หากทุกอย่างเป็นอนัตตา แล้วใครเป็นผู้ทำกรรมและรับผลแห่งกรรม

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 8 มิ.ย. 2021
  • โดย อ.ทวีศักดิ์ คุรุจิตธรรม
    วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔
    เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ธรรมสถานจุฬาฯ

ความคิดเห็น • 275

  • @12345678987654321537
    @12345678987654321537 3 ปีที่แล้ว +7

    ก็เพราะว่าถ้ายังมีการยึดถือตัวตนอยู่ตราบใด ผู้ทำกรรมก็ย่อมต้องรับผลกรรมของตนเองไม่มีใครมารับกรรมแทนผู้นั้นใด้ คำว่าอนัตตา คือไม่มีตัวตนนั้นเป็นคนละบริบท กับ คำว่ากรรม ถ้าเมื่อใดผู้ที่สามารถตัดความยึดมั่นใด้โดยเด็ดขาด จากความยึดถือ10 ประการแล้ว กรรมใดๆที่มีอยู่ของบุคคลใดย่อมหมดไปโดยอ้ตโนมัติหลังจากร่างกายผู้นั้นเสื่อมสลายไปแล้วนั่นเอง. เพราะเหตุที่ว่า ตัวเหตุที่จะต้องรับกรรมนั่นดับไปแล้ว เหมือนเปลวไฟ เทียนไข ใส้เทียน หมดแล้ว พลังงานความร้อน และพลังงานแสง ย่อมหมดด้วยเหมือนกัน เมื่อความยึดตัวตนหมด ร่างกายเปรียบเหมือนเทียนไข ก็จะไม่มาก่อร่างสร้างเทียนเล่มใหม่ ส่วนเปลวไฟ(ชีวะ)ก็มีไม่ใด้ ใส้เทียนเปรียบเหมือน(กรรม)ก็ไม่มีที่รองรับผลแห่งกรรม นี่เปรียบกับคำว่าอนัตตา ครับ เราไม่จับแพะมาชนแกะ คือ เรืองของกรรม กับอนัตตา มาปนก้น อันหนึ่งเป็น โลกียะ(กฎแห่งกรรม) และอันหนึ่งเป็นโลกุตระ(อนัตตา)ครับผม คำว่าปถุชน กับ อริยชน(ผู้เข้าถึงกระแสมุ่งไปสู่จุดหมาย) ธรรมะนั้นมีอยู่ สองชนิด 1.พุทธธรรม 2.ธรรมะโดยทั่วไปที่ปุถุชนประสบอยู่เป็นธรรมดาในชีวิต แต่พุทธธรรม เป็นธรรมะที่พุทธทรงค้นพบด้วยพระปัญญาที่เหนือมนุษย์ในสากลจักวาล แล้วนำมาสอนมนุษย์ให้ใด้รู้ เห็น เข้าถึงด้วยตนเอง โดยไม่อาศัยความเชื่อใดๆมาให้เชื่อตาม แต่พระองค์ให้มาพิสูจน์ด้วยตนเอง ถ้าพิสูจน์แล้วประสบผลตาม สิ่งที่พระองค์สอน ก็ย่อมเป็นความจริงแท้ เพราะเขาใด้พิสูจน์แล้วด้วยตัวเอง ครับผม

    • @user-pi4lh4yg4d
      @user-pi4lh4yg4d 11 หลายเดือนก่อน

      ชัดเจน สาธุครับ

    • @HamletNC-in3ni
      @HamletNC-in3ni 5 หลายเดือนก่อน

      สาธุ สาธุ สาธุ

  • @user-je9tz8zi7p
    @user-je9tz8zi7p 10 หลายเดือนก่อน

    อนัตตาเป็นเพียงเครื่องละวางไม่ให้ยึดติดตรงนั้นๆ เป็นการพิจารณาในปัจจุบันกาลครับ

  • @user-sd9mn5im7f
    @user-sd9mn5im7f 5 หลายเดือนก่อน

    ผู้เข้าใจ อนัตตา มี 2 จำพวกหลัก คือ
    1.พระอรหันตผล เมื่อดับขันธุ์จึงเข้าสู่ นิพพานสภาวะสมบูรณ์ จัดเป็นเป้าหมายสูงสุดทางพุทธศาสนา
    2.พวกสุญตาคติ(ตายแล้วสูญ/ตายแล้วจบ) เมื่อตายจึงดับสูญไปสิ้น(ตายจริงไม่เวียนว่ายตายเกิด) กลุ่มนี้ เกิดขึ้นก่อนมีพระพุทธศาสนา จัดเป็นทิฐิ 62 หลายจำพวก
    สองกลุ่มนี้จึงพ้นกรรมคล้ายๆกัน แต่ความเข้าใจต่างกันมากโข โดยเฉพาะเรื่องบาปบุญ หรือกฎแห่งกรรม แยกแยะได้กับไม่ได้เลยทีเดียว เพราะพื้นฐานจากการเข้าใจ อนัตตา ต่างกันโดยสิ้นเชิง ในการรู้เห็นเหตุผลต่างๆ แล้วเลือกที่จะอนัตตา ปล่อยวางตั้งอุเบกขา ดูจิต ดูกาย ดูเวทนา ดูธรรมและความเชื่อมโยงของธรรมไป ซึ่งในสุญตาคตินั้นจะแค่ปฏิเสธทุกอย่างไปวันๆ ด้วยถืออนัตตาเพราะตายแล้วก็จบไป ไม่ใช่การถือมีสติ 4เพื่อดูจนรู้แจ้งเห็นจริง
    พวกสุญตาคติ เป็นพวกเดียรถีย์ หรือพวกศาสนาอื่น ท่าเรืออื่น อีกพวกหนึ่ง ที่ปัจจุบันอาจจะเข้าใจผิดจากการศึกษาพระพุทธศาสนา บางจำพวกสอนให้อนัตตาอย่างหนักอ้างอย่างหนัก จนยึดอนัตตาธรรมนั้นจนเกินไปกลายเป็นพวกสุญตาคติ และปฏิเสธคำสอนส่วนอื่นๆ อะไรๆก็สมมติๆๆ เพราะไม่เข้าใจในสัจธรรมที่พุทธองค์สอนว่า สัจธรรมแท้จริงนั้นมีทั้ง สมมติ และปรมัตถ์
    บาปกรรมเป็นเรื่องปรมัตถ์ เมื่อยังมีกิเลส บาปกรรมจึงส่งผลเป็นธรรมดา ให้เวียนว่ายตายเกิด
    สุญตาคติ เป็นความเห็นผิด อย่างหนึ่ง ไม่ใช่ความเห็นชอบ จึงมีความดับสูญจากการตาย เป็นเบื้องหน้า ไม่ใช่นิพพาน ไม่เคยแม้จะเป็นอริยสงฆ์ ไม่เห็นธรรมด้วยซ้ำแม้จะท่องพระไตรปิฎกได้ทั้งหมด ก็ได้แค่สัญญาขันธุ์เท่านั้น ไม่ได้ผ่านการรู้เห็นธรรมในของจริงผ่านสัมผัสที่ 6 ของตนเอง คือ มโน-ธรรมารมณ์ อันเป็นอายตนะสำคัญ นั้น
    ใจที่เข้าใจ ภาษาใจ ได้ตรงกับพระพุทธเจ้า นั้นแหละ คือ ความเห็นชอบ ขอแค่ 1 เซลล์สมอง จากแสนล้านเซลล์ ที่เชื่อมโยงกับอีก 200 เซลล์สมอง (200บิต)เป็น ความจำเพาของตัวต่อ ให้เกิดเป็นคลื่นสมอง ให้ใจประมวลผลข้อมูล แค่นั้นก็ถึงพระโสดาบันเป็นอย่างต่ำ ไม่ต้องทั้งแสนล้านเซลล์นั้น(หทัยวัตถุ) หรือ 10 เทเลไบท์ แบบพระพุทธเจ้า ถ้า แค่คำว่านิพพาน ตรงกับพระพุทธเจ้า ก็ถึงอรหันตผลแล้ว ซึ่งได้จากการเข้านิโรธสมาบัติด้วยมรรค 8 นั้น ด้วยสมาธิขั้นต้นอย่างขณิกสมาธิ ตรึกตรองนิพพานนั้นได้ตรงกัน ก็จบได้แบบนิพพานแห้งๆ ก็จบได้เช่นกัน ถือว่าปฏิบัติดีแล้ว ตรงแล้ว ถูกแล้ว สมควรแล้ว

  • @sakdinanchannel6104
    @sakdinanchannel6104 9 วันที่ผ่านมา

    อยากให้ผู้มาดูคลิปให้วางความเห็น เก็บเกี่ยวส่ิงเป็นประโยชน์ ถ้าไม่ชอบให้ืเลื่อนผ่านคลิปไปครับ

  • @vilaikraisornkovit8740
    @vilaikraisornkovit8740 2 ปีที่แล้ว +11

    เจอคลิปนี้โดยบังเอิญ หัวข้อบรรยายน่าสนใจเลยเข้ามาฟัง คิดว่าเป็นธรรมมะจัดสรรค่ะ เพราะว่าอาจารย์ให้ความรู้ที่ละเอียดและชัดเจนมาก มีความเข้าใจเรื่องนี้ขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง กราบขอบพระคุณอาจารย์และขออนุโมทนาในการเผยแพร่ธรรมมะเป็นวิทยาทานต่อกัลยาณมิตรทุกท่านที่ได้ประโยชน์ในการฟังครั้งนี้🙇🏻‍♀️

  • @user-mn5ku7hl3n
    @user-mn5ku7hl3n 9 หลายเดือนก่อน

    สังขารา=สังขารทั้งหลาย
    เป็นพหูพจน์.มีกายสังขาร
    วจีสังขาร,และมโนสังขาร
    คือความคิดทั้งหลายที่ปรุง
    แต่งกาย,วาจา,ใจ..แค่นี้เอง

  • @sakdinanchannel6104
    @sakdinanchannel6104 9 วันที่ผ่านมา

    อธิบายได้เข้าใจละเอียดดีครับ

  • @user-lt1it8tk6m
    @user-lt1it8tk6m 3 ปีที่แล้ว +20

    "หากทุกอย่างเป็นอนัตตา แล้วใครเป็นผู้ทำกรรมและรับผลแห่งกรรม.".
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตา(ตัวตนชั่วคราว) นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (พุทธวจน)
    แล้วใครเป็นผู้ทำกรรม และรับผลของกรรม
    คือสัตตานังที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้นมีตัณหาเป็นเครื่องผูกจึงเที่ยวไปแล่นไปในสังสารวัฎ ....ราธะ!ความพอใจอันใด ราคะอันใด นันทิอันใด ตัณหาอันใดมีอยู่ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลายและในวิญญาณ เพราะการติดแล้วข้องแล้วในสิ่งนั้นๆเพราะฉะนั้นสิ่งนี้จึงเรียกว่าสัตว์ ดังนี้(พุทธวจน)
    " เหตุเกิดของกรรม คือ ผัสสะ! "
    ภิกษุทั้งหลาย ! เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม เพราะว่า
    บุคคลเจตนาแล้ว ย่อมกระทำซึ่งกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ.
    ภิกษุทั้งหลาย ! นิทานสัมภวะ (เหตุเป็นแดนเกิดพร้อม)
    แห่งกรรมทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุทั้งหลาย ! นิทานสัมภวะแห่งกรรมทั้งหลาย คือ ผัสสะ.
    (ภาษาไทย) ฉกฺก. อํ. ๒๒/๓๖๕/๓๓๔.

    • @jikkospokaro4841
      @jikkospokaro4841 2 ปีที่แล้ว +2

      สาธุ คำความอันรวบรัด ชัดเจนยิ่ง ไม่ต้องอธิบายมากความพาลงงงวย

    • @KT-vh1qb
      @KT-vh1qb ปีที่แล้ว

      ถูกแล้ว ถูกแล้ว พุทธวจน/พุทธพจน์. สาธุ.

    • @user-po1wv3gb3n
      @user-po1wv3gb3n ปีที่แล้ว

      มิติครับ อยู่ในอากาศ ที่เรามองไม่เห็น ยิ่งนานวัน วิทยาศาสตร์ ยิ่งค้นพบ ครับ😊😊😊

    • @user-je9tz8zi7p
      @user-je9tz8zi7p 11 หลายเดือนก่อน

      สาธุครับสาธุ

    • @pawaritchinnawong5161
      @pawaritchinnawong5161 6 หลายเดือนก่อน

      สาธุครับ 🙏🙏🙏

  • @kanyaputhRattanaphan-sl7mz
    @kanyaputhRattanaphan-sl7mz 27 วันที่ผ่านมา

    สุดยอด...ตามความ..เป็นจริง...

  • @AmornTongsuk
    @AmornTongsuk 3 ปีที่แล้ว +9

    คำว่า อนุโมทนา คือการมีใจนินดีในกุศลวัตรของผู้อื่น ด้วยมุทิตาจิต ด้วยคารวะจิต
    ได้อ่านหลายคอมเม้นท์ ล้วนสะท้อนเห็นถึงความคับแคบของผู้ที่ทนงว่าทรงภูมิ ท่าทีเช่นนี้สะท้อนว่าเข้าไม่ถึงธรรม แม้นว่าจะทรงภูมิธรรมก็ตาม
    ขออนุโมทนากับอาจารย์ด้วยครับ และขอบคุณที่แบ่งปันความรู้ครับ

    • @rutaiyaicheun7042
      @rutaiyaicheun7042 4 หลายเดือนก่อน +1

      เห็นด้วยค่ะ บางคนศึกษาธรรมมะมาเยอะ แต่จิตใจไม่เปิดกว้าง มองเห็นได้ชัดเลยค่ะ

  • @gwenfolyncottonblue4115
    @gwenfolyncottonblue4115 2 ปีที่แล้ว +2

    ถูกกิเลสขั้นสูงทางจิตจูงให้เข้าใจผิดอย่างมหันต์ หลงผิดหลงทางหลงประเด็น เข้าใจกรรม กับอนัตตา รวมกัน ระนาบเดียวไม่ใช่ เราศืกษาพุทธเพื่อ ยังจิตให้ถึงซึ่งความบริสุทธิ์ พ้นทุกข์จากกิเลสที่ปรุงแต่งนาๆประการ

  • @fczenutff8219
    @fczenutff8219 2 ปีที่แล้ว +14

    พระพุทธองค์ตรัสว่าเราถูกจิตนี้คดโกงหลอกลวงมานานแล้วหนอ จิตเป็นสิ่งที่ต้องทิ้งต้องปล่อยวาง

  • @pratchawankooharattanakorn8306
    @pratchawankooharattanakorn8306 ปีที่แล้ว

    โวหารมากไป ห่างไกลจุดหมาย

  • @user-fx4jc7eh2x
    @user-fx4jc7eh2x 2 ปีที่แล้ว +1

    พระพุทธเจ้าสอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย แต่ผู้บรรยาย(บรรยาย)ทำเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องง่าย โดยเฉพาะภาษาที่นำมาบรรยายก็ไม่ทราบว่าท่านเป็นฝรั่งหรือที่ไม่สามารถจะทำความเข้าใจกับภาษาของตัวเองได้ อีกประการหนึ่งมีใหมในพระไตรปิฎกมีภาษาต่างประเทศกำกับด้วย

    • @user-fx4jc7eh2x
      @user-fx4jc7eh2x 2 ปีที่แล้ว

      แก้ข้อคำว่า ทำเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องง่าย ที่ถูกทำเรื่องง่ายให้เป็นยากครับ

  • @user-qc4uh3ol6u
    @user-qc4uh3ol6u 2 ปีที่แล้ว +3

    ที่ท่านอธิบายว่าจิตซอฟต์แวร์ตายแล้วไปหาฮาร์ดแวร์ใหม่....แปลว่าเป็นอัตตานะคับตรงนี้ต้องศึกษาใหม่ แม้แต่จิตก็เป็นอนัตตา

  • @diethealthsupporters1427
    @diethealthsupporters1427 3 ปีที่แล้ว +4

    ความคิด สร้างเรื่องสมมุติการให้ค่า แทนค่าสิ่งต่างๆ ออกมาเป็นภาษา เพื่อสื่อสารกันคือ สังขารที่เห็นได้ยาก .
    ..ทุกคนจึงตกอยู่ในสังขาร อธิบายสังขาร เพื่อใช้เป็นเครื่องมือค้นหาสัจจะ .งูกินหาง .
    สุดท้าย แค่รู้ สักว่ารู้ คืออธิบายได้แค่นั้น เหมือนโปรด พาหิยะ .เพราะยิ่งพูด ยิ่งหลงไปกับสังขารไม่รู้ตัว .ตกอยู่ในสงสารของความคิดไม่รู่จบ
    เอเมน
    แค่ตั้งข้อสังเกตุ

  • @BunsongCheewapattana
    @BunsongCheewapattana 2 ปีที่แล้ว +2

    ผู้ยึดเป็นผู้เข้าไปรับกรรมเอง ไม่ยึดก็เป็นแค่ผู้ชม

  • @user-su9ru6bb9w
    @user-su9ru6bb9w 2 ปีที่แล้ว +2

    สาธุๆครับ​ ก่อนสอนควรศึกษาบาลีให้ถ่องแท้ก่อนครับ​ ขึ้นต้นมาวิภัตติก็ผิดแล้ว​ ภาษาผิด​ ความเข้าใจก็ผิด​การปฏิบัติก็ผิดไปด้วย​ 🙏🙏🙏

    • @amnuaysomklin9445
      @amnuaysomklin9445 2 ปีที่แล้ว

      เค้ายังไม่รู้จริงอธิบายก็ผิดครับ

  • @phisanuphisansaridigum2374
    @phisanuphisansaridigum2374 2 ปีที่แล้ว +8

    ก็ว่ากันไปตามกำลังความคิดความรู้ของๆตน..

  • @user-cj3od7km7e
    @user-cj3od7km7e 3 ปีที่แล้ว +12

    อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา..ท่านไปหยิบคำสอนพุทธองค์ในพระไตรปฎิฏกมาอธิบายจะชัดเจนลึกซึ่งถูกต้อง ดีกว่าที่จะเอาความเข้าใจตนเองส่วนหนึ่งที่ยังไม่ลึกพอมาอธิบายนะครับ

    • @user-yv5mj5hx2j
      @user-yv5mj5hx2j 2 ปีที่แล้ว +2

      โอว ขอคารวะท่านนักปราชญ์คีย์บอร์ด

    • @user-ei8pk3xz6q
      @user-ei8pk3xz6q 2 ปีที่แล้ว

      ใช่ค่ะ ได้อ่านจากที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ในพระไตรปิฏกเข้าใจละเอียดลึกซึ้งมาก เคลียร์มากๆเลยค่ะ

  • @bentoonmoota9799
    @bentoonmoota9799 3 ปีที่แล้ว +8

    กรรม.ล้วนเกิดจากผัสสะที่มากระทบต่อสฬายตนะทั้งภายนอกภายใน..

    • @alexandrodelpiero4010
      @alexandrodelpiero4010 3 ปีที่แล้ว +5

      @@sweetmodaka แต่ผมว่าเขากล่าวถูกนะ กรรมทุกกรรมเกิดจากผัสสะ แต่ผัสสะทุกผัสสะ ไม่ได้สร้างกรรมเสมอไป เพราะถ้าผัสสะนั้นไม่ได้ประกอบด้วยเจตนาก็ไม่เป็นกรรม กลับกันกรรมที่ประกอบด้วยเจตนาต้องมีเหตุจากผัสสะทั้งสิ้น

    • @bentoonmoota9799
      @bentoonmoota9799 3 ปีที่แล้ว +8

      @@sweetmodakaครับผม ต้องลองกลับไปค้นหาดูเรื่องกรรมว่าพระตถาคตบัญญัติเรื่องกรรมเหตุเกิดของกรรม.เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม..กรรมคือ เจตนา สิ่งใดถ้าเราไม่เจตนาไม่ถือว่าเป็นกรรม..
      .เหตุเกิดของกรรมทั้งหลาย ย่อมมี เพราะการเกิดของผัสสะ
      .ความดับแห่งกรรมทั้งหลาย ย่อมมี เพราะความดับแห่งผัสสะ
      .มรรคมีองค์8นี้นั่นเอง เป็นกัมมนิโรธคามินีปฎิปทา
      ที่กล่าวว่าผัสสะคือเหุตเกิดแห่งกรรม คืออายตนะทั้งภายนอก และภายในซึ่งรวมกันเรียกว่า สฬายตนะ.ตาหูจมูกลิ้นกายใจ
      ตากระทบสิ่งที่ไม่น่ามองก็ทำให้เราพอใจหรือไม่พอใจนี้ก็ทำให้เกิดกรรม..เพราะให้เกิดทุกข์หรือสุข พอใจก็สุขไม่พอใจก็ทุกข์.บางคนไม่เข้าใจเลยคิดว่ากรรมเกิดจากผู้อื่นบันดาล..แท้จริงแล้วต้นเหตุของกรรมมีขึ้นด้วยผัสสะทั้งหลายครับ.ขอบคุณครับ

    • @sweetmodaka
      @sweetmodaka 3 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณ คอมเม้นท์ พี่ทั้ง 2ครับ

    • @user-cw9mn6in6t
      @user-cw9mn6in6t 3 ปีที่แล้ว +2

      @@bentoonmoota9799 สาธุธรรมครับ

  • @muttanayodarcha8209
    @muttanayodarcha8209 2 ปีที่แล้ว +2

    กราบขอบคุณอาจารย์และคณะผู้จัดทำค่ะ ฟังถึงแค่ข้อสองก็ซาบซึ้งเกิดปิติน้ำตาไหลแล้ว🙏🙏🙏 เราน่าจะมีแปลเป็นอังกฤษแบบนี้ตอนสอน เพราะคนไทยยืมภาษาบาลีสันสกฤตมาใช้ จนมันปนกันไปหมด ผิดความหมายที่แท้จริง ฟังแล้วจะเข้าใจผิด ตย.ง่ายๆ ใช้คำว่าวิญญาณเป็นผี สัญญาเป็นคำมั่นสัญญา แบบนี้จะฟังธรรมไม่ถึงที่พระพุทธองค์จะสื่อ น่าเสียดายค่ะ

  • @user-lf7re1mt5f
    @user-lf7re1mt5f 2 ปีที่แล้ว

    ผม​ ขอแสดงความเคารพได้​ ในตัวตนท่าน.. ที่มีความรููู้.ความสามารถ.ที่จะถ่ายทอดและส่งต่อไปได้​ ในสังคมให้เกิดเปนประโยชน์​ แก่ประเทศชาติ​ได้​ อันนี้ผมคงพูดได้แค่นี้..ในพุทธะ​มากะ.ในพุทธ​ะบริษัท​ทั้งสี่.. อันนี้ก้อถ้า​ มีอะไรที่ต้องช่วยกันหรือจะสูญหาย.. ในที่รู้กันดียิ่ง.. ผมยังไม่ตาย.ผมให้​ได้.. จะเอาอะไรกับผมละครับ​ ในความเปนจริงได้.. ในทุกๆมิติ.. ใน​ทางธรรม​ประยุกต์ร่วมใช้ให้แล้ว.. มันต้อง​ ปรับเปลี่ยน​.ได้ในความสมดุล​ ในที่.สงบ.เย็น.งั้นไหมไม่รู้นะครับ.. ถ้าผมจะทำอะไรผมต้องให้ถึงที่สุดได้.. ผมไม่พลาดหรอกครับ.มันก้อเปนไปอัตโนมัติ​ได้มั้งครับ​ถ้าทำให้มันเคยจนเปนไปได้.. ในอัตโนมัติ​เท่านั้น.. จะเอาอยู่หรือในยุคสมัย​นี้..มันมองดียิ่งได้.สัมผัสเอาความเสื่อมในนี้​ มันมีอามรณ์​อะไรกันละครับ.. ใจมั่น.พอในความอดทน.. ได้.. ทุกข์​ที่มันเกินรับได้​ ผมเข้าใจได้.. แต่ต้องให้มันสัมผัส.รู้ในอามรณ์​นั้น.. เอาให้มันจนรู้ทันได้​ รู้ในทุกข์ถึงที่สุดแล้ว​ มันถึงออกมาได้ในประโยชน์​ออกทุกข์​ได้​ ที่นี้เครื่อง​สตาร์​ติด.มั้งครับ..

  • @user-ew1uk2ox3n
    @user-ew1uk2ox3n 3 ปีที่แล้ว +10

    สอนเด็กผู้เกิดใหม่ให้ข้าใจอย่างลึกซึ่งจะเป็นกุศลแก่มนุษย์​และสัตว์​เป็นอย่างยิ่งพระพุทธเจ้า​ตรัส​ไว้ดีแล้วตรงแล้วถูกแล้วทุกประการ​สาธุ​สาธุ​สาธุ​ค่ะ​💗💗💗🙏🙏🙏

  • @Thanalucky
    @Thanalucky 2 ปีที่แล้ว +2

    นั่นประโยคที่ปรุงแต่งใหม่...จริงแล้วสรรพสิ่งกำเนิดจากธาตุทั้ง 4 ดิน น้ำ ไฟ ลม...เมื่อลมดับ ไฟก็ดับ น้ำถูกแซกซึม ดินถูกย่อยสลาย...กรรมเป็นเพียงนามธรรม ไม่เคยมีอยู่จริง ไม่มีตัวตน การแก้กรรมจึงล้างกรรมไม่มี

    • @user-ug7ps6lf7s
      @user-ug7ps6lf7s 2 ปีที่แล้ว +3

      ผมขอแย้งนะครับเพื่อประโยชน์ของท่านเองครับ ในระบบนี้คือ สังสารวัฏ หรือ สังขตธรรม มีการเกิด มีสิ่งปรุงแต่ง มีมหาภูติ ๔คือ ดินน้ำไฟลม มีขันธ์๕ ( รูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาน ) มีกรรม ผู้ใดทำกรรมใดไว้ ผู้นั้นย่อมได้รับผลของกรรม กรรมมี๓อย่างคือ กรรมขาว กรรมดำ กรรมไม่ขาวไม่ดำ ในระบบนี้หนีกรรมไม่พ้น ล้างกรรมไม่ได้ แต่ถ้าเรารู้วิธีหนีกรรมนั้นมีอยู่ ต้องปฏิบัติตามที่ตถาคตแนะนำ คือปฏิบัติตนให้ออกจากระบบนี้ไปสู่อีกระบบหนึ่ง คือ อสังขตธรรม (นิพพาน) ด้วยการละสังโยชน์๑๐ ให้ได้ หรือ ก่อนตายละสังโยชน์๕ได้ ก็หนีกรรมได้ เพราะ ในสิ่งนั้น มารเข้าไปไม่ถึง ไม่ใช่ที่เที่ยวของปุถุชน เข้าไปแล้วออกมาไม่ได้ ไม่มี ดิน น้ำ ไฟ ลม ไม่มี นามรูป ไม่มีวิญญาน ไม่มีการเกิด (จึงไม่มีการแก่ ไม่มีการตาย) ไม่มีสิ่งปรุงแต่ง สิ่งนั้นมีอยู่

  • @pilarkan
    @pilarkan 2 ปีที่แล้ว +2

    ธรรมใดที่มาจากปุถุชน ย่อมมีโอกาสผิดเพี้ยนมากกว่าธรรมจากอริยสงฆ์ ดังนั้น พีงระวัง

    • @pilarkan
      @pilarkan 2 ปีที่แล้ว +1

      @@Nevermind_Smile th-cam.com/video/PJOk66u-qBo/w-d-xo.html ลองฟังดู

  • @lovemydog4938
    @lovemydog4938 2 ปีที่แล้ว

    เราทุกคนก่คือวิญญานธาตุหรือผู้รั้ จิตเดิมแท้ จิตใต้สำนึก แล้วแต่จะเรียก ธาตุผู้รุ้วิญญาน มาซ้อนจิตธาตุหรือสมองบนหัวนี้อยู่ ปฎิสนธิจิตนั่นแหละ เราคือจิตในจิต มาปรุงแต่ง หลงสมมุติโลก กายนี้อยู่ จึงต้องฝึกวิมุติคือว่างจากกระแส สุข ทุก ที่สมองผลิตหรือขันห้านั่นเอง เพื่ออาศัยสูญตาอยู่ เพื่อรอแยกธาตุ หรือตาย เพื่อไปโลกนิพพานคือ ทั้งหมดอนันต์จักวาลชั้นในสุดขิดภวังค์ เปนกระอภัสราหรือบริสุทธไม่ปรุงแต่ง เราคือวิญญาณธาตุ เปนธาตุอมตะ ที่ยึดติดปรุงแต่ง หลงสมมุติอยู่

    • @user-ih5sz4vh8d
      @user-ih5sz4vh8d หลายเดือนก่อน

      ตายเท่านั้น ความคิดถึงจะหยุด

  • @kmobile511
    @kmobile511 2 ปีที่แล้ว +1

    ศึกษา เรื่อง ภาษา คน&ธรรมให้ เข้าใจ ก่อนที่ จะเพี้ยน มากไปกว่านี้.

  • @user-cw9mn6in6t
    @user-cw9mn6in6t 3 ปีที่แล้ว +4

    สัตว์ตานัง เป็นผู้หลงยึดติด
    มีอวิชาเป็นเครื่องกั้น มีตันหาเป็นเครื่องผูกอยู่ในสังสารวัฎ
    ไม่มีที่สิ้นสุด สาธุธรรมครับ

    • @user-cw9mn6in6t
      @user-cw9mn6in6t 2 ปีที่แล้ว

      สาธุธรรมครับ

    • @somnukprattana6247
      @somnukprattana6247 2 ปีที่แล้ว +1

      สัตตานัง ไม่ใช้เป็นประธานในประโยคนะครับ ผิดเพราะอาจารย์พาผิดนะครับ ฝากแก้ไขพระอาจารย์ด้วยครับ

    • @opassas3245
      @opassas3245 2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-cw9mn6in6t สัตตานังไม่ได้แปลว่าผู้ยึดติด

  • @user-tf6jp2bf5e
    @user-tf6jp2bf5e 3 ปีที่แล้ว +3

    สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์
    สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง
    ธรรมทั้งหลาย เป็นไม่ใช่ตัวตน
    การใช้คำขึ้นต้นที่ต่างกันมีความหมายลึกซึ้ง ระหว่าง สังขาร กับ ธรรม
    ธรรม ก็คือ สิ่งที่ใจสัมผัสอารมณ์ เป็นคู่ อายตนะที่ 6 ครับ พูดง่ายๆก็คือใจรับรู้ ธรรมารมณ์ แล้วปรุงแต่ง(สังขาร) ให้เป็นทุกข์ ให้ปรุงแต่ง(สังขาร) จึงไม่เที่ยง
    (ขั้นอรหันต์มรรค-ผล) ปล่อยวางใจให้ว่าง ไม่ดิ้นกับธรรมารมณ์ ไม่วิ่งไปเสพธรรมารมณ์ฟุ้งซ่านไปเรื่อย ไม่ไปยึดติดว่าตัวกรูของกรู จึงไม่เกิดการปรุงแต่ง ไม่ปรุงแต่งจึงไม่ทุกข์ สุขสงบ และเที่ยงแท้ อยู่เช่นนั้นนิจนิรันดร์ ไม่ตายไม่เกิดอีก นั่นแล นิพพาน อันบริสุทธิ์ขาวรอบ ที่อยู่ร่วมกับขันธ์ ดับขันธ์ก็เข้าสู่สภาวะนั้นๆจริงๆ
    ส่วนวัตถุ มันก็เป็นวัตถุ ของมัน ขันธ์ก็เป็นขันธ์ มีตัวตนของมัน มีการปรุงแต่งของมัน ปล่อยและทำตามให้มันคงอยู่หรือเปลี่ยนตามประโยชน์/กาลเทศะไป ให้ทำตามความเป็นใหญ่ของหน้าที่นั้นๆไป ส่วนความคิดของเราที่ไปยึดติดนั่นแล ที่เป็นปัญหา สร้างทุกข์

    • @user-tf6jp2bf5e
      @user-tf6jp2bf5e 3 ปีที่แล้ว +1

      อย่าไปยึดติดว่า ธรรมทั้งหลาย มีตัวตน จบขั้นสุดท้ายของพุทธศาสตร์ ขั้นอรหันต์
      แต่ก่อนที่จะเข้าถึง ขั้นอรหันต์ ก็ต้องผ่าน
      -ดวงตาเห็นธรรม อันเข้าถึงกระแสนิพพาน หรือโสดาบัน ศึกษาธรรมเกี่ยวกับ พุทธศาสนา ณ จุดหนึ่ง อันมีกรอบอยู่ใน อริยสัจ 4 จนแน่ชัดว่า พุทธศาสนา คือของจริง ด้วยใจตน มีนิพพานเป็นแก่นแท้ นั่นแหละ โสดาบันมรรค เริ่มแล้ว ศึกษา นิพพานสภาวะและอริยะสัจ4 ให้รู้ชัด มากขึ้นย่อมเกิดผล ในขณะจิตที่ศึกษาเกิดสมาธิ(เสี้ยววินาทีเดียวก็ตาม) ด้วยมรรค สมบูรณ์
      -ผู้ลดกามคุณ 5 (อายตนะ 5) ด้วยสมาธิได้ รู้หลักการคือเกิดสัมมาทิฐิ เข้าสู่ สกคาทามีมรรค สามารถเข้าสัมมาสมาธิ ครบ ตั้งแต่ สัมมาทิฐิ เห็นหลักการครบ ปราถนาพ้นตั้งเป้าหมาย พูด กระทำ อาชีพเหมาะ เพียร มีสติเข้าถึงพิจารณาในขณะตั้งสมาธิ แน่นิ่ง (ฌาน 4 มี 2 ลักษณะห้อง คือ นิ่งเงียบสงบ และวางเฉยแต่รับรู้สัมผัสทั้ง 5 ทุกอย่าง ห้องอุเบกขานี้และคือเป้าหมาย) ได้หนึ่งครั้ง ก็เข้า สกทาคามีผล
      -ละกามคุณ 5 ด้วยทรงมรรค จนละกามคุณ ทั้ง 5 (อายตนะ 5 คู่แรก) ในการใช้ชีวิตประจำวัน นี่ขั้น อนาคามี เบื่อหน่าย กามคุณ รู้หลักการของขั้นนี้เกิด สัมมาทิฐิ เริ่มอนาคามีมรรค ทำได้เกิดผล(ไม่หลุดจากสมาธิ ต่ำสุดคือขณิกสมาธิ เท่านั้น จึงไม่ถูกกามคุณรบกวนจิต) ออกแบบทำสมาธิ 40 วิธี ในการใช้ชีวิตได้ด้วยตนเอง
      -อรหันต์ มรรค-ผล จัดการกับ อายตนะคู่ที่ 6 ที่เหลือ

  • @easyhappylifechannel6861
    @easyhappylifechannel6861 2 ปีที่แล้ว

    สรุป โดยการใช้ศัพภาษายุคใหม่ให้เข้าใจง่ายๆก็คึอ สังขารคือร่างกาย, ร่างกายประกอบด้วย ทาดทั้งสี่ คือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ, และ ทาดเหล่านี้มาจากธรรมชาติ. แก่นแท้ของธรรมมะ ก็คือสอนให้รู้เกี่วยกับธรรมชาติ ของสิ่งต่างๆนั้นเอง. ร่างกายของทุกสิ่งที่มีชีวิต และ ปรากดการต่างๆจะเกิดขี้นจากธรรมชาติด้วยเหตุ และ ปัจใจของมัน เมื่อเกิดขื้นแล้วก็ไม่มีอันใดแน่นอน ในที่สุดก็สลายไปกลับคืนสู่ธรรมชาติเหมือนเดิม.

  • @user-xd4ul8cr9x
    @user-xd4ul8cr9x 2 ปีที่แล้ว

    จิตการรับรู้เป็นอีกนามรูปหนึ่งมันก็มีอยู่ของมันตามธรรมชาติมันต้องอิงอาศัย รูป เวทนา สัญญา สังขาร มาประกอบจึงจะรับรู้ได้
    หากรูปพัง จิตก็ยึดอยู่ไม่ได้ ต้องไปหาที่ยึดใหม่ ถ้าเราคิดว่าจิตเป็นของเราเมื่อไหร่ ครั้นกายแตกทำลายไป เราที่ยึดติดจิตจะตามมันไปทุกที่ตามแต่ที่จิตมันคุ้นเคยชิน

  • @goodpeoplethailand
    @goodpeoplethailand 2 ปีที่แล้ว

    ร้อนวิชา.!. ทำให้เกิดธรรมปฏิรูป ทางที่ดีควรจะแจ้งอย่างแม่นมั่นว่า นี้เป็นแค่เพียงความคิดเห็นหรือความเข้าใจของตนเองเท่านั้น หรือควรจะกล่าวคำพุทธวจนะล้วน ๆ
    ....บางคนสะสมยังน้อยอยู่ ก็ไม่ค่อยเข้าถึง บางคนก็สะสมมาพอสมควร ก็เข้าถึงบ้าง เข้าไม่ถึงบ้าง คนใดสะสมมาเยอะ ก็เข้าถึงได้เป็นส่วนมากและค่อนข้างไปทางง่าย ตามลักษณะลาดเอียงของภูเขา
    ...... คนจนได้เงินหมื่นเงินแสนก็ดีใจว่าตนรวยแล้ว คนรวยได้เงินมาพันล้านยังคิดว่าตัวเองยังไม่รวย..... บางคนจดจำมาได้นิดหน่อยก็ดีใจแล้วที่ได้รู้ บางคนรู้มากรู้เยอะเพราะจดจำมามากก็คิดขยายความจนมากมายแล้วหยุดไม่ได้ ในใจมันคลั่ง มันร้อนต้องระบายออกบ้าง พอมีผู้คนรับฟังก็ค่อยทุเลา จิตใจสงบลงหน่อย น่าเสียดายไม่น่ากล่าวธรรมปฏิรูป ในขณะที่คำสอนยังคงมีอยู่

  • @user-vl9le7rl7m
    @user-vl9le7rl7m 2 ปีที่แล้ว

    จิตตะสัมปะยุตตา อัตตา ความ นะระวาระ ปะภะกะ มอุตตะ วิปัสสนา รู้เห็นตนอื่นตื่นตัวเราเสมอ สิ่งใดคือตน สิ่งใดคือตัว สิ่งใดคือเรา จงโยนิโสแต่งให้ประจักญาณ การทัศนะ" วะตะ " อภิญญาสัมมา ปาระมีนั้นความเราจะวาจาสิทธิ ซึ้งเราได้มาด้วยอภิญญาญาณนุตสติตานังเราควรจงต้องปฏิบัติแล้วจะประจักมัคนิโรจสมบัติ จะประจักเนื้อสมบัติกัม เอวัง ก้อด้วยปะการะฌานี สาธุ

  • @user-tr1si9xs7l
    @user-tr1si9xs7l 2 ปีที่แล้ว +1

    ผู้สร้างกรรมดีและชั่วคือรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณประชุมกันตั้งอยู่แล้วดับไปตราบใดที่ยังมีกิเลสก็เวียนมาเกิดอีกส่วนจะเกิดเป็นอะใรแล้วแต่แรงกรรมของตน

  • @user-rx8gc4ew7o
    @user-rx8gc4ew7o 2 ปีที่แล้ว +2

    สาธุ สาธุ สาธุ เป็นธรรมที่ลึกซึ้งมากใครฟังเข้าใจหมายความว่าถึงที่สุดแห่งธรรมแล้ว กราบสาธุท่านอริยะ

  • @user-zl5rq1yw4n
    @user-zl5rq1yw4n 2 ปีที่แล้ว +1

    สิ่งใดเกิด ทุกสิ่งล้วนดับไปเป็นธรรมดา

  • @saptaiyut-sty4211
    @saptaiyut-sty4211 2 ปีที่แล้ว +1

    โลกุตรธรรม สุญตา เข้าใจสองอย่างนี้รู้จริงเข้าถึงจริง ก็มองทุกอย่างขาด

  • @user-rv7gh7dn5b
    @user-rv7gh7dn5b 10 หลายเดือนก่อน

    ความไม่สบายกายสบายใจ. ง่ายๆคือทุกขัง

  • @user-rk9uu7pn2f
    @user-rk9uu7pn2f 2 ปีที่แล้ว +1

    สาทุดีใจที่ได้รับฟังธรรมจากอาจารเจ้าคะ...

  • @user-yd5uf5wf1w
    @user-yd5uf5wf1w 2 ปีที่แล้ว

    ทุกขัง คือทนสภาพเดิมไม่ได้ เกิดดับๆ จะถูกเบียบครั้นหรือไม่ก็ตามเพราะความไม่เที่ยงนั้นเอง ส่วนอนัตตา คือ ไม่มีตัวตน และก็ไม่ใช่ตัวตน เพราะมีตัวตน จึงมีผู้กระทำกรรมและมีผู้รับผลของกรรม หากเพิกถอนสมมุติบัญญัติเสียได้ จะไม่มีผู้กระทำกรรมและจะไมมีผู้รับผลของกรรม ถ้าไม่มีตัวตนไปรองรับ

  • @standbyme9216
    @standbyme9216 2 ปีที่แล้ว +1

    จริงค่ะ ถ้าสมองบังคับได้ทุกอย่าง คนมีสมองทุกคนก็คงไม่ตัดสิน "ใจ" ผิดพลาดหรอก เพราะใช้ใจ ไม่ได้ใช้สมอง และที่เสียใจเจ็บใจก็เพราะใจ สมองมีส่วนแค่ทำให้นึกถึง กับเป็นวิธีคิดวิเคราะห์ให้กระทบต่อใจรู้สึกอีกที

  • @user-nj9co8si5v
    @user-nj9co8si5v 2 ปีที่แล้ว

    จิตเป็นพลังงาน.ที่ใช้สร้างสมไปใน.นิพพาน.นักวิจัยควรทำให้จิต
    เกิดเกิดรูปได้.คนชั่วจะไม่มี

  • @user-pg1rn2jw3g
    @user-pg1rn2jw3g 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับ ผมได้เข้าใจเพิ่มขึ้นอีกบ้างครับ กว่าจะเกืดปัญญาทื่จะเข้าใจก็คงอีกนานครับ ดั่งคำพระท่านว่า มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ขอบคุณครับ

  • @GNOSisYOU
    @GNOSisYOU 2 ปีที่แล้ว

    แนวคิดหลักๆนี้ ถูกสร้างขึ้นเพื่อต่อต้านความเชื่อของพราหมณ์ในสมัยนั้น ทีมพระพุทธเจ้าคือทีมกบฎทางความคิดต่อความเชื่อของคนยุคนั้น เลยมีการโกนหัวเป็นสัญลักษณ์ของการประท้วง คราวนี้ ถ้าเอากฎแห่งกรรมมาอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน มันอาจทำให้เข้าใจผิดได้เหมือนกัน อย่างเช่น สมัยฮิตเลอร์มีอำนาจล้นฟ้า = เขาคือความชอบธรรมเพราะมีบุญบารมี อันนี้คงไม่ใช่ มันกลายเป็นเรื่องของการต่อสู้เพื่อความถูกต้อง จนในที่สุดผู้ที่อ่อนแอกว่าสามารถเอาชนะผู้ที่แข็งแกร่งกว่าแต่ทำผิดได้ ดังนั้นเรื่องบุญกรรมมันเหมาะที่จะเอาไว้อธิบายเหตุการณ์เมื่อหลายพันปีก่อน แต่สิ่งที่เยี่ยมมากของศาสนาพุทธที่ได้รับการยอมรับไปทั่วโลก คือการคิดตามหลักเหตุและผล ข้อนี้คือสัจธรรมที่มีอยู่ในธรรมชาติ ไม่ต้องมีศาสนาก็ได้ ถ้าทุกคนรู้จักใช้ความคิดด้วยเหตุด้วยผล ไม่คอยใช้อำนาจหรือกฎหมายที่สร้างขึ้นมาข่มเหงกัน หรือพยายามหาความชอบธรรมแล้วบังคับจัดการกับผู้ที่อ่อนแอกว่า การคิดด้วยเหตุและผลก็คือปัญญาของมนุษยชาตินั่นเอง ที่เราสามารถทำได้ทุกคน รู้จักที่จะเรียนรู้เรื่องราวใหม่ๆไม่จบสิ้น และประมวลวิเคราะห์ตามเหตุผลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุด ต่อการดำรงอยู่ ความเจริญก้าวหน้า และความสุขได้ทั่วกัน สามารถสร้างระบบที่ดี ที่ไม่ใช่ตัวถ่วงชีวิตของคน ที่มีความถนัด มีความเก่งแตกต่างกัน ระบบที่แย่ทำให้เกิดคนที่มีชีวิตยากลำบาก และความชั่วร้ายก็จะสามารถเข้ามาได้ มีการปล้น การฆ่า เพื่อเอาตัวรอดเกิดขึ้น จะเห็นได้ว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วจริงๆ อาชญากรรมต่ำมาก การคอรัปชันน้อยมาก หรือแทบไม่มี ประชาชนได้ใช้ชีวิตของตัวเองจริงๆ และมีวิธีคิดตามเหตุตามผลได้เต็มที่ ส่วนเรื่องกรรม ก็เอาไว้ใช้อธิบายได้เกี่ยวกับ บางคนที่กินอาหารแย่มากๆ จึงอายุสั้นเป็นโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคทางสมองไว ซึ่งเรื่องของกรรม อธิบายผลที่มาจากการเลือกกินอาหารได้ตรงมากที่สุด

  • @user-um7ls6xp9v
    @user-um7ls6xp9v 2 ปีที่แล้ว

    กราบสาธุท่านอาจารย์ พ่อเเม่ครูบาร์อาจาร์ย สำหรับผมเเล้วผู้ที่ถ่ายทอดธรรมมะจากพระพุทธเจ้าไห้ผู้โง่เขลาได้พอเข้าจิตเข้าใจครับผม

  • @thaweesukthawee7696
    @thaweesukthawee7696 2 ปีที่แล้ว +1

    นี่แหละคือศาสตร์ทีควรศึกษาและเลิศกว่าศาสตร์ทั้งปวง

  • @sidsutton4297
    @sidsutton4297 3 ปีที่แล้ว +2

    จิตชรรูป..เมื่อการปรุงแต่งจิตไม่มี..วิญญานก็ไม่มี เมื่อไม่มีวิญญาน นามและรูปก็ไม่มี..ไม่มีผู้กระทำและผู้ถูกกระทำ คือไม่มีใครทำกรรม ไม่มีใครรับวิบากของการกระทำ..

  • @user-bt2nk1qg9b
    @user-bt2nk1qg9b 11 หลายเดือนก่อน

    ท่านอาจารย์ได้ถ่ายทอดธรรมะของพระพุทธเจ้าได้ลึกซึ้งดีมากครับ

  • @pattariyajitareeanukul1386
    @pattariyajitareeanukul1386 ปีที่แล้ว

    สาธุ​สาธุ​สาธุ​คะ​ขอ​อนุโมทนา​ใน​บุญ​ด้วย​นะ​ค่ะ​

  • @thepburapa8898
    @thepburapa8898 2 ปีที่แล้ว

    ความรู้ความเห็นของผู้บรรยายเป็นมิจฉาทิฐิครับ

  • @user-kq8lj6yi9m
    @user-kq8lj6yi9m 2 ปีที่แล้ว +2

    เมื่อเดิม ไม่มีอะไรแล้ว ต่อไปจะมีอะไรอีก

  • @LittleCougar34
    @LittleCougar34 8 หลายเดือนก่อน

    อนุโมทนา สาธุ ด้วยครับ

  • @grootphone5056
    @grootphone5056 2 ปีที่แล้ว +2

    สงสารผู้บรรยาย

  • @kaitokung9613
    @kaitokung9613 2 ปีที่แล้ว

    เมื่อวิทยาศาตร์ตรวจสอบสิ่งนั้นไม่ได้ จึงสรุปว่าสิ่งนั้นไม่มี?
    มีห้องกว้างๆหนึ่งห้อง ที่แสงไฟเพดานส่องสว่างได้ไม่ทั่วห้อง กลางห้องนั้นสว่าง เห็นสิ่งต่างๆได้ชัดเจน บริเวณอื่นของห้องที่แสงส่องไม่ถึงก็มืด...มองไม่เห็น
    บริเวณที่เรามองไม่เห็นเพราะมืด บางทีอาจจะมีเก้าอี้ เตียง หรือสิ่งอื่นๆอยู่ก็ได้ หรืออาจจะไม่มีอะไรอยู่ก็ได้
    แต่การจะสรุปว่าบริเวณที่เรามองไม่เห็นนั้น ไม่มีสิ่งใดๆอยู่ ควรหรือไม่? ถูกต้องจิงหรือไม่?
    การที่เราสรุปว่าสิ่งที่เราไม่รู้=สิ่งนั้นไม่มี จึงเป็นวิธีคิดที่ผิด ของวิทยาศาตร์
    เพราะเราพิสูจน์มามากมายแล้วว่า บางสิ่งที่แต่ก่อนเราไม่รู้ มาบัดนี้จึงรู้ สิ่งนั้นก็มีมากมาย
    ที่ถูกที่ควร จึงควรสรุปว่า
    สิ่งที่เรายังพิสูจน์ไม่ได้ = สิ่งที่เรายังไม่รู้

  • @user-ic3uj5ru9v
    @user-ic3uj5ru9v 7 วันที่ผ่านมา

    มนุษย์เกิดมาได้ยังไงครับ

  • @thaidev3153
    @thaidev3153 3 ปีที่แล้ว +1

    ความเกิดไงเป็นกรรม ถ้าไม่เกิดก็ไม่ต้องรับกรรม หัวใจหลักของพุทธคือ ไม่เกิดไม่ตายอีกต่อไปทำยังไง

    • @user-ug7ps6lf7s
      @user-ug7ps6lf7s 2 ปีที่แล้ว

      ตถาคตได้บัญญัติไว้ว่า แดนอมตหรือนิพพาน นั้นมีอยู่ เป็น สิ่งๆหนึ่งซึ่งบุคคลพีงรู้แจ้ง เป็นสิ่งที่ไม่มีปรากฏการณ์ ไม่มีที่สุด สามารถปฏิบัติเข้าถึงได้โดยรอบ ในสิ่งนั้นแหละ ดินน้ำไฟลม ไม่อาจหยั่งลงได้ ในสิ่งนั้นแหละ ความยาว ความสั้น ความเล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม ไม่อาจหยั่งลงได้ ในสิ่งนั้นแหละ นามรูป ไม่อาจหยั่งลงได้ นามรูปดับสนิทไม่มีเศษเหลือ เพราะการดับสนิทของวิญญาน (ในสิ่งนั้น ไม่มีการเกิด ไม่มีสิ่งปรุงแต่ง ไม่มีกรรม มารเข้าไปไม่ถึง เรียกระบบนี้ว่า อสังขตธรรม) เมื่อปฏิบัติตามมรรค๘ ย่อมเกิดความเบื่อหน่าย(ในขันธ์๕) คลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น (สัตว์ ไม่ยึดในขันธ์๕ หมดราคะ โทสะโมหะ) เมื่อทำกาละ ย่อมเข้าสู่นิพพาน การปฏิบัติมีหลายวิธี เช่น ละสังโยชน์๑๐ได้(เป็นพระอรหันต์) เมื่อทำกาละย่อมไปสู่นิพพาน ละสังโยชน์ ๕ได้(เป็นพระอนาคามี) เมื่อทำกาละโดยไม่มี อุปทิเหลืออยู่ ย่อมไปสู่นิพพาน แต่ถ้ายังมีอุปทิเหลืออยู่ ย่อมไปสู่พรหมชั้นสุทธาวาสชั้นที่ ๕ คือ อุทธังโสโตอกนิฐคามี เมื่อหมดบุญวาระ (มีอายุประมาณ ๕๐๐ถึง๒๐๐๐๐ กัป) ก็จะปรินิพพานในภพนั้น และ การได้สมาธิในทุกระดับชั้น นับนั้งแต่ชั้นปฐมฌาน เมื่อจิตตั้งมั่นแล้วน้อมจิตไปใน นิโรธสัญญา เมื่อทำกาละไม่มีอุปทิเหลืออยู่ เอาจิตไว้กับกายได้ช่วงมรณะย่อมหลุดพ้น หรือการทำทานด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา(พรหมวิหาร๔) และได้สะสมสุตตะของตถาคต มีความเห็นถูก แม้จะทำสมาธิไม่ได้ เมื่อทำกาละย่อมไปสู่ชั้นพรหมกายิกา กลุ่มอริยะ (เพราะรู้สุตตะของตถาคต) มีอายุหนึ่งกัป แล้วจะไปสู่พรหมชั้นสุทธาวาส มีสี่ชั้นคือ อวิหา อตัปปา สุทัสสา สุทัสสี มีอายุ ๕๐๐ถึง๒๐๐๐๐กัป ก็จะปรินิพพานในภพนั้น

    • @thaidev3153
      @thaidev3153 2 ปีที่แล้ว

      @@user-ug7ps6lf7s ก็นั่นละนะที่พูดมาทั้งหมด ก็ อมตะ ไม่เกิดไม่ตาย ก็ไม่ต้องรับกรรม กรรมมีกายเป็นผล ใช่ไหมละ

  • @user-zl5rq1yw4n
    @user-zl5rq1yw4n 2 ปีที่แล้ว

    ๑.กิเลสวัฏ ๒.กรรมวัฏ
    ๓.วิปากะวัฏ
    จิตที่เวียนว่ายตายเกิด
    เปรียบเหมือนมดไต่
    ขอบกระด้ง
    ร่างกายนี้เป็นที่อาศัยอยู่ของจิต
    คล้ายกับน้ำที่อาศัยอยู่
    บนใบบัว

  • @amnuaysomklin9445
    @amnuaysomklin9445 2 ปีที่แล้ว +3

    แปลง่ายฯสิ่งต่างฯทั้งหลายที่ปรุงแต่งล้วนไม่เที่ยงครับ

    • @9BHUEwadol
      @9BHUEwadol 2 ปีที่แล้ว

      ธาตุ➡️ สติ ➡️อนัตตา, สิ่ง➡️มี➡️ไม่ใช่ตัวตน
      สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ➡️สภาวธาตุทั้งหลาย(สํขต+อสํขต) **มี ไม่ใช่ตัวตน**

  • @user-ve8ld4mj7i
    @user-ve8ld4mj7i 2 ปีที่แล้ว

    ปัญหาตอนนี้ เกิดมาแล้วจะทำอย่างไรต่อไป..ดีนะได้เกิดมาเจอพุทธะ

  • @user-hw7jj8ci7z
    @user-hw7jj8ci7z 2 ปีที่แล้ว

    ดีมากครับ เรียกอีกอย่างว่านี้และพุทธแท้ ครับ ฟันธง ครับ

  • @user-vz1tb3jh9q
    @user-vz1tb3jh9q 3 ปีที่แล้ว +1

    สังขารคือร่างกายจิตใจ และรูปธรรมนามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น พระองค์อธิบายไว้ให้แล้ว เป็นทั้งกาย(วัตถุธาตุ) เป็นทั้งจิต(จิตธาตุ เวทนา สัญญา สังขาร(คิด) วิญญาณ) เป็นทั้งรูปธรรม(รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส มโน) นามธรรม(ความว่าง สูญญตา เจตสิก อารมณ์...)สรุปว่า ทุกสิ่งคือสังขาร ที่มีคุณลักษณะแห่งการเปลี่ยนแปลง(อนิจจัง)และเกิดดับ(ทุกข์)

    • @naan5332
      @naan5332 2 ปีที่แล้ว

      สังขาร​ เป็น​ นามธัมมะ​ หมายถึง​ การปรุงแต่งจิตเจตสิก​ มากกว่า​สังขารตามคนไทยตีว่า​ คือ​ ร่างกาย​ ๆ​ คือ​ สรีระกาย​ ที่มาจาก​ ธาตุสี่มารวมกัน

  • @phinyokhiaolamae
    @phinyokhiaolamae 10 หลายเดือนก่อน

    อนัตตาเฉยๆ อ.อริยเจ้า

  • @user-fu1fu6qu2w
    @user-fu1fu6qu2w 3 ปีที่แล้ว +2

    ไม่ใช่คำสอนขอนพระพุทธเจ้าแน่นอนคือไตรลักณ์คุณยังพูดไม่ถูก

    • @user-tw2ie2er9r
      @user-tw2ie2er9r 2 ปีที่แล้ว

      แต่คุณเขียนไม่ถูก(ลักษณ์)

  • @sawat7436
    @sawat7436 ปีที่แล้ว

    ทุกข์ ใน ธัมมจักร - ทุกในไตรลักษณ์

  • @sukriplar5130
    @sukriplar5130 3 ปีที่แล้ว +2

    ผมเข้าใจอย่างนี้ว่า มีแต่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกเท่านั้นที่ "รู้และเห็นทุกอย่างเป็นอนัตตา" ** "จิต"ของพวกเราทั้งหลายอยู่กับสิ่งที่เป็น "อนัตตา"เพราะรู้จากพระธรรมคำสอน แต่ยังไม่เห็นอนัตตาตามเป็นจริงด้วยปัญญาที่แท้จริงของตน ฉะนั้นจะกล่าวทั้ง "อนัตตา หรือ อัตตา"ก็ไม่ต่างกัน **สิ่งที่เป็น "อนัตตา"ที่สัมปยุตต์กับ "จิต"คือ กิเลส กรรม วิบาก(ขันธ์)" จำแนกเป็นอริยสัจ 2 ได้แก่(1) ทุกข์ คือ วิบาก(ขันธ์) (2)สมุทัย คือ กิเลสและกรรม(เจตนา) *เมื่อประสงค์จะถ่ายถอน "จิต"ออกจาก "ทุกข์และสมุทัย"(สิ่งที่เป็นอนัตตา) ก็ต้องถ่ายถอนด้วยสิ่งที่เป็น "อนัตตา"เช่นกันคือ "นิโรธกับมรรค" กล่าวโดยสรุปคือ การทำกิจญาณหรือทำหน้าที่อริยสัจ 4 ในตนนั่นเอง

    • @user-ug7ps6lf7s
      @user-ug7ps6lf7s 2 ปีที่แล้ว +1

      ท่านกล่าวได้ดีครับ แต่การที่ท่านกล่าวว่า อนัตตาและ อัตตา ไม่ต่างกันนั้น ผมขอแย้งว่าต่างกันครับ ตถาคตได้กล่าวไว้ใน อุปาทาน๔ ที่ศาสนาอื่นๆ อาจจะมีสอนแค่สาม แต่ในศาสนาพุทธ สอนว่ามี ๔ อย่าง ข้อที่ศาสนาอื่นไม่มีสอนแต่สอนเฉพาะในศาสนาพุทธคือ อัตวาทุปาทาน

  • @user-ez7xe2rv7u
    @user-ez7xe2rv7u 3 ปีที่แล้ว +4

    มันไม่ได้ละเอียดลึกซึ้งอะไรหรอกเพียงแค่เราไม่รู้เฉยๆนี่แหละ...ง่ายๆถ้าเรารู้แล้ว จะลึกแค่ไหนเราก็ยังรู้ได้เมื่อเรารู้ได้ก็แสดงว่าไม่ลึก

  • @somnukprattana6247
    @somnukprattana6247 2 ปีที่แล้ว

    เรื่องไตรลักษณ์ ถ้าเอาเข้าใจแบบบรรลุธรรม ต้องเจริญกรรมฐานจนเห็นสภาวะเกิดดับ จึงจะเข้าใจจริงๆ ตนเอง การอธิบายแบบนี้ได้แค่พื้นฐานครับ ต่อให้เป็นปรมาจารย์ทางพุทธปรัชาก็ตามเถอะ

  • @apiratjaroendee4051
    @apiratjaroendee4051 3 ปีที่แล้ว +2

    ทนฟังจนจบ เหมือนจะดี แต่ยังดีไม่พอ เหมือนจะถูก แต่ยังถูกไม่พอ ถูกนิดๆหน่อยๆ เอาความคิดเห็นปุถุชน ของตนเองมาวิเคราะห์เฉยเลย ห่างไกลมากคับ พวกที่ศึกษา พุทธวจน เค้าไปไกลกว่าลุงคนนี้นานแล้วคับลุง

  • @user-qk1on5ym8n
    @user-qk1on5ym8n 9 หลายเดือนก่อน

    กราบอนุโมทนาครับ

  • @khemmakimbo6177
    @khemmakimbo6177 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าเปรียบร่างกายเป็นคอมฯหรือโทรศัพท์มือถือ1เครื่อง ( ฮาดแวร์ ) มีแอ๊ป 3 ตัวที่ต้องติดตั้ง 1.แอ๊ป เวทนา 2.แอ๊ป สัญญา 3.แอ๊ป สังขาร ซอฟแวร์ที่จะเชื่อมการทำหน้าที่ของคอมฯกับแอ๊ปต่างๆๆ หรือ operting system ระบบปฏิบัติการ คือ ' วิญญาณ ' *เปรียบแบบนี้จะได้มั้ยครับ?

  • @theampere2525
    @theampere2525 3 ปีที่แล้ว

    น่าอายมาก
    อ้างบาลียังผิดเลย
    พูดถึงสมองเป็นวัตถุมั่วอีก
    เป็นนักวิทย์ได้อย่างไร
    คนพาลไม่รู้แต่อวดเก่ง
    จุฬาเอามาลงได้อย่างไร เสื่อมไปด้วย

  • @nuchapohndetsongjarus3625
    @nuchapohndetsongjarus3625 2 ปีที่แล้ว

    สรุปแล้วอนิจจังและทุกขังคือตัวเดียวกันหรือคะ ถ้าทุกขังหมายถึงถูกบีบคั้นให้เปลี่ยนแปลง ส่วนอนิจจังคือความไม่เที่ยงไม่ถาวร นั่นคือความเปลี่ยนแปลงนั่นเอง
    หรือ ทุกขังคือสภาวะ และอนิจจัง คือผลแห่งสภาวะนั้น

  • @sornart3484
    @sornart3484 3 ปีที่แล้ว +3

    อนัตตาบัญญัติมาเพื่อขันธ์5คือสะภาวะที่เกิดขึ้น_ตั้งอยู่_ดับไป เป็นทางสายกลางที่ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองคือความมีและความไม่มี

    • @Ajjiam
      @Ajjiam 3 ปีที่แล้ว

      สายกลาง เคยเห็นแต่ ไม่สุดไป ทางอัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป หรือ กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามในความสบาย
      ยังไม่เคยเห็น ว่า สายกลาง ระหว่าง ความมี หรือ ความไม่มี
      ไม่ทราบว่า มีอ้างอิง ในตำรา ไหม
      หรือ ประสบการณ์ จากการปฎิบัติ

    • @user-uq5nh7tp7r
      @user-uq5nh7tp7r 3 ปีที่แล้ว +1

      @@Ajjiam
      ดูกรกัจจานะ โลกนี้ โดยมากอาศัยส่วน ๒ อย่าง คือ ความ มี ๑ ความไม่มี ๑
      ก็เมื่อบุคคลเห็นความเกิดแห่งโลกด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้ว ความไม่มีในโลก ย่อมไม่มี
      เมื่อบุคคลเห็นความดับแห่งโลกด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้ว ความมีในโลก ย่อมไม่มี
      โลกนี้โดยมากยังพัวพันด้วยอุบายอุปาทานและอภินิเวส แต่พระอริยสาวก ย่อมไม่เข้าถึง ไม่ถือมั่น ไม่ตั้งไว้ซึ่งอุบายและอุปาทานนั้น อันเป็นอภินิเวสและอนุสัย อันเป็น ที่ตั้งมั่นแห่งจิตว่า อัตตาของเรา ดังนี้ ย่อมไม่เคลือบแคลงสงสัยว่าทุกข์นั่นแหละ เมื่อบังเกิด ขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับ ย่อมดับ พระอริยสาวกนั้นมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้โดยไม่ต้อง เชื่อผู้อื่นเลย ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล กัจจานะจึงชื่อว่าสัมมาทิฐิ ฯ
      [๔๔] ดูกรกัจจานะ ส่วนสุดข้อที่ ๑ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงมีอยู่ ส่วนสุดข้อที่ ๒ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงไม่มี ตถาคตแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุดทั้ง ๒ นั้นว่า เพราะอวิชชา เป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงมีวิญญาณ ... ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้เพราะอวิชชานั่นแหละดับด้วยการสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ... ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ
      (ไทย) นิทาน.สํ.๑๖/๑๕/๔๓

    • @Ajjiam
      @Ajjiam 3 ปีที่แล้ว

      @@user-uq5nh7tp7r ทรงชี้ ว่าถ้ามีปัญญา ก็จะเห็นว่า ไม่มี หรือ อนัตตา
      ไม่ได้เป็นทางสายกลาง ระหว่าง มีความมี หรือ ความไม่มี
      ที่ยกมา เน้น ตอกย้ำ ว่า ธรรมะ คือ อนัตตา

    • @user-uq5nh7tp7r
      @user-uq5nh7tp7r 3 ปีที่แล้ว +2

      @@Ajjiam ดูกรกัจจานะ ส่วนสุดข้อที่ ๑ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงมีอยู่ ส่วนสุดข้อที่ ๒ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงไม่มี #ตถาคตแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุดทั้ง ๒ นั้น...
      ปล. อ่านอีกรอบครับ อ่านซ้ำๆ พิจารณาให้ดีๆ ขบธรรมะให้แตก จะได้เกิดปัญญา

    • @user-uq5nh7tp7r
      @user-uq5nh7tp7r 3 ปีที่แล้ว +1

      @UCie4_tFldizMDL8xq5N1o0A พิจารณาตามหลักปฏิจจสมุปบาทสายเกิด-ดับได้เลยครับ ความมี(สังขารฯ)เหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เพราะอวิชชา แต่ถ้ารู้ตามความจริง ไม่สร้างเหตุขึ้นมา ความมี(อัตตาฯ)ก็ย่อมไม่มี สรุปสั้นๆ คือถ้าไม่มีเหตุ ก็จะไม่มีผล ถ้ามีเหตุ ก็จะมีผลตามมาฯ
      ถ้าคุณเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ก็จะไม่ตั้งคำถามแบบนี้นะครับ

  • @user-tu1ok4rg2c
    @user-tu1ok4rg2c 3 ปีที่แล้ว +1

    ธรรมรู้ได้คือผู้ปฏิบัติเท่านั้น
    มโนไป ก็ร้อยแปด

  • @sirinthip601
    @sirinthip601 10 หลายเดือนก่อน

    สาธุสาธุสาธุค่ะ🙏

  • @freedomth3990
    @freedomth3990 2 ปีที่แล้ว

    จิตคือพุทธะสาธุ

  • @BTum-hi5qg
    @BTum-hi5qg ปีที่แล้ว

    สัตว์ เปนผู้รับกรรม

    • @user-ih5sz4vh8d
      @user-ih5sz4vh8d หลายเดือนก่อน

      ไม่มีสัตว์ บุคคลตัวตน

  • @rutaiyaicheun7042
    @rutaiyaicheun7042 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณอาจารย์ค่ะ เข้าใจขึ้นเยอะเลย

  • @user-mz8yj6it5n
    @user-mz8yj6it5n 3 ปีที่แล้ว +3

    ถูกต้องครับอาจารย์.อธิบายคำสอนของพระพุทธองค์ได้ถูกต้องที่สุด.สาธุ.สาธุ.สาธุ..ครับ..เปรียบเทียบหลักวิทยาศาสตร์ได้ดี..เห็นด้วย..ยังไม่เคยยินจากใครเลยครับ

    • @sidsutton4297
      @sidsutton4297 2 ปีที่แล้ว

      มีในพระไตรฯ ฉบับเต็ม..หลวงปู่ดูลย์อธิบายจักรวาล ธาตุ สสาร นามธาตุ รูปธาตุ ไว้ใน "จิตคือพุทธะ" นักปราชญ์ว่ากันว่า..ผู้มีปัญญาติดมาฟังแล้วเข้าใจทันที ผู้ที่ไม่เข้าใจครั้งแรกแต่ใคร่ครวญไตร่ตรองจักรู้ได้ ภายหลังฟังครั้งแรกๆๆ

  • @BTum-hi5qg
    @BTum-hi5qg ปีที่แล้ว

    ตัวผู้รู้ เปนผู้เห็น อนัตตา. แต่สัตว์เปนผู้มี อวิชชา ไม่เห็น อนัตตา

  • @vkingsak
    @vkingsak 2 ปีที่แล้ว

    เพิ่งฟังถึงนาทีที่ 12 อธิบายได้ดีจริงๆครับ ผมสงสัยมานานแล้วว่า"สังขาร"แปลว่าอะไรแน่ "ร่างกาย" หรือ "ความคิดปรุงแต่ง" ภาษาไทยคงไม่มีคำที่แปลสังขารได้ตรงๆเลยต้องสลับเอาคำโน้นบ้างคำนี้บ้างมาใช้ พอไปย้อนอธิบายเป็นภาษาอังกฤษที่น่าจะครอบคลุมความหมายได้กว้างพอกับภาษาบาลีเลยทำให้เข้าใจมากขึ้น
    ขอบคุณครับ

  • @wwo2308
    @wwo2308 2 ปีที่แล้ว +1

    ตอบคำถามผู้บรรยายได้เลยว่า ผู้ที่รับผลกรรม หรือ สิ่งที่รับผลกรรมนั้นคือ ขันธ์ 5 เป็นการทำงานของ วิญญาณ กับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร มีการทำงานเหมือน ลำแสง ตกกระทบกับ ฉาก แล้วเกิด รัศมี หรือ รอยแสง เรียกว่า อาการรู้แจ้ง กิริยาที่รู้แจ้ง หรือ วิญญาณ โดยที่มี ฉาก คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร ดังนั้น ขันธ์ 5 คือ สิ่งที่รับผลกรรม เพราะขันธ์ 5 คือ ระบบของธาตุตามธรรมชาติที่มีการเกิดปรากฎ โดยอาศัย กันและกัน แล้วปรากฎขึ้น เหมือนแสงกับฉาก ดัง สาย ปฏิจจสมุปบาท สายเกิด เพราะมี อวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะสังขารทั้งหลาย คือ ระบบของขันธ์ 5 แต่มี ธรรมชาติที่มีความละเอียดปราณีต ซึ่งไม่มีการเกิดปรากฎ นั้นมีอยู่ ธรรมชาตินี้ไม่ใช่ ขันธ์ 5 แต่มีชื่อเรียกว่า ญาณทัศน นั้่นคือ เมื่อธรรมชาตินี้ยังหลงยึด ขันธ์ 5 อยู่จะถูกเรียกว่า สัตว์ แต่เมื่อ ธรรมชาตินี้ ปล่อยวาง การยึดติด ในขันธ์ 5 ได้แล้ว จะถูกเรียกว่า วิมุทติญาณทัศน ดังพระสูตร ที่บอกว่า " ขันธ์ 5 เป็นของหนัก " เมื่อวางของหนักได้ ย่อมเบา ขันธ์ 5 กับ นิพพาน อยู่คนละฝั่งกัน เช่น ความหนัก กับ ความเบา อยู่คนละฝั่งกัน

  • @rattigonrankruenrong5967
    @rattigonrankruenrong5967 ปีที่แล้ว

    สวัสดีค่ะ อาจารย์
    เข้ามาฟัง ที่อาจารย์ อธิบาย
    จริง อย่างที่ท่าน อธิบามาทุกอย่างค่ะ
    ยุคนี้ ในบ้านเมืองเรา ศาลยุติธรรม
    เป็นเทวทัศน์ สะเอง สิคะ

  • @user-qr5ru5qf3o
    @user-qr5ru5qf3o 11 หลายเดือนก่อน

    สาทุอาจารย์🙏

  • @poohpkk
    @poohpkk 2 ปีที่แล้ว

    สาธุครับ

  • @ariyakungpetch2870
    @ariyakungpetch2870 2 ปีที่แล้ว +3

    จิตไงครับ ที่ซ่อนอยู่ในขันห้า จิตก็เป็นอนัตตาเกิดดับตลอด

  • @thongvanhluangdetmalay5316
    @thongvanhluangdetmalay5316 2 ปีที่แล้ว

    สาทุ สาทุ สาทุ อานุโมทามิ

  • @pannaraypitukpong9263
    @pannaraypitukpong9263 2 ปีที่แล้ว +1

    เป็นการฟังบรรยายธรรมะที่่เข้าใจที่สุด นั่งฟังตั้งใจฟังแบบมีความสุขและความเข้าใจ ขอบพระคุณอาจารย์อย่างยิ่งค่ะ

  • @JODINDAENG
    @JODINDAENG 3 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ

  • @user-bw1rj2jk6j
    @user-bw1rj2jk6j 3 ปีที่แล้ว +1

    ความเข้าใจส่วนตัวคือคนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จะไม่ทำกรรมจึงไม่ต้องรับผลกรรม คนที่ทำกรรมอยู่คือคนที่เข้าไม่ถึงไตรลักษณ์ยังต้องทำกรรมและรับผลกรรม

  • @chusriphawee8704
    @chusriphawee8704 3 ปีที่แล้ว +7

    เป็นเรื่องลึกซึ้งค่ะ ขอบพระคุณ อ.ทวีศักดิ์ ได้ความรู้มากค่ะ

  • @songprodkaewjanda5333
    @songprodkaewjanda5333 2 ปีที่แล้ว

    อนุโมทนาสาธุ

  • @user-un9di1rd5x
    @user-un9di1rd5x 3 ปีที่แล้ว +2

    สาธุ สาธุ. เจ้าค่ะ

  • @sriratdecha8809
    @sriratdecha8809 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ!

  • @user-sm3me4se9b
    @user-sm3me4se9b 2 ปีที่แล้ว

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @putthiroekpola7197
    @putthiroekpola7197 2 ปีที่แล้ว

    สาธุ! น้ำเสียงอาจารย์คล้ายๆ สมเด็จพระพุธฒาจารย์ (ปอ.ปยุตโต) เลยครับ
    ฟังสะสมความเข้าใจด้วยความเคารพ ให้เกียรติกันครับ

    • @9BHUEwadol
      @9BHUEwadol 2 ปีที่แล้ว

      ไม่เหมือนนะ สมเด็จฯ.. เสียงท่านมีพรหมวิหาร มีพุทธพจน์บาลีเป็นกัลยานมิตร

  • @sakvilas
    @sakvilas ปีที่แล้ว

    เหมือนว่าคลิปไม่จบ ยังไม่มีคำตอบตามที่จั่วหัวข้อไว้

  • @user-xr3pt4gv7b
    @user-xr3pt4gv7b 3 ปีที่แล้ว

    คำอธิบายยังห่างจาก​"พุทธัม" และพุทธะจิต​ ที่พระศาสดา​ตรัสรู้​ แกนพุทธศาสนา​คือ​จิตที่เป็นพุทธะเท่านั้น​ ผู้ศึกษาธรรมะต้องอย่าประมาทในธรรมะของพุทธองค์(การรับฟังเรื่องธรรมะจากผู้ใดก็อย่าพึ่งเชื่อใช้หลักกามาลาสูต ครับ

  • @somgemstones
    @somgemstones 2 ปีที่แล้ว

    อนุโมทนาสาธุนะคะ