เปลี่ยนดวงอาทิตย์ เป็นกล้องโทรทัศน์อวกาศขนาดใหญ่ที่สุด!..

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 19 ธ.ค. 2024

ความคิดเห็น •

  • @o0I0o100
    @o0I0o100 2 หลายเดือนก่อน +27

    ลองนึกภาพว่าเราอยู่ในโดมครึ่งวงกลม แบ่งโดมนั้นเป็นส่วนๆ ส่วนละ 1 องศา สมมุติว่าเหนือ ใต้ ได้ทั้งหมด 180 ส่วน (180 องศา) หั่น 1 องศาลงอีก 60 ส่วน 1/60 องศา เท่ากับ 1 arc minute แบ่ง 1 arc minute ออกเป็น 60 ส่วน 1/60 ของ arc minute เท่ากับ 1 arc second (ส่วนโค้งวินาที) วินาทีเชิงมุมก็น่าจะอันเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบ ดวงจันทร์มีขนาดประมาณ ครึ่งองศา ครับ

    • @Chal3u-dg1ef
      @Chal3u-dg1ef 2 หลายเดือนก่อน +2

      มันแตกต่างยังไงกับลิปดาและฟิลิปดาครับ ใช้30ลิปดาก้มีความหมายเท่ากับครึ่งองศาเหมือนกัน หรือเขาไม่ใช้มาตราวัดนี้ครับ

    • @o0I0o100
      @o0I0o100 2 หลายเดือนก่อน

      @@Chal3u-dg1ef หลักการคล้ายกันครับ ลิปดา พิลิปดา ภาษาอังกฤษก็เรียกว่า Minute และ second ครับ ทำไมไม่ใช้เหมือนกันไม่แน่ใจ แต่ latitude กับ longitude มัน project เส้นลงบนโลก Right Ascension และ Declination มัน project ไปบนอวกาศ คนละมุมมอง (Longitude เทียบเท่ากับ Right Ascension และ Latitude เทียบเท่ากับ Declination) แต่ไม่ว่าจะเป็น lat/lon หรือ RA/Dec มันเอาไว้ใช้ระบุต่ำแหน่ง แต่ arcminute arcsecond ปรกติจะใช้วัดขนาดครับ

    • @Sol-fx8hz
      @Sol-fx8hz 2 หลายเดือนก่อน +2

      ​@@Chal3u-dg1efเหมือนกัน ลิปดา ภาษาอังกฤษ arcminute, พิลิปดา (arcsecond)

    • @Thilaphong_Sisouphane
      @Thilaphong_Sisouphane 2 หลายเดือนก่อน

      ถ้าใช้กล้อง ที่ส่งขึ้นไปถ่ายภาพได้ทังหมด ( 180° ) จะสวยขนาดไหน.

    • @jmsssx
      @jmsssx 2 หลายเดือนก่อน

      หูยยยยยยยยยยย ของแทร่

  • @เฮียมั่วทั่วไท
    @เฮียมั่วทั่วไท 2 หลายเดือนก่อน +28

    ระยะทาง 542 AU ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลกและดาวเคราะห์ในระบบสุริยะทั้งหมดอย่างมาก ต่อไปนี้เป็นระยะทางเฉลี่ยของดาวเคราะห์ต่างๆ ในหน่วย AU เพื่อเปรียบเทียบ:
    1. โลก (Earth): 1 AU
    2. ดาวอังคาร (Mars): 1.52 AU
    3. ดาวพฤหัสบดี (Jupiter): 5.2 AU
    4. ดาวเสาร์ (Saturn): 9.58 AU
    5. ดาวยูเรนัส (Uranus): 19.22 AU
    6. ดาวเนปจูน (Neptune): 30.05 AU
    7. พลูโต (Pluto): ประมาณ 39.48 AU (ถือว่าเป็นวัตถุแถบไคเปอร์)
    เมื่อเปรียบเทียบกับระยะทางของดาวเคราะห์เหล่านี้:
    ระยะทาง 542 AU นั้นไกลกว่าดาวเนปจูนซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลที่สุดมากกว่า 18 เท่า และไกลกว่าพลูโตในแถบไคเปอร์กว่า 13 เท่า
    ระยะทางนี้อยู่ในบริเวณของ "กลุ่มเมฆออร์ต" (Oort Cloud) ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่รอบระบบสุริยะที่ประกอบด้วยวัตถุขนาดเล็กจำนวนมาก
    ดังนั้น ระยะทาง 542 AU อยู่ไกลกว่าแถบไคเปอร์และใกล้กับขอบเขตของกลุ่มเมฆออร์ตที่อยู่รอบระบบสุริยะ
    ขณะนี้ Voyager 1 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 162.7 AU หรือประมาณ 24.34 พันล้านกิโลเมตร (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2024).
    Voyager 2 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 135 AU.
    ทั้งสองยานกำลังเดินทางในอวกาศระหว่างดวงดาว (interstellar space) ซึ่งหมายถึงยานเหล่านี้ได้พ้นอิทธิพลของระบบสุริยะเราแล้ว และเดินทางต่อไปยังอวกาศที่อยู่ระหว่างดาวฤกษ์.

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +2

      ข้อมูลดีมากครับ

    • @B13-z4c
      @B13-z4c 2 หลายเดือนก่อน +3

      ถ้าจะให้หลุดพ้นโดยสมบูรณ์แบบ จะประมาณกี่ AU ครับ และใช้เวลามากไหม

    • @sacredation
      @sacredation 2 หลายเดือนก่อน +1

      แล้วกว่าจะส่งข้อมูลกับมายังโลก ต้องรออีกนานแค่ไหน 5555

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +1

      @@sacredation ไม่เป็นไร รอได้อย่างมากก็ไม่กี่วัน ไม่ต้องมีการโต้ตอบอะไรเร่งด่วน

    • @sacredation
      @sacredation 2 หลายเดือนก่อน

      @@Sandsun-h7s เคยดูช่อง 9arm ขนาดส่ง update file เล็กๆไป vovager1 ยังรอเกือบวัน แล้วก็ห่างจากโลกน้อยกว่าระยะโฟกัส 3 เท่ากว่าๆ ไม่รู้ว่ารูปนึงต้องรอนานขนาดนั้น แต่ถ้าทำได้จริง คุ้มแหละที่ต้องรอนาน

  • @BenZBiocheM
    @BenZBiocheM 2 หลายเดือนก่อน +26

    "ส่วนโค้งวินาที" น่าจะหมายถึง arcsec หรือ second of arc เรามักคุ้นเคยกับคำว่า "ฟิลิปดา" หรือ "วิลิปดา" ที่บ่งบอกถึงขนาดของมุม ซึ่งในที่นี้คือขนาดของมุมรับภาพ (angle of view) ค่ะ

    • @MongkonchaiS-el4nr
      @MongkonchaiS-el4nr 2 หลายเดือนก่อน +1

      เฉพาะทางก็มาทีนี้ ผมก็ยังไม่เข้าใจครับ55

    • @jmsssx
      @jmsssx 2 หลายเดือนก่อน

      หูย สวยยยย เอ้ย เก่งมากเลยครับ

    • @Thamsindain
      @Thamsindain 2 หลายเดือนก่อน

      ข้อมูลแน่น

  • @darkmatter8600
    @darkmatter8600 2 หลายเดือนก่อน +8

    อัจฉริยะสุดๆ เป็นทฤษฎีที่น่าให้การสนับสนุนมาก แต่กว่าจะไปถึงไกลเกิ้นน

  • @sunb12345
    @sunb12345 2 หลายเดือนก่อน +14

    เพราะมนุษย์ไม่เคยหยุดเรียนรู้ครับ 😊
    ขอบคุณสำหรับข่าวสารดี ๆ ครับ

  • @JM168M
    @JM168M 2 หลายเดือนก่อน +2

    ยืม Tech จาก เจมส์​ web...ย่อ เลนส์​ ลงระดับนาโน แล้วเอามาทำ แว่นตา ดูดาว สบาย 😁 NASA จะได้เห็น เอเลี่ยน ก็คราวนี้ แหล่ะ พี่หลาม ....ขอบคุณครับ 🙏

  • @T_W_M
    @T_W_M 2 หลายเดือนก่อน +12

    542AU=3วันแสง Voyager1 ห่าง(165AU)22:51ชั่วโมงแสงเองครับ😅

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +2

      เยี่ยม

    • @nana1579-b1i
      @nana1579-b1i 2 หลายเดือนก่อน +2

      ปัญหาใหญ่สุดน่าจะเป็นระยะทางแหละผมว่าไม่งั้นคงไปถึงตั้งแต่ปี 2000 ตีเป็นปีให้หน่อยได้ไหมครับ ว่าถ้ายานอวกาศที่เร็วที่สุดตอนนี้ที่บรรทุกดาวเทียมได้น่าจะไปถึงกี่ปีครับ

    • @Prisna_TH
      @Prisna_TH 2 หลายเดือนก่อน

      @@nana1579-b1i วอยเอเจอร์ออกเกินทางไป47ปีแล้วครับ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +1

      @@nana1579-b1i พวกเราไม่ทันเห็น ตายก่อน

    • @baktangmo3412
      @baktangmo3412 2 หลายเดือนก่อน

      แล้ววอยเอเจอร์ 1 ปล่อยไปตั่งแต่ปี 1977 ยังได้แค่นี้ 5555

  • @tipapornmeeklinhom6406
    @tipapornmeeklinhom6406 2 หลายเดือนก่อน +3

    ฟังไปก็งงงงไป แต่ชอบเรื่องแบบนี้...งึดหลาย

  • @Earthworld-e2n
    @Earthworld-e2n 2 หลายเดือนก่อน

    พี่หลามอ่านข่าวเกี่ยวกับ polaris dawn และ spacex starship หน่อยน่ะครับ ชอบพี่หลามอ่านข่าวเกี่ยวกับอวกาศ

  • @thagoon55
    @thagoon55 2 หลายเดือนก่อน

    น่าติดตามมากครับเรื่องนี้

  • @MongkonchaiS-el4nr
    @MongkonchaiS-el4nr 2 หลายเดือนก่อน

    เนื้อหานี้ดีมากๆครับ

  • @abandoneddogsfeedingasmr263
    @abandoneddogsfeedingasmr263 2 หลายเดือนก่อน +1

    น่าซื้อเอาไว้ส่องดูพระเครื่อง😊

  • @wongsoon-n2f
    @wongsoon-n2f 2 หลายเดือนก่อน +2

    ปัญหาที่ 2 คือ ถ้าจะเปลี่ยน ตำแหน่งของการมอง ตย เช่น 90 องศา จากตำแหน่งเดิม
    เราต้องให้ยาน มันเคลื้อนที่ ไปกี่ AU

  • @EsZaintS
    @EsZaintS 2 หลายเดือนก่อน +9

    แล้วเป็นไปได้ไหมครับ ที่โลกเราจะอยู่ในระยะโฟกัสของเลนส์ความโน้มถ่วงจากดาวที่มีมวลมาก ๆ ดวงอื่นพอดี หรือแม้แต่จุดโฟกัสของดาวอื่นนั้นไม่ได้ห่างไปจากโลกเรามากเท่าไหร่ ?

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +3

      ไม่มีหรอก มันไกลเกิน แค่มองดาวดวงนั้นยังเป็นจุดเล็กๆเอง จุดโฟกัสแรงโน้มถ่วงห่างจากดาวดวงนั้นไม่ถึงเศษเสี้ยวหนึ่งปีแสง แต่ดาวฤกษ์ที่ใกล้โลกที่สุดคือ Alpha century ห่าง 4.3 ปีแสง

    • @summanon
      @summanon 2 หลายเดือนก่อน

      ผมก้อคิดว่าน่าจะมีนะ หาดาวที่มีแรงโน้มถ่วงมาก แล้วหาจุดโฟกัสให้มันอยู่ใกล้โลกหรือระยะที่มนุษย์ไปถึงได้ มวลอาจไม่เท่าดวงอาทิตย์ แต่ก้อยังดีกว่าเดินทางไปจุดโฟกัสของดวงอาทิตย์

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +2

      @@summanon ดาว Alpha century ครับ ใกล้โลกที่สุด ระยะทางเท่ากับแสงเดินทาง 4.3 ปี ไกลเข้าไปอีก
      500 au ยังไม่กี่ชั่วโมงแสงเอง

    • @ota_02
      @ota_02 2 หลายเดือนก่อน

      มีอยู่ 1 จุดครับแต่เป็นจุดโฟกัสจากแรงโน้มถ่วงของกาเเล็กซี่อื่น ผมก็จำไม่ได้ละชื่อว่าอะไรแต่มันมีอยู่

  • @Sandsun-h7s
    @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน +1

    ความคิดเจ๋งมาก

  • @iHereThailandOnly
    @iHereThailandOnly 2 หลายเดือนก่อน +9

    แนวคิดนี้มีมานานแล้ว อย่างน้อยผมก็เคยได้ยินมาเป็นสิบปีแล้ว แต่ก็ได้แค่คิด เพราะเทคโนโลยียังไม่มีศักยภาพมากพอที่จะทำได้ ซึ่งแม้เทคโนโลยีในปัจจุบันเอง ก็ยังไม่สามารถทำได้อยู่ดี เขาเลยหวังในระบบควอนตัมให้สำเร็จเร็วๆ มันจะเป็นใบเบิกทางระดับเริ่มต้นให้มีความหวังขึ้นมาบ้าง ส่วนตัวก็ไม่ได้หวังว่าจะได้เห็นความสำเร็จตอนผมมีชีวิต แต่ก็ขอให้ลงมือทำ ถ้ามันสำเร็จ มันจะเป็นความสำเร็จระดับมนุษยชาติ ที่จะหาแหล่งที่อยู่อาศัยใหม่ ก่อนเราจะเผาโลกจนอยู่ไม่ได้

    • @Kaaa_002
      @Kaaa_002 2 หลายเดือนก่อน

      เหมือนมังกรพ่นไฟใส่กำแพง แล้วมันย้อนกลับเข้าตัวมั้ยครับ

    • @อัมรินทร์อัศวมั่นคงกุล
      @อัมรินทร์อัศวมั่นคงกุล 2 หลายเดือนก่อน

      เขาแค่เสนอแนวคิด ค่าเงินสนับสนุน สักยี่สิบปี

  • @BallRune
    @BallRune 2 หลายเดือนก่อน +4

    คิดเพิ่มอีกอนาคตคงใช้ กาแล็กซี่ทางช้างเผือกแทน

  • @Parunyupurunyayarunpuyurunpa
    @Parunyupurunyayarunpuyurunpa 2 หลายเดือนก่อน +1

    นึกถึงช่วงแรกที่นาซ่าใช้ยานวอยเอเจอร์ใช้แรงเหวี่ยงดวงดาวเลย คือเอาเรื่องของพลังความโน้มถ่วงหรือการบิดตัวของtimes pace เอามาเป็นเครื่องมือทางอวกาศ รู้สึกว่าถ้าเอามาดัดแปลงเป็นเครื่องมือเพื่อแสวงหาความรู้มันโคตรยิ่งใหญ่มาก

  • @aec313
    @aec313 2 หลายเดือนก่อน +2

    ส่องร้านรับซื้อยาง บนดาวอังคารให้หน่อยครับ😊

    • @boonplengsurin2572
      @boonplengsurin2572 2 หลายเดือนก่อน

      ตาตู่ยังขายไม่หมดหรือครับ5555

  • @CAPTNoLOGO
    @CAPTNoLOGO 2 หลายเดือนก่อน +1

    Arcsecond คือฟิลิปดาครับ ถ้า Arcminute ก็คือลิปดา เป็นหน่วยย่ิอยของมุม

  • @GhoulLcf-u4y
    @GhoulLcf-u4y 2 หลายเดือนก่อน

    โอเค ✌🏻

  • @nai105
    @nai105 2 หลายเดือนก่อน

    ว้าว...!!!!!...มากไๆๆไๆไไๆไๆๆ

  • @Prasertpanja
    @Prasertpanja 2 หลายเดือนก่อน +11

    อาร์กวินาที หรือ arcsecond คือ 1 ใน 3600 ของมุม 1 องศา เพราะมุม 1 องศามี 60 อาร์กนาที ใน 1 อาร์กนาทีมีอีก 60 อาร์กวินาที
    นอกจากนี้ยังเป็นที่มาของระยะทาง 1 พาร์เซ็ก (Parsec = parallax of one arcsecond) ด้วยครับ คือระยะที่ทำให้มุมพาราแล็กซ์เป็น 1 arcsecond
    สุดท้ายขอใส่ท่าอัลติ ปัดป้องจากทุกข้อมูลที่ให้ผิดพลาดและผมจะไม่กลับมารับผิดชอบใดๆด้วยสิ่งนี้ 😂

    • @jmsssx
      @jmsssx 2 หลายเดือนก่อน

      คนเก่ง มักจะติ๊งต๊อง 555555

  • @FatCat_101
    @FatCat_101 2 หลายเดือนก่อน +5

    ดาวซานถี่ รอคุณอยู่ .....

    • @Joe4s
      @Joe4s 2 หลายเดือนก่อน

      55555

    • @user-MMe
      @user-MMe 2 หลายเดือนก่อน

      นอกจากเราจะส่องแล้ว ต้องส่งสัญญาณ”hello A mother f***”ให้ดวงอาทิตย์ขยายด้วย เผื่อทีอีกสามร้อยปีจะมีปาฎีหาร5555

    • @sancan4304
      @sancan4304 2 หลายเดือนก่อน

      ดาวจีนแคะ

  • @cheguevara5204
    @cheguevara5204 2 หลายเดือนก่อน +4

    ไกลระดับ 500 AU แล้วจะเอาพลังงานไหนมาใช้ เพราะแสงจากดวงอาทิตย์ส่องไปไม่ถึง ฉะนั้นจึงใช้พลังงานจากแสงจึงใช้ไม่ได้เหลือเพียงพลังงานจากนิวเคลียร์ แต่ด้วยระยะทางที่ไกลมากที่ยานอวกาศปัจจุบันยังไปไม่ถึง คงต้องรอเทคโนโลยีวันนั้นมาถึง

    • @วิษนุอินทรศร-ว3ม
      @วิษนุอินทรศร-ว3ม 2 หลายเดือนก่อน +2

      วอยยะเจอร์ใช้นิวเคลียร์คับ

    • @mrk2529
      @mrk2529 2 หลายเดือนก่อน

      แต่นิวเคลียจะลดพลังงานครึ่งนึงทุก 80 ปีนะครับ อาจจะถึงก็ได้​@@วิษนุอินทรศร-ว3ม

    • @user-taorilakmaknangoffician
      @user-taorilakmaknangoffician 2 หลายเดือนก่อน

      จุดโฟกัสของที่พี่หลามบอกน่าจะไม่ถึงขนาดนั้นครับคำนวณคร่าวๆน่าจะอยู่แถวดาวศุกร์
      10ยกกำลังลบสิบ.เรียกว่าหน่วยพิโค
      คำนวณคร่าวๆระยะทางหนึ่งล้านAUจุดโฟกัสที่ได้จะเท่ากับประมาณ 10ยกกำลัง26..
      ดีงนั้นหากแปลงเป็นพิกเซลภาพระยะ1ล้านปีแสงจะชัดเจนมาก

  • @nutopth
    @nutopth 2 หลายเดือนก่อน +1

    เราก็ใช้หลุดดำที่ใกล้ที่สุดไปทำกล้องสิครับ555แรงโน้มถ่วงแรงกว่าเยอะทำตอนนี้กว่าจะไปถึงจุดโฟกัสพอดีลูกหลาน555 ขอให้ทำได้ครับความหวังของมนุษยชาติ

  • @คําปั่นแสนณรงค์-ย4ช
    @คําปั่นแสนณรงค์-ย4ช 2 หลายเดือนก่อน

    ผมว่าใด้ครับคุณหลาม.

  • @yokphuket8037
    @yokphuket8037 2 หลายเดือนก่อน

    พอผมฟังเข้าใจ ปัณหาใหญ่ที่จะตามมาก็คือ จุดรวมเลนโน้มถ่วงมันจะไม่อยู่ที่เดียวรอบดวงอาทิตย์ แต่ตรงจุดนี้มันจะโดยรอบดวงอาทิตย์ที่ระยะทาง542เอยู เหมือนๆกัน ดังนั้นจึงหมายความ หากเราต้องการหมุนกล้องไปทางไหน เราจะต้องเลื่อนจุดรับเลนโน้มถ่วงไปยังมุมที่หันไปรับแสงจากดาวที่ต้องการการ ดังนั้นมันจึงต้องคำนวณเป้าหมายที่เราต้องการดู เอาไว้ก่อนแล้วถึงค่อยเดินทางไปจุดนั้นเท่านั้น ความเหมาะคือถ้าต้องการหันกล้องไปดูตรงอื่นบ่อยๆ ก็จะต้องเดินทางเป็นระยะแบบนี้ไปเรื่อยๆ และความยากมันก็อยู่ตรงนี้แหละ

  • @kigkorg
    @kigkorg 2 หลายเดือนก่อน +1

    เท่าที่ผมไปค้นมานะครับ ระยะจุดโฟกัสตรงนั้นอยู่ที่ 550 AU ครับ ก็ไม่รู้ว่าใช่ตัวเลขประมาณการไหม แต่ที่แน่ๆคือมันไกลมากครับ ยานที่เราส่งไปมันแค่ร้อยกว่า AU เองครับ หากไปด้วยความเร็วเดียวกันกับยานที่เราส่งไป มันจะใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 150 ปีไปแล้วครับ
    ดังนั้นถ้าเราส่งไปได้ในตอนนี้ และมันไปยืนอยู่ตรงนั้นแล้ว ก็ไม่มั่นใจว่าเราจะมีปัญญารับคลื่นจากมันไหม มันคงจะแผ่วบางมากจนเรารับไม่ได้มั้ง หรือเราอาจจะต้องทำจานดาวเทียมขนาดใหญ่เพื่อรับมัน อาจจะต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นกิโลเมตรก็ได้ครับ
    ที่สำคัญตรงนั้น น่าจะมีอุณหภูมิประมาณราวๆ 3 องศาเคลวินครับ หรือประมาณ - 270 องศาเซลเซียส ผมไม่คิดว่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะทำงานได้นะครับ แล้วก็ไม่น่าจะมีแสงอาทิตย์ให้เราใช้โซล่าเซลล์ใดๆด้วย ผมยังนึกไม่ออกว่าเราจะสร้างพลังงานไฟฟ้าตรงนั้นยังไง เดอะแบกพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นไป ก็ไม่รู้มันจะหมดก่อนไปถึงไหม อย่างที่บอกมันใช้เวลาเดินทาง มากกว่า 150 ปี
    ดูเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจนะครับ แต่ต้องพัฒนาอีกเยอะเลยผมว่า ในช่วงแรกคงต้องใช้เวลาเยอะนะครับ เพราะเรายังไม่เคยส่งอะไรไปไกลขนาดนั้นเลยสักกะชิ้นเดียว

    • @brians3991
      @brians3991 2 หลายเดือนก่อน

      คงตรงระดับที่เรามีเตานิวเครียร์ฟิวชั่นแล้วละ😅

  • @marsrobot978
    @marsrobot978 2 หลายเดือนก่อน +25

    แอนโดเมด้า แค่4.2 ปีแสงเองครับพี่😂😂 หากทำได้จริง จะมองไปได้ไกลกว่าแอนโดเมด้านะครับ ที่พี่ให้ข้อมูลนี้มาคือ เห็นรายละเอียดชัดนะครับ ใน100ปีแสง โอ้โห! มนุษย์เราคงรู้ว่า ดาวเคราะห์ดวงไหนที่มีมนุษย์ต่างดาวอยู่ แน่เลยครับ😂😂 อยากให้เค้าทำได้จริงๆ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน

      @@marsrobot978 แอนโดรเมด้าห่างโลก 2.45 ล้านปีแสงครับ มันเป็นกาแลกซี่นะครับ เฉพาะเส้นผ่าศูนย์กลางมันก็ 152,000 ปีแสงแล้ว ดาวฤกษ์ที่ใกล้โลกที่สุดคือ Alpha century ห่าง 4.3 ปีแสงครับ

    • @theerawatraprapyo5490
      @theerawatraprapyo5490 2 หลายเดือนก่อน +7

      แอนโดรมิด้า ห่าง 2.5 ล้านปีแสงไม่ใช่หรอ? :3

    • @nana1579-b1i
      @nana1579-b1i 2 หลายเดือนก่อน +2

      ทรงนี้น่าจะซูมได้ยันพื้นดาวเลยมั้งผมว่า 555

    • @witthawin0
      @witthawin0 2 หลายเดือนก่อน +5

      Proxima Centauri is the nearest star to our Sun. It's part of the Alpha Centauri star system, which is about 4.24 light-years away from Earth.😂😂😂😂

    • @witthawin0
      @witthawin0 2 หลายเดือนก่อน

      ​@@theerawatraprapyo5490ถูกครับ เขาน่าจะเข้าใจผิด😂

  • @thananchaimongkolsupya4196
    @thananchaimongkolsupya4196 2 หลายเดือนก่อน +2

    สงสัยเอาไอเดียมาจากหนัง 3 body problem

  • @Iwatana1
    @Iwatana1 2 หลายเดือนก่อน +2

    คนเมื่อ100ปีก่อนหาทางไปดวงจันทร์ได้ อีก100ปีต่อไปคงหาทางขุดเจาะและนำทรัพยากรดาวต่างๆได้
    คงต้องฝากความหวังไว้กับคนรุ่นถัดไป 😊

  • @ormsin27
    @ormsin27 2 หลายเดือนก่อน

    สิบยกกำลังลบสิบวินาที น่าจะคล้ายสปีดชัตเตอร์รึเปล่าครับ ใครรู้บอกหน่อย

  • @user-Jupiter09
    @user-Jupiter09 2 หลายเดือนก่อน

    สุดยอด....เกินบรรยาย

  • @Tadekza20
    @Tadekza20 2 หลายเดือนก่อน

    ISO = 1/(2π*60*60) หรือเปล่า ส่วนโค้งวินาที

  • @paweenjirasirinon6282
    @paweenjirasirinon6282 24 วันที่ผ่านมา

    ปัญหาต่อไปคือจะใช้ storage ขนาดไหนเพื่อเก็บข้อมูลรูปถ่ายนี้ 1 ภาพ ครับ

  • @ota_02
    @ota_02 2 หลายเดือนก่อน +3

    542AU ก็ประมาณ 8.1หมื่นล้านกิโลเมตร แล้วคิดดูว่าปัจจุบันนี้ยานที่ไปได้ใกลสุดอย่าง วอยเอเจอร์1 ยังไปได้แค่ประมาณ 2.27หมื่นล้านกิโลเมตร คิดเป็น 1ใน4 ของระยะที่ต้องใช้เลย 😅😅

  • @xantagaming6854
    @xantagaming6854 2 หลายเดือนก่อน

    ชอบคำว่า วินาทีเชิงมุม😂

  • @ชงนาญ
    @ชงนาญ 2 หลายเดือนก่อน

    จริงๆ​เราน่าจะไปประกอบกล้องที่ใหญ่ได้ในอวกาศนะ แทนที่จะส่งเป็นยานออกไปแล้วกาง ก็ส่งเป็นชิ้นใส่ยานไปแล้วไปประกอบที่สถานีอวกาศ ก็ได้ความใหญ่เพิ่มขึ้น

  • @revolutionth9600
    @revolutionth9600 2 หลายเดือนก่อน

    วันไหนที่ทำได้ ขอดูระยะที่ 4.2 ปีแสงก่อน Alpha Century มันอาศัยได้ไหม?

    • @techoffside
      @techoffside  2 หลายเดือนก่อน

      เออชื่อดาวที่บอกมาเป็นชื่อดาวฤกษ์นะครับมีสามดวงด้วยอาศัยอยู่ยังไง

    • @medimnpa
      @medimnpa 2 หลายเดือนก่อน

      ระบบดาวพรอกซิมา

  • @Wednesday0570
    @Wednesday0570 2 หลายเดือนก่อน +4

    เอาดาวพฤหัสก่อนได้ไหมครับ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน

      ดาวพฤหัสแรงโน้มถ่วงน้อย

    • @tanoi4047
      @tanoi4047 2 หลายเดือนก่อน +3

      ​@@Sandsun-h7sใช่ครับ มวลดวงอาทิตย์มากกว่าดาวพฤหัสบดี 1,000 เท่า จุดตัดคงอยู่ที่ 542*1000=542,000 AU 😅😅😅

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 หลายเดือนก่อน

      @@tanoi4047 ข้อมูลเยี่ยม

    • @oneni-pn5yo
      @oneni-pn5yo 2 หลายเดือนก่อน

      ดาวพฤหัสไม่มีแสง กล้องไม่สามารถรับภาพได้ กล่องรับภาพได้ก็ต่อมีแสง

    • @GTJ-o1w
      @GTJ-o1w 2 หลายเดือนก่อน

      ดาวพฤหัสไม่มีแรงโน้มถ่วงเท่าดวงอาทิตย์

  • @denchaiphunyura1810
    @denchaiphunyura1810 2 หลายเดือนก่อน

    บางทีวงโคจรของโลกเราอาจโชคดีพอที่จะเฉียดเข้าใกล้ระยะโฟกัสของดาวฤกษ์บางดวงในจักรวาล หรือบางกาแลคซี่อยู่แล้วก็เป็นได้ จะได้ไม่ต้องไปไกล 542 AU

  • @c136
    @c136 2 หลายเดือนก่อน

    ยานอวกาศต้องไปไกลเกิ๊นน ☺️

  • @พจน์บึงชนัง
    @พจน์บึงชนัง 2 หลายเดือนก่อน

    ความคิดดีถูกต้องด้วย แต่ไม่คิดว่าจะทำได้จริง มันไกลมาก ถ้าเปลี่ยนจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวพฤหัสล่ะ 😊

  • @mwmemon4034
    @mwmemon4034 2 หลายเดือนก่อน

    นิยายเรื่อง ดาวซานถี่ trisolaris ชัดๆๆ

  • @nahkubnah
    @nahkubnah 2 หลายเดือนก่อน

    เคยได้ยินเรื่องนี้มาจากเกม high frontier เขาเรียกว่า sun lens อะ ใครมีแหล่งไหนให้อ่านเพิ่มแนะนำกันได้นะคับ😇

  • @littlel2616
    @littlel2616 2 หลายเดือนก่อน

    ฟีล 3 body problems ปะที่ใช้ดวงอาทิตเป็นตัวกระจายสัญญาณให้ไกล เพื่อติดต่อกะเทพเอเลี่ยน

  • @The.Clinton
    @The.Clinton 2 หลายเดือนก่อน +1

    👍

  • @fabandan231
    @fabandan231 2 หลายเดือนก่อน

    แสงดวงอาทิตย์สว่างมาก ต้องปิดจุดสว่างของดวงอาทิตย์ เป็นการลดแสงสะท้อนเข้ากล้อง เหมือนดาวเทียมsoho

  • @Estno168
    @Estno168 2 หลายเดือนก่อน

    ยาโย้,,,rให้กำลังจทุกๆท่านคร้าบ🎉🎉🎉🎉🎉🎉😊😊😊

  • @hawjvajofficial2088
    @hawjvajofficial2088 2 หลายเดือนก่อน +1

    ประมวลผลภาพที่คอมระเบิดแน่ๆ…..5555

  • @biker2984
    @biker2984 2 หลายเดือนก่อน

    ถ้าทำได้จริงๆ คิดว่ามันจะรับได้แค่ตรงมุมแหลมในส่วนโค้งกาลอวกาศแค่ด้านเดียว ไม่น่าได้ถึง 360 องศา เพราะถ้าหาจุดนั้นเจอ มันจะเหมือนกางผ้าแล้วเอาลูกแก้ววาง จุดที่ลึกนั้นแหละเป็นที่รับแสงมา แต่ได้แค่ 180 องศาเท่านนั้น คหสต.นะ มีความรู้งูๆปลาๆเอง

  • @serpentcccc
    @serpentcccc 2 หลายเดือนก่อน

    three body problem เวอร์ชั่น กล้องส่องทางไกล

  • @ปปป-117
    @ปปป-117 2 หลายเดือนก่อน

    ญี่ปุ่นทดสอบยานที่ใช้เรือใบ​ น่าจะแก้ปัญหาเรื่องพลังงาน​ คงรออีก50ปี
    อย่างเร็ว

  • @Nutnutthakorn
    @Nutnutthakorn 2 หลายเดือนก่อน

    ข้ามเซิฟยากจัด ถึงแม้มนุษย์เดินทางด้วยความไวแสงได้ แต่แม่งก็ส่งผลเสียคือคนที่เดินทางไปจะเป็นมนุษย์ชุดสุดท้ายของเผ่าพันธุ์เราอยู่ดี หรือถ้ามนุษย์ต่างดาวส่องมายังพื้นโลกเราในที่ห่างไกลมากๆเค้าก็เห็นโลกเรามีแค่ไดโนเสามั้ง

  • @user-taorilakmaknangoffician
    @user-taorilakmaknangoffician 2 หลายเดือนก่อน

    ต้องไปดูสูตรฟิสิกส์คือ
    มิลลิ,เดซิ,นาโน,พิโก้
    ดังนั้น10ยกกำลังลบ10น่าจะอยู่แถวหน่วยพิโค

  • @Perzefony
    @Perzefony 2 หลายเดือนก่อน

    ใช้หลักการคล้ายในนิยายดาวซานถี่เลย แต่ในดาวซานถี่ ใช้การยิงสัญญาณไปที่ดวงอาทิตย์เพื่อให้เกิดการสะท้อนเพื่อส่งคลื่นเสียงกระจายไปในอวกาศ คือใช้สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์เพื่อขยายคลื่นเสียงที่ไปได้เร็วและไกลกว่าส่งตรงๆจากโลก

  • @darkmatter8600
    @darkmatter8600 2 หลายเดือนก่อน

    ขอตั้งปัญหาให้ขบคิด แบบนี้หลุมดำมวลยิ่งยวดก็ทำได้ใช่ไหม แล้วจุดโฟกัสมันอยู่ส่วนไหนของเอกภพ แล้วถ้ามีการสร้างหลุมดำขนาดเล็กเพื่อใช้เป็นกล้องเลนส์ความโน้มถ่วงก็น่าจะเป็นไปได้ตามทฤษฎี สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาอาจจะกำลังใช้วิธีนี้มองดูเราอยู่ก็ได้ น่าคิด🤔🤔🤔

  • @wrtnmn
    @wrtnmn 2 หลายเดือนก่อน

    พี่หลามระวังตัวไว้นะครับ อาจจะตกเป็นเป้าของชาวซานถี่ ถ้าเริ่มเห็นอะไรแปลกๆ บอกพวกเราด้วยครับ

  • @mrk2529
    @mrk2529 2 หลายเดือนก่อน

    voyager ตอนนี้ห่างจากโลกประ มาน 115 au ครับ ใช่เวลา 40 ปี ห่าง 3.3 Au ต่อ ปี ถ้าคิดว่าจะไปถึง 500 au จะใช้เวลากี่ปี ฝากคำนวนทีครับ

    • @Kimmy870501
      @Kimmy870501 2 หลายเดือนก่อน

      ถ้าเลขที่ให้มาถูกต้องก็ 151.515151 ปีครับ

    • @mrk2529
      @mrk2529 2 หลายเดือนก่อน

      @@Kimmy870501 ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ

  • @DJ_BIB
    @DJ_BIB 2 หลายเดือนก่อน

    มีปัญหาอีกอย่าง จะมองได้มุมเดียว ถ้าจะเคลื่อนกล้อง มันจะต้องร่อนไกลมาก และส่งสัญญานไปกลับนานมาก

  • @NOT6248
    @NOT6248 2 หลายเดือนก่อน

    ทำไมไม่ใช้ดาวดวงอื่นไปก่อนหรอครับ
    เช่นดวงจันทร์

    • @XaysombounSenyord
      @XaysombounSenyord 2 หลายเดือนก่อน +1

      มวลไม่มากพอครับ ต้องเป็นวัตถุที่มวลมหาศาลมากๆ ในระบบสุริยะของเราก็มีแค่ดวงอาทิตย์ครับที่ทำได้

    • @NOT6248
      @NOT6248 2 หลายเดือนก่อน

      ​ @XaysombounSenyord ออ เข้าใจล่ะ
      คือมันมวลไม่เยอะ
      แสงมันไม่หักจนรวมกัน
      หรือ ถ้ามันหัก จนโฟกัสก็น่าจะไกลสุดๆ
      งั้นแบบนี้แทนได้ไหม
      แทนที่เราจะใช้ดวงอาทิตของเรา
      เราใช้ของระบบอื่นที่ส่องมาที่เราได้ไหม จะมีไหมนะ

  • @weerarawee3206
    @weerarawee3206 2 หลายเดือนก่อน

    ไอเดียนี้ ผมซื้อนะ

  • @แสงชัยเอื้อศิลป์
    @แสงชัยเอื้อศิลป์ 2 หลายเดือนก่อน

    542 AU ... ""ใช้ดาวพฤหัสก่อนดีกว่าไหม ?? "" ยังใกล้พอที่จะส่งยานอวกาศ

    • @AttackhokeChoosritanawat
      @AttackhokeChoosritanawat 2 หลายเดือนก่อน

      ถ้าดาวพฤหัสมีมวลมากำอที่จะบิดกาลอวกาศก็ได้นะครับ เผลอๆอาจไกลกว่าดวงอาทิศเพราะบิกกาลอวกาศได้น้อยกว่า

  • @gundam6002
    @gundam6002 2 หลายเดือนก่อน

    ได้บินมานานแล้วนะครับเลนส์ความโน้มถ่วงจะหนีงเรื่องไรสักอย่าง

  • @วีรยุทธเลิศทรัพย์อมร-ฝ8ผ

    งบสร้างกล้องนี้คงใช้ยันชาติหน้าก็ยังไม่พอ เพราะไม่ใครทำแน่ๆ ลองคิดดูว่าส่งยานไปยังไม่ถึงจุดโฟกัสเทคโนโลยีใหม่ก็ตามมาความคิดอาจเปลี่ยนไปก็ได้ถึงไม่มีใครทำไง

  • @Someoneinthisworld355
    @Someoneinthisworld355 2 หลายเดือนก่อน

    My God!!

  • @watnaja-h6d
    @watnaja-h6d 2 หลายเดือนก่อน

    มีอีกเยอะ ที่ไปไม่ถึง สมองเรานะ

  • @petern.3153
    @petern.3153 2 หลายเดือนก่อน

    512AU มันอยู่ตรงไหนของระบบสุริยะ เอาตรงนี้ก่อน

  • @ติ๊ก-บ7ฉ
    @ติ๊ก-บ7ฉ 2 หลายเดือนก่อน

    ถ้าทำได้ ดาวอื่นก็น่าจะทำอยู่ คณิตศาสตร์มันเหมือนกันทั้งจักรวาลแหละ

  • @คมไผ่-ษ7ฬ
    @คมไผ่-ษ7ฬ 2 หลายเดือนก่อน

    ติดตาม

  • @loogaod91
    @loogaod91 2 หลายเดือนก่อน

    แสงเดินทางมายังโลก = 8 นาที =1 AU 542 AU=4,336 นาที (72 ชั่วโมง) จากความเร็วของยานที่เรามี ต้องใช้เวลาเท่าไหร่ครับ..😳😵‍💫

  • @07ring07
    @07ring07 2 หลายเดือนก่อน

    👍♥️

  • @ba0mb00
    @ba0mb00 2 หลายเดือนก่อน

    ถ้าเรามียานอวจาดไปถึงดวงอาทิตย์ ทำไหมไม่ขับยานไปถ่ายภาพ ละเอียดกว่าอีก เราจะไปดูดาวที่มันอยู่ไกลเกิ้นทำไม

  • @AFKMaiNgarm
    @AFKMaiNgarm 2 หลายเดือนก่อน

    ส่วนโค้งมี่เกิดจากปลายเข็มวินาทีเดินได้1วิ

  • @pozzed1621
    @pozzed1621 22 วันที่ผ่านมา

    542 AU. ตอนนี้ยานVoyagerยังไปได้ไม่ถึง 170AU.เลยนะ ใช้เวลาไป47ปี
    542AUเราจะใช้เวลากี่ปีละครับเนี่ย....😂😂😂

  • @ไพโรจน์ชัยอมรนุกูล
    @ไพโรจน์ชัยอมรนุกูล 2 หลายเดือนก่อน

    ยากเกินไปก็ใช้ดาวพฤหัสสิครับ

  • @treethepinsuk
    @treethepinsuk 2 หลายเดือนก่อน

    ในตอนนี้ Voyager 1 ห่างจากโลก 164.7 AU เองครับ!!!!!

  • @ZhangLi397
    @ZhangLi397 หลายเดือนก่อน

    น่าจะมีดาวมวลมากๆดวงอื่นที่มีจุดโฟกัสใกล้โลกเนาะ จะได้ไม่ต้องเดินทางไกล

  • @patipanhemuthai4402
    @patipanhemuthai4402 2 หลายเดือนก่อน +1

    งั้นในหนัง 3 body problem ก็ทำได้ จิงอะดิ 5555+ หนังชอบเติมเต็มความเป็นไปได้ ทางความคิด 555+

  • @BallRune
    @BallRune 2 หลายเดือนก่อน

    โหดมากๆทำไมคิดวิธีนี้ไม่ออกนะเรื่องเลนส์ความโนมถ่วงรู้มานานแล้ว นี้ไงรู้แล้วรู้ไว้ทำอะไร

  • @จู๋จี๋ดู่ดี๋-จ8ส
    @จู๋จี๋ดู่ดี๋-จ8ส 2 หลายเดือนก่อน

    ถ้านิโคล่า เทสล่า ไม่ตาย คงทำได้ เขาคือมนุษย์ อัศจรรย์และอัจฉริยะ

  • @ekkarinp.4590
    @ekkarinp.4590 3 วันที่ผ่านมา

    ถ้าใช้ดาวดวงอื่น ที่ห่างจากโลกเรา 500 AU แทนดวงอาทิตย์ล่ะครับ ?

  • @takonket
    @takonket 2 หลายเดือนก่อน

    เนื้อหานี้อย่างกับหลุดออกมาจากนิยายthree body problem

  • @tbm5558
    @tbm5558 2 หลายเดือนก่อน

    เราใช้ดาวพฤหัสบดี, ดาวอื่นๆ ที่จุดรวมแสงใกล้ๆโลกเราดีกว่ามั้ยครับ

    • @AttackhokeChoosritanawat
      @AttackhokeChoosritanawat 2 หลายเดือนก่อน

      จุดรวมแสงมันน่าตะไกลกว่าดวงอาทิตย์นะเพราะมวลน้อยกว่ามาก บิดกาบอวกาศได้น้อยกว่าดวงอาทิตย์

  • @Sonideejay_Tum
    @Sonideejay_Tum 2 หลายเดือนก่อน

    อัจฉริยะ

  • @9kongkawee
    @9kongkawee 2 หลายเดือนก่อน

    ป้าดดดดดดดด ติโธ่ 😮😮😮

  • @Thaiiban
    @Thaiiban 2 หลายเดือนก่อน

    เอาแค่ดวงจันทร์ก่อนก็พอ

    • @techoffside
      @techoffside  2 หลายเดือนก่อน

      ดวงจันทร์เป็นดาวฤกษ์ตรงไหน

  • @YouTube_Thailand710
    @YouTube_Thailand710 2 หลายเดือนก่อน

    ตามหา ดาวนาเม็กครับ เจอยังครับตอนนี้😂😂หยอกๆๆ

  • @deva9335
    @deva9335 2 หลายเดือนก่อน

    จุดรวมแสง สมัยเรียนร้อนนะนั่น ตอนเด็กชอบเอาไปเผากระดาษ

  • @medimnpa
    @medimnpa 2 หลายเดือนก่อน

    ยังไม่สามารถหาจุดรวม ของการหักเห จากเลนส์ความโน้นถ่วง จากดวงอาทตย์ได้

  • @DJ_BIB
    @DJ_BIB 2 หลายเดือนก่อน

    ใช้ดาวอื่นแทน ที่จุดโฟกัสอยู่ใกล้เรา

    • @techoffside
      @techoffside  2 หลายเดือนก่อน +1

      ดาวฤกษ์นะไม่ใช่เซเว่นจะได้หาสาขาใกล้ๆได้ ใกล้สุดอยู่ห่างออกไป 4.25 ปีแสง Proxima Centauri

  • @funnymoment3882
    @funnymoment3882 2 หลายเดือนก่อน

    เหมือนหนังสักเรื่อง

  • @Notesound80
    @Notesound80 2 หลายเดือนก่อน

    🥰

  • @MrJoEagle
    @MrJoEagle 21 วันที่ผ่านมา

    อ๋อ วิธีการนี้มีพูดในหนังเรื่อง ซานถี ใน Netflix นี่เองได้ฟังครั้งแรกยัง งง พอได้ฟังจากพี่หลาม ก็ยูเรก้า

  • @bodycall01
    @bodycall01 2 หลายเดือนก่อน

    ยึดตามทฤษฎีนีั ไม่จำเป็นต้องใช้ดวงอาทิตย์ก็ได้ เอาดาวฤกษ์ ขนาดใหญ่ ๆ ที่มาจุดโฟกัสใกล้ โลกก็ได้

    • @techoffside
      @techoffside  2 หลายเดือนก่อน

      มีดวงไหนใกล้โลกมากกว่าดวงอาทิตย์มั่ง ดวงอื่นใกล้สุดอยู่ห่าง 4.25 ปีแสง

  • @sanyamathachan2355
    @sanyamathachan2355 2 หลายเดือนก่อน

    apple น่าจะซื้อลิขสิทธิ์ เจมเว้บแล้วเอามาลงไอโฟน

  • @morningdew2429
    @morningdew2429 2 หลายเดือนก่อน

    เนปจูน 30 au

  • @nathayarnkaewket7896
    @nathayarnkaewket7896 12 วันที่ผ่านมา

    นักวิทย เอาข้อมูลทุกกล้องบนโลกที่มีมากกว่าหลายตัวทั้วโลก แล้วมันมีกี่ตัว ทำไมไม่หาข้อมูลมาให้ชัวรก่อนหล่ะ ฟังแล้วอดขำมิได้

  • @TakaU.-kx8vl
    @TakaU.-kx8vl 2 หลายเดือนก่อน

    😮😮😮