พระโสดาบันเป็นได้ทุกคน. ต้องปฏิบัติธรรม กฎเหล็ก 3 ข้อของพระพุทธเจ้าให้ได้

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 ต.ค. 2024

ความคิดเห็น • 57

  • @tongbai5509
    @tongbai5509 2 หลายเดือนก่อน

    ไม่ได้ทุกคนต้องจุติจิตเพื่อบรรลสั่งสมอุปนิสัยมาที่จะเป็นเนยยะบุคคลศึกษาธรรมเเล้วค่อยๆเข้าใจทำความเพียรชนิดเอาเลือดเนื้อเข้าเเลกมีร่างกายเเข็งเเรงชรามากก็ไม่ได้ถึงจะเนยยะเเต่ความเพียรตำ่ก็หมดสิทธ์ถ้าเกิดมาเป็นเนยยะเเล้วอย่างตำก็7ปีอรหันต์หรือ7เดือน7วันตามบารมีถึงเเน่นอนเเต่ถ้าปทปรมะปฏิบัติอย่างไรอาจได้จุลโสดาบันปิดอบายได่ชาติเดียวชาติต่อไปอันตรายเหมือนเดิม

  • @pichayanun9258
    @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +2

    ยินดีแลกเปลี่ยนกันครับศึกษาหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าไปด้วยกัน

  • @MgmbTttt
    @MgmbTttt 2 หลายเดือนก่อน

    กิเลสคืออะไรติดสมมุติติดตำรา

  • @phugdeetreepop6060
    @phugdeetreepop6060 3 หลายเดือนก่อน +2

    นั่นคุณสอนตามตำรา ท่านไม่มีสภาวะนั่น

    • @รัศมีทองคํา-ณ5ภ
      @รัศมีทองคํา-ณ5ภ 3 หลายเดือนก่อน

      @@phugdeetreepop6060 การเจริญ สุตตมยปัญญา เป็นการเจริญ สัมมาสมาธิ สมาธิรูปสัญญา ฌาน 1234 นั่นเองค่ะ ปัญญา ที่เกิดปรากฏขึ้นมา เป็นปัญญา ฌาน4 สัมมาทิฏฐิ เป็น อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั่นเองค่ะ

    • @รัศมีทองคํา-ณ5ภ
      @รัศมีทองคํา-ณ5ภ 3 หลายเดือนก่อน

      @@phugdeetreepop6060 การที่เริ่ม บอกต่อ คำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นการสะสมหญ้าและไม้ เพื่อทำเป็นเรือพ่วงแพ และพายข้ามฝั่ง ก็คือเริ่มเห็นการเกิดปรากฏขึ้นมาของ ธรรมชาติ ตามที่พระพุทธเจ้าท่านบอกสอนไว้ให้รู้ตามนั่นเองค่ะ เป็นการเกิดปรากฏขึ้นมาของ เส้นทางปัญญาวิมุตติ นั่นเองค่ะ เมื่อถึงฝั่งแล้วก็จะ ทิ้งเรือ ตามที่พระพุทธเจ้าท่านบอกสอนไว้ให้รู้ตาม นั่นเองค่ะ เส้นทางปัญญาวิมุตติ คือ การเจริญ สุตตมยปัญญา เป็นปัญญา ฌาน4 สัมมาทิฏฐิ นั่นเองค่ะ

  • @สุจิตพรหมจรรย์
    @สุจิตพรหมจรรย์ 3 หลายเดือนก่อน

    กิเลสคืออะไรครับ ในมุมของคุณน้า

    • @รัศมีทองคํา-ณ5ภ
      @รัศมีทองคํา-ณ5ภ 3 หลายเดือนก่อน +1

      @@สุจิตพรหมจรรย์ กิเลส คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา นั่นเองค่ะ ซึ่งเป็นการเกิดปรากฏขึ้นมาของ สัตตานัง นั่นเองค่ะ

  • @montritri9626
    @montritri9626 3 หลายเดือนก่อน +3

    เห็นมาหลายๆคลิป ที่พากันลงในยูทูป..อวดหรืออ้างถึงการบรรลุธรรม..แต่ไม่พูดถึงวิธีปฏิบัติเลย ...หากบรรลุง่ายๆ พระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าไม่อัศจรรย์เลย...

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      เริ่มรู้ทุกข์10อย่าง

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      เกิดจากเราไปยึด(อุปทานขันธ์5)

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      เริ่มต้นให้ได้จากขันธ์5

    • @รัศมีทองคํา-ณ5ภ
      @รัศมีทองคํา-ณ5ภ 3 หลายเดือนก่อน +1

      พระพุทธเจ้าท่านทรงบอกสอน สัจธรรม ไว้ให้รู้ตาม ใน ตถาคตภาษิต นั่นเองค่ะ ใน ตถาคตภาษิต จะมี กฏอิทัปปัจจยตา มี ปฏิจจสมุปบาท มี สังขตธรรม จึงเป็น สัมมาทิฏฐิ สังขตธรรม เป็น คำสอนของพระพุทธเจ้า เป็น ตถาคตภาษิต นั่นเองค่ะ จึงมี กฏอิทัปปัจจยตา มี ปฏิจจสมุปบาท มี สังขตธรรม จึงเป็น สัมมาทิฏฐิ นั่นเองค่ะ เมื่อมี ศรัทธาใน คำสอนของพระพุทธเจ้า คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ อริยมรรคมีองค์แปด นั่นเองค่ะ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ อริยมรรคมีองค์แปด คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ เส้นทางเจโตวิมุตติ และ เส้นทางปัญญาวิมุตติ นั่นเองค่ะ

    • @รัศมีทองคํา-ณ5ภ
      @รัศมีทองคํา-ณ5ภ 3 หลายเดือนก่อน

      การเกิดปรากฏขึ้นมาของ เส้นทางเจโตวิมุตติ ละนันทิ เจริญอานาปานสติ (ศีล สมาธิ ปัญญา ) ละนันทิ ใน เวทนาทุกข์ และ ละนันทิ ใน เวทนาสุข ด้วยการเจริญอานาปานสติ ละนันทิจิตหลุดพ้น คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ ปัญญา ฌาน4 สัมมาสังกัปปะ (สมถะ วิปัสสนา อานาปานสติ) การเกิดปรากฏขึ้นมาของ สมถะ คือ ละนันทิใน เวทนาอุเบกขาด้วยการเจริญอานาปานสติ / การเกิดปรากฏขึ้นมาของ วิปัสสนา คือ ละนันทิ ใน สัญญา ด้วยการเจริญอานาปานสติ / การเกิดปรากฏขึ้นมาของ อานาปานสติ คือ ละนันทิ ใน รูปขันธ์ ด้วยการเจริญอานาปานสติ ละนันทิจิตหลุดพ้น คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ สมาธิสัญญาเวทยิตนิโรธ นั่นเองค่ะ (สมาธิรูปสัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา > สมาธิอรูปสัญญา สมถะ วิปัสสนา อานาปานสติ) เมื่อมีศรัทธาใน คำสอนของพระพุทธเจ้า ตถาคตภาษิต คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ อริยมรรคมีองค์แปด / การเกิดปรากฏขึ้นมาของ อริยมรรคมีองค์แปด คือ การเกิดปรากฏขึ้นมาของ เส้นทางเจโตวิมุตติ อย่างนี้นั่นเองค่ะ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ นั่นเองค่ะ

  • @Dtyuui
    @Dtyuui 3 หลายเดือนก่อน +2

    😂😂 พระโสดาบัน ไม่มีกฏเหล็ก..
    เพียง พร้อมด้วย 5 อย่าง คือ 1ศรัศรัทธาตั้งมั่นในพระพุทธเจ้า..
    2ศรัทธาตั้งมั่นในพระธรรม...
    3ศรัทธาตั้งมั่นในพระสงฆ์
    4มีศีลอันพระอริยะรักใคร่..
    5มีปัญญาเห็นแจ้งในอริยสัจ
    มีครบ 5อย่างนี้ เป็นพระโสดาบัน..

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      2 กรกฎาคม ค.ศ. 2024

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน

      0:35

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      สังโยชน์ 3 ข้อ

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      bondage)
      ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ 5 (สังโยชน์เบื้องต่ำ เป็นอย่างหยาบ เป็นไปในภพอันต่ำ - lower fetters)
      1. สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่าเป็นตัวของตน เช่น เห็นรูป เห็นเวทนา เห็นวิญญาณ เป็นตน เป็นต้น - personality-view of individuality)
      2. วิจิกิจฉา (ความสงสัย, ความลังเล ไม่แน่ใจ - doubt; uncertainty)
      3. สีลัพพตปรามาส (ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและวัตร - adherence to rules and rituals)
      4. กามราคะ (ความกำหนัดในกาม, ความติดใจในกามคุณ - sensual lust)
      5. ปฏิฆะ (ความกระทบกระทั่งในใจ, ความหงุดหงิดขัดเคือง - repulsion; irritation)
      ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ 5 (สังโยชน์เบื้องสูง เป็นอย่างละเอียด เป็นไปแม้ในภพอันสูง - higher fetters)
      6. รูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน หรือในรูปธรรมอันประณีต, ความปรารถนาในรูปภพ - greed for fine-material existence; attachment to realms of form)
      7. อรูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน หรือในอรูปธรรม, ความปรารถนาในอรูปภพ - greed for immaterial existence; attachment to formless realms)
      8. มานะ (ความสำคัญตน คือ ถือตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่ - conceit; pride)
      9. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน - restlessness; distraction)
      10. อวิชชา (ความไม่รู้จริง, ความหลง - ignorance)
      สังโยชน์ 10 ในหมวดนี้ เป็นแนวพระสูตร หรือ สุตตันตนัย แต่ในบาลีแห่งพระสูตรนั้นๆ มีแปลกจากที่นี้เล็กน้อย คือ ข้อ 4 เป็น กามฉันท์ (ความพอใจในกาม - desire) ข้อ 5 เป็น พยาบาท (ความขัดเคือง, ความคิดร้าย - illwill) ใจความเหมือนกัน
      ลำดับการละสังโยชน์ 10 นี้ ให้ดู [164] มรรค 4.
      S.V.61;
      A.V.13;
      Vbh.377สํ.ม. 19/349/90;
      องฺ.ทสก. 24/13/18;
      อภิ.วิ. 35/976-977/509.
      พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
      84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=329
      
      
      ShareFacebookLineWhatsAppWeChatTwitter
      บันทึก ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗, ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๕, พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ หากพบข้อผิด

    • @pichayanun9258
      @pichayanun9258  3 หลายเดือนก่อน +1

      bondage)
      ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ 5 (สังโยชน์เบื้องต่ำ เป็นอย่างหยาบ เป็นไปในภพอันต่ำ - lower fetters)
      1. สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่าเป็นตัวของตน เช่น เห็นรูป เห็นเวทนา เห็นวิญญาณ เป็นตน เป็นต้น - personality-view of individuality)
      2. วิจิกิจฉา (ความสงสัย, ความลังเล ไม่แน่ใจ - doubt; uncertainty)
      3. สีลัพพตปรามาส (ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและวัตร - adherence to rules and rituals)
      4. กามราคะ (ความกำหนัดในกาม, ความติดใจในกามคุณ - sensual lust)
      5. ปฏิฆะ (ความกระทบกระทั่งในใจ, ความหงุดหงิดขัดเคือง - repulsion; irritation)
      ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ 5 (สังโยชน์เบื้องสูง เป็นอย่างละเอียด เป็นไปแม้ในภพอันสูง - higher fetters)
      6. รูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน หรือในรูปธรรมอันประณีต, ความปรารถนาในรูปภพ - greed for fine-material existence; attachment to realms of form)
      7. อรูปราคะ (ความติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน หรือในอรูปธรรม, ความปรารถนาในอรูปภพ - greed for immaterial existence; attachment to formless realms)
      8. มานะ (ความสำคัญตน คือ ถือตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่ - conceit; pride)
      9. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน - restlessness; distraction)
      10. อวิชชา (ความไม่รู้จริง, ความหลง - ignorance)
      สังโยชน์ 10 ในหมวดนี้ เป็นแนวพระสูตร หรือ สุตตันตนัย แต่ในบาลีแห่งพระสูตรนั้นๆ มีแปลกจากที่นี้เล็กน้อย คือ ข้อ 4 เป็น กามฉันท์ (ความพอใจในกาม - desire) ข้อ 5 เป็น พยาบาท (ความขัดเคือง, ความคิดร้าย - illwill) ใจความเหมือนกัน
      ลำดับการละสังโยชน์ 10 นี้ ให้ดู [164] มรรค 4.
      S.V.61;
      A.V.13;
      Vbh.377สํ.ม. 19/349/90;
      องฺ.ทสก. 24/13/18;
      อภิ.วิ. 35/976-977/509.
      พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
      84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=329
      
      
      ShareFacebookLineWhatsAppWeChatTwitter
      บันทึก ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗, ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๕, พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ หากพบข้อผิด