ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
เสริมนิดนึงครับ พูดถูกแต่รูปอาจจะทำให้เข้าใจผิดไปนิดนึง😂แบคทีเรียแอมโมเนียที่พี่บอก ดูจากรูปคือมันกินขี้เข้าไปเลย แต่จริงๆมันจะมีแบคทีเรียอีกตัวคือพวก Bacillus spp ซึ่งจะมากินขี้ปลาแล้วย่อยออกมาเป็นแอมโมเนียก่อน พวกนี้มีขายทั่วไปในร้านต่างๆและไม่ได้ช่วยทำให้แอมโมเนียในน้ำลดลงนะ!!! แต่ถือเป็นแบคทีเรียดีจำพวก probiotics คือมันจะอาศัยในทางเดินอาหารของปลา ช่วยป้องกันแบคทีเรียก่อโรคต่างๆ เสริมภูมิคุ้มกันให้ปลาแต่!!เน้นอีกครั้ง ไม่ได้ช่วยลดแอมโมเนียทีนี้เราจะสังเกตได้ไงว่าแบคทีเรียที่เราซื้อเป็น Bacillus หรือ Nitrifying(ย่อยแอมโมเนีย) ดูง่ายๆครับถ้าเป็นผงจะเป็น Bacillus ถ้าเป็นน้ำ/แคปซูลน้ำจะเป็นพวก nitrifying เพราะแบคทีเรียกลุ่มย่อยแอมโมเนียไม่สร้างสปอร์ทำให้ไม่สามารถนำมาทำแห้งให้เป็งผงได้นั้นเองงงแต่อาจจะมีบางคนสงสัยว่าเราก็ซื้อแบบผงมาใส่ทำไมแอมโมเนียลด เพราะแบคทีเรียพวกนี้มีอยู่ทั่วๆไปรอบๆตัวเราครับ การไปเพิ่ม Bacillus = เพิ่มแอมโมเนีย = เพิ่มอาหารให้พวก Nitrifying เติบโตครับ *ถึงไม่ใส่แบคทีเรียวัฐจักรพวกนี้ก็เกิดเองได้ครับ แต่การใส่แบคทีเรียเป็นการเร่งให้เกิดกระบวนการเร็วขึ้นจาก 1-2 เดือน เป็น 3-4วัน
ขอบคุณมากๆเลยครับ ที่มาเพิ่มเติมให้🥰🥰🥰🙏🙏🙏🙏
ดูคลิปแล้วมาอ่าน กระจ่างเลยทีเดียวครับ❤
คุณเข้าใจวัฏจักรไนโตรเจนแบบชัดเจนครับยอดเยี่ยม 🎉
แบบผงหรือน้ำก็เหมือนกันใช่มั้ยคะ😊
เนื้อหาเข้าใจง่ายดีครับ!55🐰
เข้าใจว่าไงบ้างครับ
5555
ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบสำคัญของกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบของโปรตีนทุกชนิดในสิ่งมีชีวิต พืชใช้ไนโตรเจนได้ใน 2 รูป คือแอมโมเนียม (ammonium หรือ NH4 +) และไนเตรต (nitrate หรือ NO3 -) และแม้ว่าในบรรยากาศจะประกอบด้วยไนโตรเจนถึง 80% แต่อยู่ในรูปก๊าซไนโตรเจน (N2) ซึ่งพืชไม่สามารถนำมาใช้ได้ ไนโตรเจนสามารถเข้าสู่วัฏจักรไนโตรเจนของระบบนิเวศได้ 2 ทางคือ 1. ฝนชะล้างไนโตรเจนกลายเป็นแอมโมเนียมและไนเตรต ไหลลงสู่ดิน และพืชใช้เป็นธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโตโดยปฏิกิริยาแอสซิมิเลชั่น (assimilation) 2. การตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixation) ซึ่งมีเพียงแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้นที่สามารถใช้ก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศเปลี่ยนเป็นไนโตรเจนในรูปที่พืชสามารถนำมาใช้ได้แบคทีเรียพวกนี้มีทั้งที่อยู่ในดินและที่อยู่ในสิ่งมีชีวิต เช่น ไรโซเบียมในปมรากถั่ว และแบคทีเรียในเฟินน้ำพวกแหนแดง (Azolla) นอกจากนั้นยังมีแบคทีเรียสีเขียวแกมน้ำเงินในน้ำบางชนิด ในปัจจุบันการผลิตปุ๋ยไนโตรเจนใช้ในเกษตรกรรมก็เป็นแหล่งไนโตรเจนสำคัญที่เติมไนโตรเจนสู่ระบบนิเวศ ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารสำคัญที่พืชใช้ในโครงสร้างและแมทาบอลิซึม สัตว์กินพืชและผู้บริโภคลำดับถัดมาได้ใช้ไนโตรเจนจากพืชนี่เองเป็นแหล่งสร้างโปรตีนและสารพันธุกรรม เมื่อพืชและสัตว์ตายลง ผู้ย่อยสลายพวกราและแบคทีเรียสามารถย่อยสลายไนโตรเจนในสิ่งมีชีวิตให้กลับเป็นแอมโมเนียมซึ่งพืชสามารถนำมาใช้ได้ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า แอมโมนิฟิเคชัน (ammonification) ไนโตรเจนในสารอินทรีย์สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นก๊าซไนโตรเจนโดยผ่าน 2 กระบวนการ คือ 1. ไนตริฟิเคชัน (nitrification) แบคทีเรียบางชนิดใช้แอมโมเนียมในดินเป็นแหล่งพลังงานและทำให้เกิดไนไตรต์ (NO2 -) ซึ่งเปลี่ยนเป็นไนเตรตซึ่งพืชใช้ได้ด้วย
นี้เลยครับ555
ก็อปในเน็ตมาป้าวว5555
ใส่แบคทีเรียในตู้โล่งมีแต่กรองฟองน้ำแบคทีเรียจะอาศัยอยู่ในกรองฟองน้ำได้ไหมครับ
ได้ครับ
สอบถามหน่อยครับบบ ใส่สาหร่ายแล้วใส่แบททีเรียน้ำมันมีกลิ่นนะครับ ต้องเอาสาหร่ายออกไหมครับ ไฟเปิดให้ 4ชม. ขึ้นทุกวันครับ
ได้ใส่กรองไปด้วยไหมครับ
@@wkchannelll ใส่ครับ เป็นกรองบนนะครับ
เสริมนิดนึงครับ พูดถูกแต่รูปอาจจะทำให้เข้าใจผิดไปนิดนึง😂
แบคทีเรียแอมโมเนียที่พี่บอก ดูจากรูปคือมันกินขี้เข้าไปเลย แต่จริงๆมันจะมีแบคทีเรียอีกตัวคือพวก Bacillus spp ซึ่งจะมากินขี้ปลาแล้วย่อยออกมาเป็นแอมโมเนียก่อน
พวกนี้มีขายทั่วไปในร้านต่างๆและไม่ได้ช่วยทำให้แอมโมเนียในน้ำลดลงนะ!!! แต่ถือเป็นแบคทีเรียดีจำพวก probiotics คือมันจะอาศัยในทางเดินอาหารของปลา ช่วยป้องกันแบคทีเรียก่อโรคต่างๆ เสริมภูมิคุ้มกันให้ปลาแต่!!เน้นอีกครั้ง ไม่ได้ช่วยลดแอมโมเนีย
ทีนี้เราจะสังเกตได้ไงว่าแบคทีเรียที่เราซื้อเป็น Bacillus หรือ Nitrifying(ย่อยแอมโมเนีย) ดูง่ายๆครับถ้าเป็นผงจะเป็น Bacillus ถ้าเป็นน้ำ/แคปซูลน้ำจะเป็นพวก nitrifying เพราะแบคทีเรียกลุ่มย่อยแอมโมเนียไม่สร้างสปอร์ทำให้ไม่สามารถนำมาทำแห้งให้เป็งผงได้นั้นเองงง
แต่อาจจะมีบางคนสงสัยว่าเราก็ซื้อแบบผงมาใส่ทำไมแอมโมเนียลด เพราะแบคทีเรียพวกนี้มีอยู่ทั่วๆไปรอบๆตัวเราครับ การไปเพิ่ม Bacillus = เพิ่มแอมโมเนีย = เพิ่มอาหารให้พวก Nitrifying เติบโตครับ
*ถึงไม่ใส่แบคทีเรียวัฐจักรพวกนี้ก็เกิดเองได้ครับ แต่การใส่แบคทีเรียเป็นการเร่งให้เกิดกระบวนการเร็วขึ้นจาก 1-2 เดือน เป็น 3-4วัน
ขอบคุณมากๆเลยครับ ที่มาเพิ่มเติมให้🥰🥰🥰🙏🙏🙏🙏
ดูคลิปแล้วมาอ่าน กระจ่างเลยทีเดียวครับ❤
คุณเข้าใจวัฏจักรไนโตรเจนแบบชัดเจนครับยอดเยี่ยม 🎉
แบบผงหรือน้ำก็เหมือนกันใช่มั้ยคะ😊
เนื้อหาเข้าใจง่ายดีครับ!55🐰
เข้าใจว่าไงบ้างครับ
5555
ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบสำคัญของกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบของโปรตีนทุกชนิดในสิ่งมีชีวิต พืชใช้ไนโตรเจนได้ใน 2 รูป คือแอมโมเนียม (ammonium หรือ NH4 +) และไนเตรต (nitrate หรือ NO3 -) และแม้ว่าในบรรยากาศจะประกอบด้วยไนโตรเจนถึง 80% แต่อยู่ในรูปก๊าซไนโตรเจน (N2) ซึ่งพืชไม่สามารถนำมาใช้ได้ ไนโตรเจนสามารถเข้าสู่วัฏจักรไนโตรเจนของระบบนิเวศได้ 2 ทางคือ
1. ฝนชะล้างไนโตรเจนกลายเป็นแอมโมเนียมและไนเตรต ไหลลงสู่ดิน และพืชใช้เป็นธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโตโดยปฏิกิริยาแอสซิมิเลชั่น (assimilation)
2. การตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixation) ซึ่งมีเพียงแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้นที่สามารถใช้ก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศเปลี่ยนเป็นไนโตรเจนในรูปที่พืชสามารถนำมาใช้ได้แบคทีเรียพวกนี้มีทั้งที่อยู่ในดินและที่อยู่ในสิ่งมีชีวิต เช่น ไรโซเบียมในปมรากถั่ว และแบคทีเรียในเฟินน้ำพวกแหนแดง (Azolla) นอกจากนั้นยังมีแบคทีเรียสีเขียวแกมน้ำเงินในน้ำบางชนิด ในปัจจุบันการผลิตปุ๋ยไนโตรเจนใช้ในเกษตรกรรมก็เป็นแหล่งไนโตรเจนสำคัญที่เติมไนโตรเจนสู่ระบบนิเวศ
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารสำคัญที่พืชใช้ในโครงสร้างและแมทาบอลิซึม สัตว์กินพืชและผู้บริโภคลำดับถัดมาได้ใช้ไนโตรเจนจากพืชนี่เองเป็นแหล่งสร้างโปรตีนและสารพันธุกรรม เมื่อพืชและสัตว์ตายลง ผู้ย่อยสลายพวกราและแบคทีเรียสามารถย่อยสลายไนโตรเจนในสิ่งมีชีวิตให้กลับเป็นแอมโมเนียมซึ่งพืชสามารถนำมาใช้ได้ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า แอมโมนิฟิเคชัน (ammonification)
ไนโตรเจนในสารอินทรีย์สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นก๊าซไนโตรเจนโดยผ่าน 2 กระบวนการ คือ
1. ไนตริฟิเคชัน (nitrification) แบคทีเรียบางชนิดใช้แอมโมเนียมในดินเป็นแหล่งพลังงานและทำให้เกิด
ไนไตรต์ (NO2 -) ซึ่งเปลี่ยนเป็นไนเตรตซึ่งพืชใช้ได้ด้วย
นี้เลยครับ555
ก็อปในเน็ตมาป้าวว5555
ใส่แบคทีเรียในตู้โล่งมีแต่กรองฟองน้ำแบคทีเรียจะอาศัยอยู่ในกรองฟองน้ำได้ไหมครับ
ได้ครับ
สอบถามหน่อยครับบบ ใส่สาหร่ายแล้วใส่แบททีเรียน้ำมันมีกลิ่นนะครับ ต้องเอาสาหร่ายออกไหมครับ ไฟเปิดให้ 4ชม. ขึ้นทุกวันครับ
ได้ใส่กรองไปด้วยไหมครับ
@@wkchannelll ใส่ครับ เป็นกรองบนนะครับ