EP.13 การควบคุมมอเตอร์แบบ star-delta ด้วย PLC

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 10 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 24

  • @stid2010
    @stid2010 ปีที่แล้ว +1

    🥰😍🤩ขอบคุณครับผม

  • @ไก่ทอดพริกแห้ง
    @ไก่ทอดพริกแห้ง ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากครับ ที่ทำคลิปวีดีโอสอน เป็นประโยชน์โยชน์มากครับ🙏🙏

  • @saichonrittikraithirathorn7417
    @saichonrittikraithirathorn7417 3 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากครับ มีประโยชน์มาก .. แล้วถ้าผมอยากให้มันถอยหลังได้ด้วย ควรทำอย่างไรครับ

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  3 หลายเดือนก่อน

      เพิ่มแมกเนติกเข้าไปช่วยในการกลับทาลงหมุนครับ

  • @จิระวัฒน์วีระวงศ์

    ขอบคุณมากครับอาจารย์🙏

  • @ดาริกาเงินม่วง-ฒ4ต

    สอบถามอาจารย์ครับ สตาร์กับเดลต้า ทำงานแตกต่างกันอย่างไรครับ

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  ปีที่แล้ว

      มองได้หลายมิติครับ (ขอยกตัวอย่างสัก 3 มิติ)
      1. ถ้าดูที่แรงดันไฟฟ้าของสายและเฟส การต่อแบบสตาร์จะมีแรงดันไฟฟ้าของสายเท่ากับรากที่สาม (√3)เท่าของแรงดันเฟส (พูดง่ายๆคือแรงดันลดลงแน่นอนว่ากระแสก็ต้องลดตามไปด้วย) แต่หากต่อแบบเดลต้า จะมีสายแรงดันไฟฟ้าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าเฟส (หากแรงดันสูงกระแสก็จะสูงตามไปด้วย)
      2. หากดูที่ตัวมอเตอร์ จะมีเนมเพลทบอกครับว่าให้ต่อแบบใดด้วยแรงดันที่เท่าไร (ต้องต่อตามที่เนมเพลทบอกนะครับ เพราะผู้ผลิตเข้าผลิตมาแบบนั้น)
      3. หากจะดูที่ความเร็ว การต่อแบบสตาร์จะมีความเร็วของมอเตอร์ช้าเมื่อได้รับแรงดัน 1 / √3 (ทำให้เกิดความร้อนสะสม) ส่วนการต่อแบบเดลต้าความเร็วของมอเตอร์จะสูงเนื่องจากแต่ละเฟสจะได้รับแรงดันไฟฟ้ารวม
      ดังนั้นหากเราต้องการควบคุมมอเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ ตั้งแต่ 7.5KW ขึ้นไปควรต่อแบบสตาร์และเดลต้า โดยให้สตาร์ทแบบสตาร์เพราะจะได้ลดกระแสไฟฟ้าช่วงที่สตาร์ท (ซึ่งหากไม่ลดกระแสก็จะทำให้ระบบเกิดไฟกระชากหรือไฟตกได้) และรันแบบเดลต้า เพื่อรักษาให้ได้ความเร็วที่คงที่

    • @ดาริกาเงินม่วง-ฒ4ต
      @ดาริกาเงินม่วง-ฒ4ต ปีที่แล้ว +1

      @@Multi-SkilledforAutomation ขอบคุณครับอาจารย์

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ

  • @jamezzz2325
    @jamezzz2325 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากครับอาจารย์ผมเริ่มเข้าใจplcเพราะอาจารย์เลยครับ

  • @thanakornstudio4074
    @thanakornstudio4074 ปีที่แล้ว

    อาจารย์​ครับ.. ถ้าเขียนแลดเดอรใช้อินพุตx0 เปิดyoกับy1ได้ไหมครับเหมือนมองภาพจากไดอะแกรมแล้วมาประยุกเป็นแลดเดอรครับ

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  ปีที่แล้ว +1

      ได้ครับ...แต่เขียนไทม์มิ่งไดอะแกรมให้ถูกนะครับ กรณีนี้เป็น y0 กะ y2 ก่อนนะครับ ...การเขียนแลดเดอร์ขึ้นอยู่กับความถนัดจองแต่ละคนเลยครับ

    • @thanakornstudio4074
      @thanakornstudio4074 ปีที่แล้ว

      @@Multi-SkilledforAutomation ขอบคุณมากครับ... ผมไล่ดุคลิปอาจารย์ตั้งแต่คลิปแรกตอนนี้ดุถึงคำสั่งsetแล้วครับเข้าใจเพราะคลิปอาจารย์​เลยครับยิ่งเลขฐานอาจารย์​อธิบายละเอียดมากครับเข้าใจง่ายคับ

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  ปีที่แล้ว

      ยินดีครับ...และขอบคุณสำหรับคำติชมครับ

  • @สมพงษ์กวีรติยุทธ์

    มัโอกาศที่ สตาร์กับเอดลต้าทำงานพร้อมกันไหมครับ

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  ปีที่แล้ว

      มีโอกาสครับ....ทั้งจากคนและอุปกรณ์ครับ กรณีที่เป็นคน ก็เกิดจากเขียนโปรแกรมผิดหรือเอามือไปกดให้แม๊คทำงานพร้อมกัน หรือหากเป็นที่อุปกรณ์ก็อาจจะเกิดจากการสปาร์คของหน้าสัมผัสทำให้หน้าสัมผัสติดกันก็อาจจะทำให้แม๊คทำงานพร้อมกันได้ครับ จะให้ดีก็อาจจะเอาหน้าสัมผัสที่เป็น NC ไปอินเตอร์ล๊อคกันละกันครับ ไม่ให้สตาร์และเดลต้าทำงานพร้อมกัน

    • @จิระวัฒน์วีระวงศ์
      @จิระวัฒน์วีระวงศ์ 2 หลายเดือนก่อน +1

      ​@@Multi-SkilledforAutomationอินเตอร์ในplc หรือวายริ่งสายอินเติร์ล็อคครับอาจารย์

    • @Multi-SkilledforAutomation
      @Multi-SkilledforAutomation  2 หลายเดือนก่อน +1

      ปลอดภัยก็วายริ่งครับ

  • @miniturtle2685
    @miniturtle2685 3 หลายเดือนก่อน +1

    มีคำสั่งที่สั่งมอเตอร์วิ่งตามระยะทางไหมครับ