เจรียงสายรุ้ง-ไทรุ้งศิลปินพื้นบ้านอิสานใต้

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 14 ต.ค. 2024
  • เจรียง หรือ จำเรียง ภาษาเขมรในสุรินทร์เรียกว่า จรีง หรือ จำรึ่ง เป็นการละเล่นพื้นเมืองที่เน้นการขับร้องมากกว่าการร่ายรำ มักจะใช้กลอนสดเป็นส่วนใหญ่ เนื้อร้องเป็นภาษาเขมร บรรยายถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบัน การเรียกเจรียง จะเรียกตามชนิดของเครื่องดนตรีที่เล่นประกอบการเจรียง เช่น ถ้าใช้ปี่ที่มีชื่อว่า เป์ยจรวง เป่าประกอบเรียกว่า เจรียงจรวง ถ้าใช้ซอบรรเลงประกอบเรียก เจรียงตรัว และหากนำเจรียงไปขับขานกับการละเล่นพื้นบ้านอะไรก็จะใช้คำว่า เจรียงนำการละเล่นนั้น ๆ ซึ่งการละเล่นของชาวไทยเชื้อสายเขมรในอีสานใต้และตามแนวชายแดนติดกับประเทศกัมพูชาจะเน้นในการขับร้อง (เจรียง) มากกว่าการร่ายรำ มีทั้งเจรียงที่ร้องโต้ตอบเป็นคู่ ๆ ระหว่างชายหญิง และมีการร้องกันเป็นกลุ่ม ซึ่งมีผู้นำขับร้อง เรียกว่า หัวหน้า หรือ พ่อเพลง และแม่เพลง อาจจะมีลูกคู่คอยร้องรับในจังหวะ เช่น เจรียงซันตูจ เจรียงตรด เจรียงเบริน เป็นต้น ปัจจุบัน การละเล่นเจรียงเกือบทุกประเภทที่เคยได้รับความนิยมในอดีตได้ถูกหลงลืม และลดความสำคัญไปจากสังคมชาวไทยเขมร จนแทบจะไม่มีให้ชมให้ฟังอีกเลย
    Chariang or Chamrueng Khmer language in Surin called Chariang or Chamlueng is a local game that focuses on singing rather than dancing. Mostly improvised. The lyrics are in Khmer language. describe the geography history Past and present events summoning will be called according to the type of instrument played in the arrangement, for example, if using a bagpipe called Pei Chuang, the accompaniment is called Jiang Chuang If a fiddle was used to play the accompaniment, it would be called "Jiang Troua", and if "Jiang Troua" was used to sing along with any folk play, the word "Jiang Troua" would be used. Chiriang led that play, which in the Thai-Khmer descent in southern Isan and along the border with Cambodia emphasizes singing (Criiang) rather than dancing. There are both chants that are sung in pairs between men and women. and sang together as a group Which has a leader who sings, called the leader or the father of the song and the mother of the song, may have a couple of children to sing along to the rhythm, such as Jariang San Tou, Jariang Tard, Jariang Berin, etc. Nowadays, almost all types of aria that used to be popular in the past have been forget and reduced its importance from Thai-Khmer society until almost no more to be seen
    ติดต่อ admint ได้ที่
    / เกียรติภูมิขอจงดี
    IG : pongsakusang
    TikTok : @kaen6524
    Line ID : kaenppcool

ความคิดเห็น • 6

  • @phanneeklongklaew8798
    @phanneeklongklaew8798 ปีที่แล้ว +1

    แต่ตัวสวยมากๆๆทั้หญิงชายสวยๆๆ

  • @phanneeklongklaew8798
    @phanneeklongklaew8798 ปีที่แล้ว +1

    👍💜💙💚

    • @kiattiphum156
      @kiattiphum156  ปีที่แล้ว

      วัฒนธรรมที่ยังคงอยู่ครับ และอนุรักษ์ไว้สืบไปตรับ 👍

  • @phanneeklongklaew8798
    @phanneeklongklaew8798 ปีที่แล้ว +1

    นิ้และหมอลำกันตรึมพากอีสานไต้เขาล่ะดังสุดๆๆหมือนกัน

  • @สังคมไตรรัตน์
    @สังคมไตรรัตน์ ปีที่แล้ว

    สมัยกอ่นเมือห้าสิบก่วาปีไม่รู้ว่าพี่ๆนอ้งๆเกิดทันหรือเปล่าสมัยน้าเล็มผู้ชายและน้าประยูรญาติน้าทองพลอนแก่เจรียงสม้ยก่อนเพราะจริงๆรู้แต่ว่าผมในไวสิบปีต้นตอนนัน้❤

  • @phanneeklongklaew8798
    @phanneeklongklaew8798 ปีที่แล้ว +1

    ฟังไม่รู้เรืองแต่ก้อชอบดูจา้แฟนยายก้อคนสุรินท์