พม่ากลองยาว (Cover by เจ้าแม่ดนตรีเหาะ) | Mini BAKA music award 2024

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 21 ต.ค. 2024
  • คณะผู้จัดทำ
    👉🏻 นางสาวภัสสร หีบทอง || คณะแพทยศาสตร์ || มือระนาด
    👉🏻 นางสาวอติกานต์ ชุติมากุล || คณะแพทยศาสตร์ || มือฉิ่ง
    👉🏻 นาวสาวอู่อุขวัญ เจริญกุล || คณะแพทยศาสตร์ || มือกลองยาว
    ______________________________________________________________________
    โดยการเล่นดนตรีไทยมีข้อดีหลายประการ ดังต่อไปนี้
    🚩 ช่วยเสริมสร้างสมาธิ: การเรียนรู้และเล่นดนตรีช่วยพัฒนาความตั้งใจและสมาธิให้กับผู้เล่น
    🚩 ช่วยพัฒนาทักษะการฟัง: ช่วยให้มีการฟังที่ละเอียดและเข้าใจเสียงต่างๆ ได้ดีขึ้น
    🚩 เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม: การเล่นดนตรีไทยเป็นการส่งเสริมและรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
    🚩 สร้างสรรค์ความคิด: ดนตรีช่วยกระตุ้นจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
    🚩 ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์: การเล่นดนตรีร่วมกับผู้อื่นช่วยสร้างความสัมพันธ์และการทำงานเป็นทีม
    🚩 ช่วยให้ผ่อนคลาย: ดนตรีสามารถช่วยบรรเทาความเครียดและส่งเสริมความสุขได้
    🚩 ช่วยพัฒนาทักษะทางกาย: การเล่นเครื่องดนตรีช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวที่ดี

ความคิดเห็น • 6

  • @pirunya9147
    @pirunya9147 วันที่ผ่านมา

    เด็กไทยยุคใหม่ รักษาวัฒนธรรม เยี่ยมคะ

  • @RassaneeCharoenkul
    @RassaneeCharoenkul 3 วันที่ผ่านมา

    ดีจังค่ะ​ เด็กไทยรักดนตรีไทย

  • @nattanatta6733
    @nattanatta6733 2 วันที่ผ่านมา

    เก่งมากค่ะ😊😊😊

  • @preecha5701
    @preecha5701 3 วันที่ผ่านมา

    ชอบมาก ๆๆๆ ที่คนรุ่นใหม่ เล่นดนตรีไทย.

  • @ราตรีกิ้มเฉี้ยง
    @ราตรีกิ้มเฉี้ยง 2 วันที่ผ่านมา

    เก่งคร่า

  • @Official-yi5hb
    @Official-yi5hb 2 วันที่ผ่านมา

    ประวัติกลองยาว: กลองยาวได้แบบอย่างมากจากพม่า ในสมัยกรุงธนบุรี หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยที่ไทยกับพม่ากำลังทำสงครามกัน เวลาพักรบ พวกทหารพม่าก็เล่น "กลองยาว" กันสนุกสนาน พวกชาวไทยได้เห็นก็จำแบบอย่างมาเล่นบ้าง แต่บางท่านก็เล่าว่า กลองยาวของพม่าแบบนี้ มีชาวพม่าพวกหนึ่งนำเข้ามาเล่นในงานที่มีกระบวนแห่ เช่น บวชนาค ทอดกฐิน เป็นต้น และนิยมเล่นกันเป็นที่รื่นเริง สนุกสนานในเทศกาลสงกรานต์ และเล่นกันแพร่หลายไปแทบทุกหัวบ้านหัวเมือง วงหนึ่งๆ จะใช้กลองยาวหลายลูกก็ได้ เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงร่วม มี ฉิ่ง, ฉาบเล็ก, กรับ, โหม่ง เรียกการเล่นชนิดนี้ว่า "เถิดเทิง" หรือ "เทิงกลองยาว" ที่เรียกเช่นนี้เข้าใจว่าเรียกตามเสียงกลองที่ตีและตามรูปลักษณะกลองยาว