ธรรมวิภาค จากหนังสือนักธรรมตรี

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 ก.ย. 2017
  • ธรรมวิภาค จากหนังสือนักธรรมตรี
    ดู​เพิ่มเติม​ได้ที่​ • นักธรรมตรี

ความคิดเห็น • 20

  • @poohpkk
    @poohpkk 2 ปีที่แล้ว +1

    สาธุครับ😃

  • @user-rd2vd1mi6r
    @user-rd2vd1mi6r 3 ปีที่แล้ว +2

    ๑๘.มหาเชตะวันโต พุทธบูชา🙏🙏🙏

  • @user-oc8nm3wq7k
    @user-oc8nm3wq7k 4 ปีที่แล้ว +1

    สาธุค่ะ

  • @patipankaka9991
    @patipankaka9991 6 ปีที่แล้ว +3

    สาธุครับ

  • @user-hs5ks2dd1f
    @user-hs5ks2dd1f 5 ปีที่แล้ว

    สาธุขอบคุณครับ

  • @Buddhism_theologian
    @Buddhism_theologian  6 ปีที่แล้ว +4

    มีผู้ไปกราบเรียนกับหลวงปู่ดุลย์ อตุโล เรื่องงานที่มีการจัดกันบ่อยๆใกล้วัดว่ารบกวนการปฏิบัติ
    ..ท่านได้ตอบดังนี้"มัวสนใจอะไรกับสิ่งเหล่านั้น ธรรมดาแสงย่อมสว่าง ธรรมดาเสียงย่อมดัง หน้าที่ของมันเป็นเช่นนั้นเอง เราไม่ใส่ใจฟังเสียก็หมดเรื่อง จงทําตัวเราไม่ให้เป็นปฏิปักษ์กับสิ่งแวดล้อม เพราะมันมีอยู่อย่างนี้ เป็นอยู่อย่างนี้เอง เพียงแต่ทําความเข้าใจกับมันให้ถ่องแท้ด้วยปัญญาอันลึกซึ้งเท่านั้นเอง"

  • @nuttee_4276
    @nuttee_4276 6 ปีที่แล้ว +6

    มันควรมีแต่เพลงเบาๆ อย่ามีเสียงแซ่ๆๆๆ น่าเบื่อ

  • @ruangchaichairungruangkit6409
    @ruangchaichairungruangkit6409 5 ปีที่แล้ว +3

    เสียงซาวด์ดังรบกวนสมาธิมาก ช่วยเบาๆหน่อยท่าน

  • @user-lm4ne1go8b
    @user-lm4ne1go8b 2 ปีที่แล้ว +2

    We

  • @sketdance5186
    @sketdance5186 6 ปีที่แล้ว +1

    ก็ม่ายรู้ซินะ สาธุ 555+

  • @SANGCHAI.
    @SANGCHAI. 5 ปีที่แล้ว +2

    ซาวด์ดนตรีมีลิขสิทธิ์ จึงทำให้
    โหลดแบบออฟไลน์ไม่ได้

  • @tanakitkamsod6714
    @tanakitkamsod6714 5 ปีที่แล้ว +1

    อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั้งสอน อปัณณกปฏิปทา สามัญลักษณะ อย่าลืมอย่างนี้ครับ

    • @takuitvalley2512
      @takuitvalley2512 5 ปีที่แล้ว

      อปัณณกปฏิปทา 3 (ข้อปฏิบัติที่ไม่ผิด, ปฏิปทาที่เป็นส่วนแก่นสารเนื้อแท้ ซึ่งจะนำผู้ปฏิบัติให้ถึงความเจริญงอกงามในธรรม เป็นผู้ดำเนินอยู่ในแนวทางแห่งความปลอดพ้นจากทุกข์อย่างแน่นอนไม่ผิดพลาด - sure course; sure practice; unimpeachable path)
      1. อินทรียสังวร (การสำรวมอินทรีย์ คือระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงำใจ เมื่อรับรู้อารมณ์ด้วยอินทรีย์ทั้ง 6 - control of the senses)
      2. โภชเน มัตตัญญุตา (ความรู้จักประมาณในการบริโภค คือรู้จักพิจารณารับประทานอาหารเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายใช้ทำกิจให้ชีวิตผาสุก มิใช่เพื่อสนุกสนาน มัวเมา- moderation in eating)
      3. ชาคริยานุโยค (การหมั่นประกอบความตื่น ไม่เห็นแก่นอน คือ ขยันหมั่นเพียรตื่นตัวอยู่เป็นนิตย์ ชำระจิตมิให้มีนิวรณ์ พร้อมเสมอทุกเวลาที่จะปฏิบัติกิจให้ก้าวหน้าต่อไป - practice of wakefulness)
      พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
      พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
      พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

    • @user-io8hq6mk5k
      @user-io8hq6mk5k 4 ปีที่แล้ว

      เสียงชาวด์ดนตรีดัง

  • @user-ln9qh4kx5b
    @user-ln9qh4kx5b 5 ปีที่แล้ว +3

    ไม่ต้องใส่เสียงซาวร์รบกวนการฟัง

    • @Buddhism_theologian
      @Buddhism_theologian  5 ปีที่แล้ว

      ความพอใจกับไม่พอใจ​
      ความเป็นประโยชน์​กับไม่เป็น​ประโยชน์​

  • @user-nu9xx7ey9r
    @user-nu9xx7ey9r 5 ปีที่แล้ว +3

    ถ้ามีตัวหนังสือประกอบจะดีมากเลยคับ

    • @santo1278
      @santo1278 2 ปีที่แล้ว +1

      จริงครับโยมจะได้ท่องตามด้วยจำง่าย

  • @nuttee_4276
    @nuttee_4276 6 ปีที่แล้ว +2

    เสียงซาวมันกวนเสียงพูดมากเกินไป

    • @Buddhism_theologian
      @Buddhism_theologian  6 ปีที่แล้ว +2

      NUTTEE _
      เสียงจั๊กจั่นเป็นซาวด์ มันไม่มีปรับน่ะ ปรับจิตของผู้ฟังดีกว่า
      ทนฟังมันหน่อยแล้วกัน เอาแต่เนื้อหาก็พอ สาธุ