ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขอบคุณคำแนะนำดีๆค่ะ
ขอบคุณเช่นกันค้าบบ 🤩
1. วางแผนการทำงานล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งสัปดาห์ เพื่อเตรียมการที่จำเป็นและปรับแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริงมากยิ่งขึ้น 2. ใส่กิจกรรมทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวไว้ในตารางการทำงานเพื่อให้มั่นใจว่าสิ่งที่เราตั้งเป้าว่าจะทำ โดยเฉพาะเรื่องส่วนตัวซึ่งไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กน้อยขนาดไหนก็ตาม จะไม่ถูกแทรกโดยงานอื่น (ไม่ให้งานของคนอื่นมีความสำคัญมากไปกว่างานของตัวเอง)3. การเรียนรู้ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง คือ การจดโน๊ต เช่น การจดบันทึกหรือประเด็นสำคัญๆ ในการประชุมด้วยตัวเองนอกจากจะทำให้เราสามารถเชื่อมโยงงานของฝ่ายต่างๆ แล้ว เรายังได้เรียนรู้งานเพิ่มขึ้นอีกด้วย 4. การจัดข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นหมวดหมู่ จะช่วยให้เราค้นหาข้อมูลได้สะดวกขึ้น ช่วยประหยัดเวลา (เทคนิคการจัดหมวดหมู่ไฟล์แบบ PARA : P = Project, A = Area งานที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ทำซ้ำๆ เสมอๆ รายสัปดาห์/เดือน/ไตรมาส, R = Resource ข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์และสามารถนำมาใช้ได้ในอนาคต เช่น เอกสารการนำเสนอต่างๆ ผลการวิจัย ข้อมูลการตลาด, A = Archive เอกสาร/ข้อมูลที่เสร็จสิ้นไปแล้ว แต่ยังเก็บเอาไว้อ้างอิง) 5. เมื่อถูกตั้งคำถาม ตอบให้ตรงกับคำถามก่อนแล้วจึงค่อยอธิบายข้อมูลต่างๆ ประกอบ6. คิดก่อนการลงมือทำด้วยการโฟกัสงาน 20% ที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ 80% 7. ก่อนการทำ Presentation Slide ให้เขียนโครงเรื่อง(Story)ในการะดาษก่อน อย่าเริ่มต้นการนั่งทำ Slide หน้าจอคอมพิวเตอร์ด้วยการคิดโครงเรื่องเพราะจะให้เสียเวลานานกว่า 8. จัดเวลากับประเภทของงานให้สอดคล้องกัน จัดเวลาเช้าซึ่งเป็นเวลาที่สมองมันไม่ล้าและเรายังมีพลังเต็มเปี่ยมสำหรับงานสำคัญๆ ก่อน การประชุมที่มีการถกเถียง แลกเปลี่ยนความเห็นกันควรอยู่ในช่วงบ่าย ส่วนงานที่ทำเป็นประจำอยู่แล้วให้จัดไว้ในช่วงเย็น9. เวลาที่ความคิดเห็นขัดแย้งหรือไม่ตรงกันกับเพื่อนร่วมงาน ให้จินตนาการว่าเราอีกอีกฝ่ายหนึ่งและเรามีความคิดอย่างไรกับ 3 คำถาม : อะไรคือสิ่งที่เขาต้องการ/ ถ้าทำไม่สำเร็จปัญหาคืออะไร/ อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้เขาต้องการสิ่งนั้นหรือผลลัพธ์แบบนั้น ถ้าเราเข้าใจคำตอบของทั้งสามคำถามนี้อาจทำให้เราค้นพบกับคำตอบใหม่ๆ ที่จะให้ทั้งเราและอีกฝ่ายพึงพอใจด้วยกันทั้งคู่ (Win-Win)10. การปฏิเสธอย่างสุภาพ หรือการไม่ทำงานบางอย่างตามคำขอร้องของผู้อื่น อาจจะช่วยให้เราสามารถตัดงานบางงานออกจากตารางของเราได้ และทำให้เรามีเวลาทำงานอื่นที่มีความสำคัญมากกว่าสำหรับตัวเราเอง11. การพัฒนาตัวเองที่ง่ายที่สุด คือ การเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ และนำสิ่งนั้นมาลองฝึกฝนกับตัวเอง12. เรียนรู้ Framework ในการทำงานรูปแบบต่างๆ เพื่อเลือกมาปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆหรือปรับใช้ตามความเหมาะสม ไม่ยึดติดกับรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง 13. การอ่านหนังสือในเรื่องที่เราสนใจเป็นประจำ อาจจะไม่นานแต่อ่านทุกวัน การอ่านเป็นการฝึกสมาธิและเป็นการพัฒนาสมองที่ดีอย่างหนึ่ง14. ฝึกการอ่านหนังสือภาษาอังกฤษโดยเริ่มอ่านจากหัวเรื่อง/ หัวข้อที่เราชอบหรือสนใจเป็นพิเศษก่อน 15. เมื่อทำงานร่วมกับผู้อื่นและประสบความสำเร็จให้มอบเครดิตจากผลลัพธ์ของงานนั้นกับผู้อื่นด้วย ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวเราเอง ทำให้เราได้รับการยอมรับนับถือจากผู้อื่น เป็นที่น่าเคารพนับถือเพราะไม่เก็บความดีความชอบไว้เพียงคนเดียวขอบคุณครับ 😊
โอ้ววว สุดยอดมากเลยครับ ขอบคุณมากครับผมม
@@think2532 ขอบคุณคำแนะนำดีๆ ด้วยเช่นกันครับ
รอ Part2 ครับ 😊
พรุ่งนี้ (4 Oct) เวลา 6am มาแล้วครับ ขอบคุณมากเลยค้าบ
ขอบคุณคำแนะนำดีๆค่ะ
ขอบคุณเช่นกันค้าบบ 🤩
1. วางแผนการทำงานล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งสัปดาห์ เพื่อเตรียมการที่จำเป็นและปรับแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริงมากยิ่งขึ้น
2. ใส่กิจกรรมทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวไว้ในตารางการทำงานเพื่อให้มั่นใจว่าสิ่งที่เราตั้งเป้าว่าจะทำ โดยเฉพาะเรื่องส่วนตัวซึ่งไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กน้อยขนาดไหนก็ตาม จะไม่ถูกแทรกโดยงานอื่น (ไม่ให้งานของคนอื่นมีความสำคัญมากไปกว่างานของตัวเอง)
3. การเรียนรู้ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง คือ การจดโน๊ต เช่น การจดบันทึกหรือประเด็นสำคัญๆ ในการประชุมด้วยตัวเองนอกจากจะทำให้เราสามารถเชื่อมโยงงานของฝ่ายต่างๆ แล้ว เรายังได้เรียนรู้งานเพิ่มขึ้นอีกด้วย
4. การจัดข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นหมวดหมู่ จะช่วยให้เราค้นหาข้อมูลได้สะดวกขึ้น ช่วยประหยัดเวลา (เทคนิคการจัดหมวดหมู่ไฟล์แบบ PARA : P = Project, A = Area งานที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ทำซ้ำๆ เสมอๆ รายสัปดาห์/เดือน/ไตรมาส, R = Resource ข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์และสามารถนำมาใช้ได้ในอนาคต เช่น เอกสารการนำเสนอต่างๆ ผลการวิจัย ข้อมูลการตลาด, A = Archive เอกสาร/ข้อมูลที่เสร็จสิ้นไปแล้ว แต่ยังเก็บเอาไว้อ้างอิง)
5. เมื่อถูกตั้งคำถาม ตอบให้ตรงกับคำถามก่อนแล้วจึงค่อยอธิบายข้อมูลต่างๆ ประกอบ
6. คิดก่อนการลงมือทำด้วยการโฟกัสงาน 20% ที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ 80%
7. ก่อนการทำ Presentation Slide ให้เขียนโครงเรื่อง(Story)ในการะดาษก่อน อย่าเริ่มต้นการนั่งทำ Slide หน้าจอคอมพิวเตอร์ด้วยการคิดโครงเรื่องเพราะจะให้เสียเวลานานกว่า
8. จัดเวลากับประเภทของงานให้สอดคล้องกัน จัดเวลาเช้าซึ่งเป็นเวลาที่สมองมันไม่ล้าและเรายังมีพลังเต็มเปี่ยมสำหรับงานสำคัญๆ ก่อน การประชุมที่มีการถกเถียง แลกเปลี่ยนความเห็นกันควรอยู่ในช่วงบ่าย ส่วนงานที่ทำเป็นประจำอยู่แล้วให้จัดไว้ในช่วงเย็น
9. เวลาที่ความคิดเห็นขัดแย้งหรือไม่ตรงกันกับเพื่อนร่วมงาน ให้จินตนาการว่าเราอีกอีกฝ่ายหนึ่งและเรามีความคิดอย่างไรกับ 3 คำถาม : อะไรคือสิ่งที่เขาต้องการ/ ถ้าทำไม่สำเร็จปัญหาคืออะไร/ อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้เขาต้องการสิ่งนั้นหรือผลลัพธ์แบบนั้น ถ้าเราเข้าใจคำตอบของทั้งสามคำถามนี้อาจทำให้เราค้นพบกับคำตอบใหม่ๆ ที่จะให้ทั้งเราและอีกฝ่ายพึงพอใจด้วยกันทั้งคู่ (Win-Win)
10. การปฏิเสธอย่างสุภาพ หรือการไม่ทำงานบางอย่างตามคำขอร้องของผู้อื่น อาจจะช่วยให้เราสามารถตัดงานบางงานออกจากตารางของเราได้ และทำให้เรามีเวลาทำงานอื่นที่มีความสำคัญมากกว่าสำหรับตัวเราเอง
11. การพัฒนาตัวเองที่ง่ายที่สุด คือ การเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ และนำสิ่งนั้นมาลองฝึกฝนกับตัวเอง
12. เรียนรู้ Framework ในการทำงานรูปแบบต่างๆ เพื่อเลือกมาปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆหรือปรับใช้ตามความเหมาะสม ไม่ยึดติดกับรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
13. การอ่านหนังสือในเรื่องที่เราสนใจเป็นประจำ อาจจะไม่นานแต่อ่านทุกวัน การอ่านเป็นการฝึกสมาธิและเป็นการพัฒนาสมองที่ดีอย่างหนึ่ง
14. ฝึกการอ่านหนังสือภาษาอังกฤษโดยเริ่มอ่านจากหัวเรื่อง/ หัวข้อที่เราชอบหรือสนใจเป็นพิเศษก่อน
15. เมื่อทำงานร่วมกับผู้อื่นและประสบความสำเร็จให้มอบเครดิตจากผลลัพธ์ของงานนั้นกับผู้อื่นด้วย ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวเราเอง ทำให้เราได้รับการยอมรับนับถือจากผู้อื่น เป็นที่น่าเคารพนับถือเพราะไม่เก็บความดีความชอบไว้เพียงคนเดียว
ขอบคุณครับ 😊
โอ้ววว สุดยอดมากเลยครับ ขอบคุณมากครับผมม
@@think2532 ขอบคุณคำแนะนำดีๆ ด้วยเช่นกันครับ
รอ Part2 ครับ 😊
พรุ่งนี้ (4 Oct) เวลา 6am มาแล้วครับ ขอบคุณมากเลยค้าบ