพัฒนาชุมชนของตนเอง หมู่บ้านก็เลือกผู้ใหญ่บ้าน ตำบลก็มีกำนันที่มาจากผู้ใหญ่บ้านในตำบลนั้นๆเลือกกันเอง ส่วนเทศบาล อบต. เมืองพัทยา ก็เลือกนายกเทศมนตรี นายก อบต. นายกเมืองพัทยา และกรุงเทพ ก็เลือก ผู้ว่า พวกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนก็ไปหาทีมงานจำนวนและคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดมาช่วยกันบริหารงาน กลุ่มนี้จะมีวาระการดำรงตำแหน่ง วาระละ 4 ปี ส่วนกำนัน ผู้ใหญ่บ้านจะอยู่จนอายุ 60 ปี ตำแหน่งนอกเหนือจากนี้จะเป็นข้าราชการประจำ ทำงานจนเกษียณอายุราชการ 60 ปี จะเห็นว่าในหน่วยงานที่อยู่กับพื้นที่ชุมชนของไทยจะมีบุคลากรทั้งเป็นข้าราชการประจำและ มาจากการเลือกตั้ง นี่คือสรุปคร่าวๆพอเข้าใจ ให้คุณหมอได้ศึกษาดู เพราะเห็นคุณหมอสนใจเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับไทย
ขั้นตอนการทำถนนมาตรฐานที่ปท.ไทยทำคือ
1.เตรียมพื้นที่ ทำความสะอาดและแผ้วถางสิ่งกีดขวางทั้งหมด
2.ถมดินและปรับแต่งผิวหน้าดิน(ใช้รถเกรต(ปรับพื้นที่)/ตัก-ไถ-พรวน/และใช้รถอัดแรงบดพื้นถนนให้เรียบแน่น
3.วางบล็อคและตะแกรงเหล็กรองพื้นแล้วเทคอนกรีต(สเตรนต์ความแข็งแรงระดับสูง)หนา10เซนติเมตร
4.จากข้อ3หลังจากใช้สักหนึ่งระยะ(2ปีโดยประมาณ) จะกลับมาเคลียร์พื้นที่(ทำความสะอาด)ผิวคอนกรีตอีกรอบ
5.จากข้อ4เมื่อปัดฝุ่นและเคลียร์พื้นที่ในข้อ4เสร็จแล้วจะราดยางแอตฟั้นท์(หินคลุกน้ำมันดิน)หรือยางมะตอยแล้วบดอัดแน่น2ชั้นๆละ5เซนติเมตร รวมหนา10เซนติเมตร
การราดยางแอตฟั้นท์เพื่อให้พื้นผิวเรียบแน่นใช้งานทนทาน และที่สำคัญทำให้การเกาะตัวของล้อยางรถยนต์กระชับและนุ่มเบายิ่งขึ้นฯ
ถูกต้องคุณหมอ
ถนนบางที่เขาจะเทคอนกรีตก่อนแล้วค่อยปูยางมะตอยทับทีหลัง คับหมอ
ปัจจุบันถนนสายหลักตามแยกจุดตัดที่รถใหญ่วิ่งเยอะๆ จะทำแบบบดอัดหนาๆ เทคอนกรีต แล้วตามด้วยราดยางะตอย เพราะถ้าไม่ทำหลายชั้นรถใหญ่เบรกย้ำๆ ลงบ่อยๆ ถนนจะทรุดเป็นร่องคลื่นด้วยแรงกดของรถหนัก ถนนพังเร็วมากครับ
เคยคุยกับคนที่เคยไปทำถนนในลาว ทำเสร็จเอาเครื่องจักรออกจากลาวไม่ได้ โดนยึด บอกว่าเป็นกฏหมายเขา เลยไม่มีผู้รับเหมากล้าข้ามไปทำอีก
คุณหมอย้ายมาอยู่ประเทศไทยเลย จะได้ทำคอนเทนเต็มที่
คนแนะนำไม่รู้สี่รู้แปดจะให้ขามาอยู่ทำอาชีพอะไร
มึงรู้มั้ยคำว่า ไม่รู้สี่ไม่รู้แปด ประโยคนี้มันคืออะไร
ใครจะรับเลี้ยงดู มาทำงานก็ไม่กล้ามากลัวคนลาวเรียกว่าขี้ข้า
สวัสดีค่ะคุณหมอนิค
ดั้มเทลงกระบะรถรีดหน้ายางเลยกระบะรองรับอยู่
รถปูก็จะเดินหน้าไปพร้อม
กับรถดั้มเลย
ไม่ใช่แค่ผิวทาง ฐานทางที่อยู่ใต้ผิวทางก็มีมึความสำคัญมากเช่นกัน ผิวยางจะทำให้ขับนุ่มนวล นั่งสบายและยังมีทำหน้าที่ป้องกันฐานทางให้แห้งเมื่อมีฝนตก ถนนก็จะมีอายุการใช้งานได้นาน
เป็นกำลังใจให้คุณหมอครับ🙏😊🙏
แมนหมอ.บ่อได้เปรียบเทียบ.เพียงแต่ดุตัวอย่างใว้.อะไรที่ดีก้นำมาใช้แบบ.ไปปรับปรุ่งใช้งาน.
ก่อนที่จะปูยางก็เป็นถนนซีเมนต์20 เซ็นแล้วนะ ปูยางรถวิ่งจะไม่กระโดด
เพิ่งเข้ามาดู...ขอกดติดตามนะค่ะ
FCจากไทยแลนด์สบายดี❤❤❤
ถนนที่เมืองไทย จะมีอายุ สมมุติทางลาดยางอายุ 10ปี ทุกๆ10 ก็จะมีการทำใหม่ จะสังเกตุถนนเดิมก็ยังดีอยู่ แต่ถึงระยะของถนนเส้นนี้ ก็ต้องมีการปูยางทับไปเื่อยๆทุกๆ 10ปี ถนนเมืองไทยถึงหนาขึ้น และแข็วแรงขึ้นเรื่อยๆ ถึงถนนไม่พัง แต่พอถึงเวลา งบมา ก็ตั้งเททับไปเรื่อยๆ
การราดยางผสมหินบดอัด มาตราฐานขั้นต่ำๆต้องความหนา ประมาณ 5 cm. ขึ้นไป ( ควร อยู่ระหว่าง 10 - 15 cm. )
นี่ยังเป็นรุ่นเล็ก ๆ นะครับ รุ่นใหญ่จะเทรอบเดียวเลย
มิคยางมะตอยกับหินให้เข้ากันอุณหภูมิให้ได้ 100 องศาแล้วก็ใส่รถเอามาเทพี่เห็นขึ้นรถเวฟยางมะตอย
ถนนไปไร่ไปนา ถนนในหมู่บ้าน เป็นหน้าที่ ของ อบต.องค์การบริหาร ส่วนตำบล (แยกย่อยออกมาจากอำเภอ)
ถนนของกรมทางหลวงจะหนาที่10เซนฯแต่ถ้าเป็นทางหลวงชนบทจะหนาแค่5เซนฯ ตามมาตรฐาน
เขาเรียกว่ารถอัดยางมะตอย ส่วนมากที่ประเทศไทยเขาจะปูยางมะตอย 2 ชั้นเป็นอย่างน้อย
ของร้องท่านผู้เกี่ยวข้องกรุณาเหลือเส้นทางที่ลําบากไว้บ้างตามป่าเขา เพื่อให้ขาลุยมีเส้นทางไว้ขับออฟโรด ขอบคุณครับ
ปชชไทยสว่นมากยังไม่พอแค่นี้หรอก ทางเข้าป่ายังทำไมถึง แต่ไม่ต้องราดยาง แค่ใช้รถถากหน้าดิน ไปให้ทางเดินสุดป่า ทุกป่า คนที่เข้าไปดูแลป่า ปลูกป่า หาของป่า เวลาไฟไม้ จะได้สบาย .....
ลาดยาง ไม่ใช่ ราดยาง
เป็นการปูพื้นใหม่ทับของเก่า เพื่อปรับปรุงผิวถนน
งบประมาณที่ใช้ในการสร้างหรือซ่อมแซมแต่ล่ะครั้งไม่ต่ำกว่า90,000,000บาทครับหมอ
แคปซิล แบบนี้ได้มาตรฐานสุดแล้วทั้งความหนาและความทนทานแต่กว่าจะบดอัดและลาดยางรองพื้นอันนั้นแล้วแต่ผู้รับเหมาจะมาตรฐานไหม
ตอนปูยางครั้งแรก จะตั้งความหนาเผื่อไว้ 25 % ของความหนาเมื่อบดอัดแล้วจะได้ความหนาตามข้อกำหนดคือ 5 เซ็น.
หมอ เขามีเจ้าหน้าที่เจาะถนนตรวจ ไม่ผ่านไม่ได้เงิน ผู้รับเหมาต้องแข่งขันกันประมูลงานก็สร้าง
จะให้เด็ดดวงกว่านี้ก็ไม่พ้นการผสมน้ำยางพาราร่วมกะยางมะตอยที่เราเคยทำเพื่อช่วยชาวสวนยาง หรือแปรรูปพลสติกเหลือทิ่งไปผสมยางมะตอยราดถนนเพื่อกำจัดขยะพลาสติก ที่เรายังไม่ทำนะครับ
รถปูยางคับแล้วเทอัดคับ
เขาควรเรียกว่า คอนเวอร์เย่อร์ = ชุดลำเรียง
สบายดีหมอนิค