พินัยกรรม ความหมายและแบบของพินัยกรรม

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 13 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 7

  • @yayeekiko
    @yayeekiko 9 หลายเดือนก่อน

    ชอบการสอนมาก น้ำเสียง ภาพประกอบ เข้าใจมากๆครับ ดีกว่าอ่านเอง😅

  • @godjichannel
    @godjichannel 2 ปีที่แล้ว +1

    มอบให้ท่านนายกได้มั้ยคะอาจารย์

  • @thanyamaigolaving1768
    @thanyamaigolaving1768 3 ปีที่แล้ว

    @Aj Gade KU SRC
    รบกวนอาจารย์อธิบายเพิ่มเติมได้มั๊ยคะ พอดีหนูยังไม่ค่อยเข้าใจเท่าไหร่คะ
    สไลด์เรื่อง พินัยกรรมแบบเอกสารลับ (ข้อที่ 5.2.4)
    ตรงข้อความ "ถ้าผู้ทำพินัยกรรมไม่ได้เขียนพินัยกรรมเองโดยตลอด จะต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ของผูเขียนพินัยกรรมให้ทราบด้วย"
    หนูอยากทราบว่า "ไม่เขียนพินัยกรรมตัวเองโดยตลอด" หมายความว่าอย่างไรหรอคะอาจารย์
    ขอบพระคุณอาจารย์ล่วงหน้าค่ะ

    • @ajgadekusrc7423
      @ajgadekusrc7423  3 ปีที่แล้ว +1

      หมายความว่า "คนทำพินัยกรรม" ไม่จำเป็นต้องเขียนหรือทำเอกสารพินัยกรรมด้วยตนเอง เพราะอาจมีข้อจำกัดอย่างเช่น ไม่รู้ว่าต้องเขียนอย่างไร ไม่ถนัดเขียนภาษากฎหมาย ก็อาจให้คนอื่นทำให้ เช่น ให้ทนายความทำให้ หรือให้คนรู้จักเป็นผู้เขียน/พิมพ์ให้ เป็นต้นค่ะ ซึ่งในกรณีนี้ให้บันทึกลงในเอกสารพินัยกรรมว่า ผู้ใดเป็นผู้เขียน/เรียบเรียงพินัยกรรมให้ค่ะ

  • @พรรณาทัศนาพันธ์
    @พรรณาทัศนาพันธ์ 3 ปีที่แล้ว

    ต้องติดอากรแสตมไหม

    • @ajgadekusrc7423
      @ajgadekusrc7423  3 ปีที่แล้ว

      ทำพินัยกรรมไม่ต้องติดอากรแสตมป์
      เอกสารที่ต้องติดอากรแสตมป์ มีเพียง 28 แบบ ดูได้จาก www.rd.go.th/6162.html