กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ครั้งที่ 6 เขตอำนาจสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 7 มิ.ย. 2019
  • อีบุ๊ค ถาม-ตอบวิอาญา
    แอพ Meb
    www.mebmarket.com/web/index.p...
    แอพ Ookbee
    www.ookbee.com/shop/BookInfo?...
    อ่านถามตอบวิอาญา readawrite
    www.readawrite.com/c/f99cee98...
    ปรึกษาคดีไม่มีค่าใช้จ่าย/รับว่าความทั่วราชอาณาจักร
    line.me/ti/p/~songkran5703
    FB:สงกรานต์ ทนายสงกรานต์ สาระกิจ

ความคิดเห็น • 54

  • @ChalermwutSarakij
    @ChalermwutSarakij  4 ปีที่แล้ว +3

    ตัวอย่างหนังสือ
    drive.google.com/open?id=1afQId8VPExSdtPM_ty6z5qffsAmS5kKc

  • @narawitdangchom1498
    @narawitdangchom1498 หลายเดือนก่อน

    น่าจะมีเขียนรูป ประกอบการอธิบายด้วยจะดีมากครับ

  • @linchichan914
    @linchichan914 7 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์อธิบายดีมากค่ะ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆนะคะ🙏🏼

  • @champ.4k677
    @champ.4k677 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ อ.

  • @mokhwan1609
    @mokhwan1609 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ

  • @user-nj2ih3yy4f
    @user-nj2ih3yy4f 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดครับ

  • @torng3040
    @torng3040 4 ปีที่แล้ว

    ขอไลน์อาจารย์หน่อยครับ

  • @nathamonwongtha1621
    @nathamonwongtha1621 2 ปีที่แล้ว

    ผู้ต้องหา ฆ่าคนตายที่พะเยา ถูกจับที่เชียงราย พนง.สอบสวนที่เชียงรายมีอำนาจสอบสวนใช้มั้ยคะ แล้วถ้าอัยการสั่งฟ้องต้องสั่งฟ้องที่พะเยาหรือว่าเชียงรายคะ อ้างตามมาตราใดคะอาจารย์ ขอบคุณค่ะ

    • @ChalermwutSarakij
      @ChalermwutSarakij  2 ปีที่แล้ว

      ต้องดูว่าท้องที่ใดเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบครับ ตามมาตรา 18 ครับ

    • @nathamonwongtha1621
      @nathamonwongtha1621 2 ปีที่แล้ว

      @@ChalermwutSarakij หมายความว่าถ้าพนักงานสอบสวนในท้องที่ใดได้ทำการสอบสวนก็ต้องเป็นอัยการในท้องที่นั้นใช่มั้ยคะ

    • @ChalermwutSarakij
      @ChalermwutSarakij  2 ปีที่แล้ว

      @@nathamonwongtha1621 ใช่ครับ

  • @clearlot400
    @clearlot400 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะอาจารย์

  • @ChalermwutSarakij
    @ChalermwutSarakij  4 ปีที่แล้ว +1

    แนะนำหนังสือครับ
    www.mebmarket.com/index.php?action=SearchBook&type=author&search=%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%92%E0%B8%B4%20%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88&exact_keyword=1

  • @user-th1rz2nl2v
    @user-th1rz2nl2v ปีที่แล้ว +1

    1:18:00 ใช้มาตรา 19(5) ผู้ต้องหาเดินทางไม่ได้หรอครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ไม่ได้ เพราะสภ.เมืองลำปางไม่ได้เกี่ยวข้องเลย เมื่อผู้ต้องหาเดินทางจากน่าน ไปพะยา ไปเชียงใหม่ โดยไม่ได้ผ่านลำปาง ย่อมหมายความว่า ผู้ต้องหาก็ไม่กระทำผิดขณะเดินทางผ่านด้วยเช่นกัน เมื่อสภ.ลำปางจับกุมได้ จึงย่อมแสดงถึงว่า ผู้ต้องหาหลบหนีการจับกุมไปที่ลำปางเท่านั้น จึงต้องพิจารณา (ข) ต่อ ซึ่งมีการแจ้งความไว้ที่สภ.เมืองเชียงใหม่ จึงต้องส่งกลับไปให้เป็นผู้รับผิดชอบในการสอบสวน

    • @sorawitn9982
      @sorawitn9982 ปีที่แล้ว

      @@Ample-pj8lu คือต้องดูพฤติการณ์ต่อเนื่องใช่มั้ยครับ เพราะผู้ต้องหาเดินทางเสร็จเเล้วมาหลบหนี

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      @Sorawit N ใช่ครับ คุณตำรวจ เพราะพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ต้องพิจารณาจาก 1. ความผิดเกิดขึ้นในท้องที่เดียว หรือ ในหลายท้องที่ 2. ความผิดเกิดขึ้นในท้องที่เดียวดูมาตรา 18 หากความผิดเกิดขึ้นในหลายท้องที่ดูมาตรา 19 ... ข้อสังเกต ในท้องที่ที่พบการกระทำความผิดก่อน ได้เริ่มทำการสอบสวนแล้วตั้งแต่จับจำเลยยังไม่ได้ ต่อมาจับจำเลยได้ในอีกท้องที่หนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคือ พนักงานสอบสวนที่พบการกระทำความผิดก่อน ดังนั้นในกรณีจับผู้ต้องหาได้ในภายหลัง แต่ปรากฏว่าได้มีการร้องทุกข์ไว้อีกท้องที่หนึ่ง ท้องที่ที่รับคำร้องทุกข์ไว้ก่อน ถือว่าเป็นท้องที่ที่พบการกระทำความผิดก่อน และเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ

  • @user-th1rz2nl2v
    @user-th1rz2nl2v ปีที่แล้ว

    56:00ขับรถลักทรัพย์(ฝาท่อ) ตั้งแต่พะเยาไปเชียงใหม่ ทำไมเป็น ม.19(4) แล้วเป็น ม.19(5)ได้ไหม? ผู้ต้องหาลักทรัพย์ระหว่างเดินทาง หรือ แยก ม.18 เป็นคดีๆไป เช่น ลักทรัพย์ที่ พะเยา ก็1 คดี มาลักทรัพย์ต่อที่ เชียงราย ก็อีก1คดี แล้วมาลักทรัพย์ที่เชียงใหม่ ก็อีกคดี ได้ไหมครับ
    54:00 ลักทรัพย์ที่อ.แม่ใจแล้วมาใช้กำลังที่อ.เมืองพะเยา เป็น ม.19(2) ทำไมไม่เป็น ม.19(3) กระทำต่อเนื่อง

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      ม.19(2) เป็นความผิดหลายกรรมหลายบท ต่างมาตรา ลงโทษทุกกระทง
      ม.19(3) เป็นความผิดบทเดียวกันต่อเนื่องเกินกว่า1ท้องที่
      ม.19(4) เป็นความผิดต่างกรรมต่างวาระต่างท้องที่ ตามป.อ.ม.91
      ม.19(5) ทุกท้องที่ขณะผู้ต้องหาเดินทางได้ แต่ในชีวิตจริง จะใช้(ก) ถ้าไม่ได้แจ้งความมาก่อน ท้องที่จับกุมได้ก่อน จึงเป็นผู้รับผิดชอบ หรือ (ข) ท้องที่ที่รับแจ้งความก่อน จะเป็นผู้รับผิดชอบในการสอบสวน แม้จะจับกุมได้ในท้องที่อื่นก็ต้องส่งตัวมาให้ท้องที่เกิดเหตุรับผิดชอบ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว +1

      แยก ม.18 เป็นคดีๆไปไม่ได้ เพราะ เข้า ม.19 แล้วจะกลับใช้ ม.18 ไม่ได้ ต้องแยกใช้ให้แยกขาดกันอย่างชัดเจน มิฉะนั้นแล้ว จะไม่มีอำนาจสอบสวน อัยการก็ไม่มีอำนาจฟ้อง ศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้อง

    • @user-th1rz2nl2v
      @user-th1rz2nl2v ปีที่แล้ว

      56:00 แยกเป็น ม.18 เป็นคดี ที่เกิดในแต่ละพื้นที่ๆไป
      54:00 เป็น 19(2) เพราะเข้าเงื่อนไข กรรมเดียวผิดหลายพื้นที่
      อาจารย์ เฉลยไปหลายอาทิตย์ แต่ไม่ได้มาแก้ไข เพราะจำไม่ได้ ว่าถามทิ้งไว้ที่นี่

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      คุณเข้าใจความหมายผิด คือ นาทีที่56:00 แยกเป็น ม.18 เป็นคดี ที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ในความผิดหลายท้องที่นั้น ในชีวิตจริง พนักงานสอบสวนและอัยการไม่ทำเช่นนั้น เพราะยุ่งยาก เสียเวลา เสียแรงงาน และถ้าเป็นความผิดบทเดียวกัน เมื่อผู้เสียหายร้องทุกข์ในพื้นที่เดียว แต่ผู้รับผิดชอบต่างสถานีตำรวจ ถ้าทนายจำเลยยื่นคำร้องขอรวมพิจารณาคดีเข้าด้วยกันได้เพื่อความสะดวกในการพิจารณาคดีของศาล จะมีปัญหาถูกยกฟ้องเพราะ พนักงานสอบสวนนอกพื้นที่ร้องทุกข์ก่อน จะไม่มีอำนาจรับผิดชอบ ตาม มาตรา19(ข) จึงเป็นจุดอ่อนให้ทนายจำเลยจะยกขึ้นต่อสู้ในเรื่องอำนาจฟ้อง

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu ปีที่แล้ว

      คุณเข้าใจความหมายผิด คือ นาทีที่54:00 มาตรา19(2) เพราะเข้าเงื่อนไข กรรมเดียวผิดหลายพื้นที่ นั่นคือ อาจารย์อธิบายตามตัวบทที่ว่า ความผิดหนึ่งกระทำในท้องที่หนึ่ง แต่มีอีกส่วนหนึ่งในอีกท้องที่หนึ่ง แต่คุณยกตัวอย่าง ลักทรัพย์ที่อ.แม่ใจแล้วมาใช้กำลังที่อ.เมือง พะเยา จึงต้องเป็นหลายกรรมหลายบทต่างมาตรา คือ ป.อ.ม.334 บทหนึ่ง กรรมหนึ่ง และ ป.อ.ม. 295 หรือ 297 แล้วแต่อันตรายที่เกิดขึ้น อีกบทหนึ่งกรรมหนึ่ง ในพื้นที่ต่างกัน ซึ่งเป็นการอธิบายตามโจทย์ที่คุณให้มาซึ่งไม่ใช่กรรมเดียว