ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ต้องแบบนี้ครับดีมีประโยชน์ คนชอบปั่นชอบตีความไปเรื่อยทำคลิปแซะไม่แตกฉานสักคน ขอบคุณแบไต๋และช่องอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจน
อีกอย่างข้อมูลส่วนบุคคลไม่ว่าอะไรก็ตาม เช่น ชื่อ อายุ ประวัติงาน ถ้าถูกเผยแพร่โดยราชการละโทษประหารรึเปล่า ถ้าประชาชนร้องทุกข์ส่าเกิดความเดือนร้อนและไม่ยินยอมให้หน่วยราชการเผยแพร่ข้อมูล
ความน่าเชื่อถือ คือ สิ่งสำคัญที่สุดคุณหนุ่ย มีความน่าเชื่อถือสูงมากขอบคุณที่รักษาสิ่งนี้ไว้เวลามีข้อสงสัยในประเด็นสังคมเราจะรอคุณหนุ่ยพูดและจบข้อสงสัยที่ตรงนี้... ขอบคุณจากใจ
หากไม่มีแบไต๋ เราคงวุ่นวายกันอีกหลายวันหรือหลายเดือนเลยครับ วันนี้ เคลียร์เลยครับ ขอบคุณ “แบไต๋” จริงๆครับ
ถ้าถ่ายภาพ ถ่ายวีดีโอเพื่อรีวิวสินค้า รีวิวสถานที่ อันนี้ก็ผิดสิครับ เพื่อการค้าและกำไร ยังงงอยู่ดี เอาเป็นว่า ทำอะไรก็ผิดทุกอย่าง (คนไม่ใช่ทำอะไรก็ผิด)
อย่างเช่นค่ายมือถือมาขอยินยอม แล้วแซกแซงเข้าระบบเอาโฆษณามายัดใส่ข้อมูลเรา มันควรมีกฎหมายรับรองเจ้าของข้อมูลบ้างนะครับ บางทีก็อยากได้การคุ้มครองแต่ไม่ใช่แบบที่พวกค่ายมือถือกำลังทำ ทั้งๆที่ปกติก็ไม่มีใครชอบแต่พวกนี้ชอบยัดเยียดทุกวิถีทางเพื่อนจะเอาโฆษณามาใส่
ขอบคุณความชัดเจน ขอบคุณแบไต๋ นำสาระที่สำคัญมาให้ประชาชนได้เข้าใจ🙏
กฎหมายที่ดีจะต้องชัดเจน ไม่เหลือช่องให้ตีความเอนเอียงไปเอื้อประโยชน์หรือลงโทษฝั่งใดฝั่งหนึ่งได้
กฏหมายไหน ตีความด้วยมนุษย์ กีฬาใด ให้คะแนนด้วยมนุษย์ โอกาสตัดสินผิดเพี้ยนสูง
กระจ่าง บางอ่อ อธิบายดีมากเลย
แล้วพวกแอปที่บังคับให้ยินยอมเปิดเผยข้อมูลกับพันมิตรทางธุรกิจนี่ ถือว่าผิดไหมครับ เช่น ถ้ายินยอมไม่ครบทุกข้อ ปุ่มตกลงจะไม่ขึ้นครับ
ขอบคุณครับ คุณหนุ่ยและทีมงาน.
ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้ชัดเจนดีครับ
ขอบคุณอาจารย์ท่านตอบได้ชัดเจน และตอบด้วยเหตุผล ฟังแล้วเข้าใจถึงจุดประสงค์ของตัวกฏหมายตัวนี้ขอบคุณคุณหนุ่ยคำถามโดนใจเคลียชัดเจนแถมตัวอย่างที่ประเทศใหญ่ๆได้ใช้จริงมานานแล้วทำให้เข้าใจง่ายขึ้นอีก
ประชาชนอาจจะไม่ได้ตีความอย่างไร้สาระหรอกครับแต่คนออกกติกา ต้องออกมาอธิบายสาระสำคัญอย่างชัดเจนเพื่อไม่สร้างความสับสนแก่ประชาชนตั้งแต่ทีแรก
ขอบคุณค่ะ เข้าใจแจ่มแจ้งเลยค่ะ
อนุความสุข
แบบนี้ ทำคลิปลงยูทูปและยูทูปนั้นตั้งหาเงินไว้จากยอดวิว แบบนี้ ต้อง Censor หน้าคนทุกคนที่ถ่ายติดในคลิปหรอครับ
หมายถึงหากำไรจากคนที่ติดมาในรูป
ขออนุญาต แชร์ ได้มั่ยครับ
ขอสะท้อนสำหรับหน่วยงานภาครัฐเช่นโรงพยาบาล โรงเรียน ที่มีทรัพยากร กำลังคน งบประมาณจำกัด ไม่มีการสนับสนุน เป็นภาระงานเพิ่มขึ้น ผู้บริหารไม่เห็นความสำคัญ ส่วนมากผลักภาระมาให้ IT ของหน่วยงาน
กรณีบริษัทติดป้ายแล้วว่ามีกล้องวงจรปิด แล้วมีปัญหาพนักงานหรือใครก็ตาม ทำอะไรที่ผิดระเบียบบริษัท เรานำภาพไปประกอบการลงโทษ เราอาจโดนฟ้องกลับด้วยมั๊ยครับว่าเราละเมิดเค้า
ขอบคุณมากครับผม... สำหรับข้อมูลดีๆครัย
ขออนุญาตแชร์ให้ทุกคนเข้าใจ
ขอบคุณข้อมูลดีๆ ครับ
ก็ไม่เข้าใจว่าองค์กรส่วนใหญ่ทำไมส่งเรื่อง PDPA มาให้ IT เป็นแม่งาน ทำไมไม่ให้เรื่องไปอยู่ฝ่ายกฎหมาย
เห็นด้วยอย่างยิ่งค่ะ ฝ่ายกฎหมายควรเข้ามาแอคชั่นมากกว่า
ผมมองว่าก่อนจะใช้กฎหมายนี้ควรสร้างกฎหมายบังคับให้ร้านค้านงานสาธารณะที่ท่องเที่ยวควรมีรูปห้ามถ่ายภาพหรืออนุญาติให้ถ่ายได้ คนที่เข้าไปก็จะได้รู้จุดนี้เราได้ไปนี่เรายอมให้คนอื่นถ่ายติดได้ อะไรอย่างนี้นะ เพื่อแก้ปัญหาขัดแย้งได้เยอะครับ แล้วถ่ายรูปผมมองว่าถ้าเป็นด่านหรือตรวจค้นเราต้องถ่ายรูปและวีดีโอได้นั้นคือการรักการสิทธิ์บุคคลเพื่อป้องความเสียหายแต่ต้องเป็นบุคคลที่เกิดเหตุการ์อยู่เท่านั้น
น่าคิดภาษากฎหมายทำไมคนอ่านแล้วตีความเข้าใจผิดน่าจะเขียนให้คนทั่วไปเข้าได้ใจได้ง่าย(ในหลายๆเรื่อง)
ฟังดูมีประโยชน์ต่อประชาชนอย่างเรามากกว่าข้อเสียนะ รักษาผลประโยชน์ของคนทั่วๆไป
แล้วอีเมลมีเบอร์ที่ไม่ใช่ของเรา.เพิ่มมาเราเอาเรื่องได้ไหมค่ะ
ที่บอกว่าถ้าเป็นหน่วยความมั่นคง เช่น ทหาร/ตำรวจ ติดได้เลย ขอถามต่อว่า..การจะติดภายในสำนักงานต้องผ่านการขออนุญาตหัวหน้าหน่วยมั้ยครับ ถ้าเอามาติดเป็นการส่วนตัวเช่นบริเวณโต๊ะทำงาน แต่สามารถมองเห็นคนอื่นๆ แบบนี้จะผิดมั้ยครับ..
ในความรู้สึกผมมัน กฎหมาย ยังมีข้อเสียอยู่ ยกตัวอย่างเช่น การถ่ายตำรวจกระทำความผิด เราจะต้องมากังวลว่าเราถ่ายตำรวจผิดไหม ถ่ายหน้าได้ไหม ผมคิดว่าการถ่ายตำรวจมันควรทำเพื่อเป็นการป้องปราม (ขนาดถ่ายหน้าตำรวจก็ยังทุจริตกันอยู่เลย) และควรเอาออกมาประจานด้วยครับถ้าตำรวจทำไม่ดี แต่อย่างว่าอาจารย์เป็นคนร่างกฎหมายก็มาพูดถึงข้อดีเพียงด้านเดียว และตำรวจก็คงดีใจว่ามีช่องทางที่อาจจะทำมาหากินได้ง่ายขึ้น
ปัญหามันน่าจะอยู่ที่วิธีการใช้กฎหมายนะครับ ดูอย่างพรบ.คอมสิครับ ไม่เกี่ยวว่าถูกหรือผิดตามกฎหมายนี้ ปัญหาคือกฎหมายเปิดโอกาสให้คนถูกฟ้องร้อง ซึ่งคนส่วนใหญ่ในประเทศนี้ไม่มีเงินไปสู้คดี เขาก็จะยอมผิด และยอมจ่าย
ขอสอบถามค่ะ ในกรณีร้านค้าต้องการรีวิวจากลูกค้า(เป็นเชิงพาณิชย์) ซึ่งได้บอกกล่าวฝั่งลูกค้าแล้วลูกค้ายินยอม สามารถโพสต์ได้ตามปกติใช่มั้ยคะ
ขอบคุณครับ เคลียร์ ชัดเจนครับ
ง่ายๆคับ ถ้าใช้ แล้วคน ที่ถุกใช้ เกิดความเสียหาย ง่ายๆ pdpaนี้ตะคุ้มครอง แม้กระทั่ง ใช้โซเชียล pdpaนี้คุ้มครองทั้ง2ส่วน
น่าควบคุมไปถึงการแอบส่องที่การกระทำด้วยการจงใจโดนที่ผู้เสียหายไม่ได้รับรู้หรือเอาพูดหรือทำให้ผู้เสียหายถูกดูหมิ่นด้วย ครับ
แล้ว ถ้าคนทำผิด โทษ ปรับหรือ จำคุก เท่าไหร่ ยังไง มีอัตราโทษยังไง
ตรงมีข้อยกเว้น ผมกลัวตรงนี้มาก และผมก็ไม่ไว้ใจดุลยพินิจเจ้าพนักงานเลย ยกตัวอย่างโพสต์ประจานโจรออนไลน์ ลงทั้งหน้าเฟซ ชื่อบัญชีที่โอนเงิน บัตรประชาชนโจร(ปิดที่อยู่ เปิดแต่ชื่อแต่ตรงกับบัญชี) ก็เพื่อประโยชน์สาธารณะ ไม่ให้คนอื่นได้โดนด้วย แต่ถ้าโจรหัวหมอ มันสามารถใช้กฎหมายนี้ฟ้องเรากลับได้ไหมครับหรือประวัติอาชญากรรม บางชื่อที่หลอกขายออนไลน์ ก็จะมีประวัติบนอินเตอร์เนต ในเว็บ blacklist ในเพจกองปราบ ฯลฯ พวกนี้ จะเข้าข่ายความผิดไหมครับที่ลงข้อมูล ที่แม้จะเป็น fact แต่มันก็จะอยู่บนโลกอินเตอร์เนตตลอดกาลนะ
เรื่องตีความผมว่ายังไงก็มีปัญหาแน่นอนครับ ยิ่งกลายเป็นให้มีผู้เชี่ยวชาญมากรอง กลายเป็นว่าตัวกฎหมายไม่ชัดเจนในตัวเอง
ครับ กฏหมายมันมีช่องเยอะ จริง ๆ ผมฟังคนที่มาตอบคำถามมันยังไม่เคลียร์เลย การบังคับใช้จริงมีปัญหาแน่ ๆ
ขอบคุณมากครับ ชัดเจนดีครับ
โรงเรียนแถวบ้านผมเอารูปนักเรียนมาติดเต็มกำแพงเลย ทั้งชื่อและรูป
ขอบคุณครับที่มาอธิบายให้ทุกคนได้ฟัง อยากให้คนไทยมองว่าข้อมูลส่วนตัวนั้นสำคัญจริงๆ เพราะประเทศที่พัฒนาแล้วก็ควรจะให้ความสำคัญกับข้อมูลส่วนตัว มันไม่ใช่แค่ภาพแคบๆในชีวิตประจำวันอย่างเดียว แต่มันรวมไปถึงการคุ้มครองข้อมูลของคุณที่ให้ข้อมูลส่วนตัวกับบริษัทต่างๆด้วยนะคับ 🙏
คุณหนุ่ย ตามกฎหมายนี้ ครอบคุมถึงกรณีที่เราโดนพวกขายประกันที่ชอบโทรเข้ามาโดยที่เราไม่เคยติดต่อกับกลุ่มพวกนั้น โดยโทรมาประมาณว่า คุณได้รับสิทธิ์พิเศษในการทำประกัน โดยสามารถผ่อนผ่านบัตรเครดิต ถือว่าเค้าผิดมั๊ยครับ แล้วเอาผิดไปถึงคนที่ให้ข้อมูลส่วนตัวของเราได้มั๊ยครับ
บริษัท ต้องจ้างบริษัทภายนอก ออกใบรับรองว่า บริษัทนั้นๆผ่านการตรวจสอบ และ ต้องตรวจทุกๆปีหรือไม่ครับ
แล้วสำหรับพ่อค้าแม่ค้า สามารถถ่ายภาพรีวิวตอนลูกค้ามาซื้อของได้ไหมครับ แบบนี้จะถือว่าเป็นการทำเพื่อแสวงผลกำไรหรือไม่
บอกลูกค้าว่า "ขอเอาไปลงเพจนะคะ" แล้วให้ลูกค้าตอบว่า "ได้ค่ะ" ก็โอเคแล้วครับ
เข้าใจดีเลยครับ
กฏหมายฉบับนี้ ผมดู TH-cam ของคนไทยในต่างแดนแล้วไม่สนุกเท่าไร เล่นเบลอหน้าหมด ก็จะเสียเสน่ห์เมืองท่องเที่ยวเปล่า
ลำบากค่ะ กับการใช้ชีวิตในการทำงาน
กฎหมายย่อมมีช่องว่างเสมอครับ
ไม่ชัดอธิบายเข้าข้างตัวเองอยู่ดี1.เริ่มแรกไกล่เกลี่ย หลังจากนั้นคือปรับทุกกรณีไหม2.สมมุติเหตุการณ์ ถ้าเราถ่ายเซลฟี่ตัวเอง หรือถ่ายวิว แล้วติดคนด้านหลังพาภรรยาที่ 2 มา แต่เราก็ไม่ได้โฟกัสตรงนั้น แต่เขาเสียหายแล้วฟ้องเราทำยังไง เพราะเกิดความเสียหายกับเขาแน่นอน ถ้าเขาเลิกกันบ้านแตก แปลว่าเราผิดจะทำไง สุดท้ายกฏหมายก็มาปรับเราอยู่ดีจริงไหม3.สมมุติเราถ่ายวิวสวยมากนาทีนั้นมันเลี่ียงไม่ได้แล้ว และต้องใช้ภาพไปหากินถ้าจะบังภาพคนแล้วทำให้ภาพเราไม่สวยทางคนออกกฎหมายรับผิดชอบไหม4.คนออกกฏหมายแค่ 20 คน มาตัดสินใจแทนคน 75 ล้าน คืออะไร ผมไม่เชื่อว่าท่านจะไกล่เกลี่ยได้ทุกเรื่อง5.สุดท้ายผมต้องเสียเวลามานั่งขึ้นศาลเพราะการถ่ายรูปเล่นเหรอ นั้นก็ไม่ต้องมีมันไหม ถ้าใครถ่ายผมไปผมฟ้องกรณีได้ไหมผมไม่ยินยอมทุกกรณี แม้จะเป็นกล้องจราจรตรวจจับ ผมก็เสียหาย แบบนี้เหรอ
ข้อมูลประวัติอาชญากร ของผม ก็ไม่สามารถเปิดเผยแกใครได้สิครับ??
สอบถามค่ะ ถ้าทำกิจการใช่เช่าที่จอดรถ เป็นพื้นที่ส่วนบุคคล ต้องติดป้ายบอกมั้ยคะ
ผมว่าไม่ต้องติดนะ..เพราะมันก็บอกว่าเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล...เราแค่เปิดกิจการในพื้นที่เราและในพื้นที่นั้นก็ไม่ใช่คนทั่วไปที่จะต้องเดินเข้าออกง่าย..มันเป็นพื้นที่ของเจ้าของรถเท่านั้นตามที่ระบุในสัญญาเช่าพื้นที่จอดรถที่มีรอบรั้วขอบชิดที่จะสามารถเข้ามาในพื้นที่นี้เท่านั้น...ผมแค่ตีความเอานะครับ..เพราะถ้าเขามาว่าเราต้องติดนะ..ผมก็แย้ง...แค่ป้ายจะติดก็ได้ไม่ใช่ปัญหาแต่ผมว่าที่เราทำธุรกิจแบบนี้ควรติดหรือเท่านั้นเอง
หันกล้องเข้าพื้นที่เรา ไม่ต้องติดครับ แต่ถ้าหันออกนอกพื้นที่ส่องไปสารธารณะ ต้องติดป้ายบอก
เปิดร้านอาหาร ถ่ายรูปลูกค้า และภายในร้าน ต้องปิดหน้าลูกค้าไหมครับ
555 ชัดเจน ถ่ายภาพ วีดีโอ เพื่อการค้า ผิดครับ คิดดูดีๆ ครับ ฟังดูดีๆ
ต้อง
กล้องวงจรปิดยกเว้นข้อนี้ การถ่ายรูป ถ้าใช้ทางด้าน การทำงาน เหรอองกร มีข้อยกเว้น แต่ ถ้าการล่วงรู้ข้อมูล เช่นโทรสัพ เหรอ แอบถ่ายรูปในตอนยุในบ้านเหรอห้องเช่า มีความผิด pdpa ลองรับ
ขอบคุณครับ
น่าจะอธิบายให้ ปชช เข้าใจก่อน บังคับใช้นะครับ เพราะกฏหมายแบบนี้แต่ละคนตีความกันคนละแบบ ครับ
ร่าง กม. แต่ไม่ได้ตีความ กม. อย่าพูดไปเรื่อบไปเอง ตามความเข้าใจตนเอง
ขอบคุณมากครับ
ปัญหาใหญ่ของ พรบ นี้คือกำกวม ต้องแปลไทยเป็นไทย ดังนั้นหน่วยงานต่างๆควรทลให้ความรู้กับประชาชนเสียใหม่ เพราะประชาชนยังเข้าใจไม่ถูกต้องเยอะมาก
แปลว่าคุณศึกษาข้อมูลกฏหมายนี้ไม่แตก ฉาน ดิ เลยยุ่งยาก ถ้าคน ศึกษา เข้าใจง่ายๆ มันก้อง่ายคับ คำว่า ส่วนตัว กับ สาธารณะ เข้าใจปะ 2ข้อนี้คุณต้องแบ่งแยกไห้ออกระหว่างส่วนตัวกับสาธารณะ
ถ้าเราแบ่งออก2ข้อนี้ แล้ว คุณตะเข้าใจ ก้อกฏหมาย ข้อนี้ pdpa เรียกค่าเสียหายได้ด้วย สูงสุด5ล้าน
ก่อนออกกฎหมาย ทำไมหน่วยงานรัฐไม่ทำการประชาสัมพันธ์ ให้คนเข้าใจอย่างจริงจัง ย้ำอย่างจริงจัง ไม่ใช่แค่ประกาศเป็นพิธี ควรลงทุนจ้างมืออาชีพเช่นตัวอย่างหนุ่ย หรือใครก็ได้ แล้วซื้อสื่อเยอะๆโดยจ้างมืออาชีพที่เก่งๆวางแผนให้มีประสิทธิภาพ ไม่ใข่จ้างบริษัทพวกพ้อง และอาจจะทำให้คนสงสัยว่าต้องจ่ายใต้โต๊ะ ทำให้เหลือเงินที่ใช้ง่านจริงๆ ไม่ถึง 50 % คนทั่วไปก็ได้รับข่าวสารแบบไม่ทั่วถึง
เหมือน M-Flow เข้าช่องผิดกัน เยอะเลย.
ปกติคนส่วนมากก็เล่นเฟสกันอยู่ละ ก็หัดกดติดตามเพจมีสาระๆ บ้าง ไม่ใช่เพจผัวเมียตบตีกัน ต่อให้ติดป้ายทุกหมู่บ้านคนจะไม่อ่านมันก็ไม่อ่าน ใครไม่มีความรู้ก็ให้ไปเสียค่าปรับ จะได้จำ
เขามีให้อ่านทำไมไม่อ่านครับผมมีแต่ภาษาไทยนะหน้าจะอ่านออก
กระจ่างแจ้งเลยครับ
ทำไม…ไม่พูดถึง การถ่ายเจ้าหน้าที่บ้างละ (นี่ละช่องโหว่กฏหมาย ที่น่ากลัว)
คงลืมไปว่าคน ร่าง กับ คนตี ความคนละคน ดูอย่าง พรบ คอม เจตนารม คืออะไร แล้วตอนนี้ใช้ทำอะไร
สอบถามอีกข้อค่ะ สงสัยว่าบ้านที่อยู่อาศัย ติดกล้องหน้าบ้านเลย มองเห็นชัดเจนว่าติดหน้าบ้าน ต้องติดป้ายบอกมั้ยคะ
ที่บ้านไม่ต้องติดป้านเตือนครับ
สรุปแล้วเอาภาพผู้หญิงเซ็กซี่โดยที่เขาไม่ยินยอมแล้วมาโพสต์คลิปโพสต์รูปลงโซเชียลผิดไหมครับเสียหายไม่เสียหายยังไง สมมุติโพสแบบลอยๆไม่ได้พิมพ์อะไรเพิ่มเติม
คิดว่าเขาได้อธิบายไว้ชัดเจนที่สุดและเข้าใจง่ายที่สุดแล้ว แต่ถ้ายังมีคนที่ไม่ยอมเข้าใจเอาแต่ด่าก็ไม่รู้จะว่ายังงัยแระ....
เท่าที่ดู ไม่ได้ด่า อันนี้ปกป้องส่วนบุคคล เพื่กการค้าและกำไร ถ้ารีวิวสินค้า รีวีวสถานที่มันก็ผิดอยู่ดี
เห็นมีคำถามดีๆเยอะ แต่ไม่มีคำตอบมากกว่า
เขามาอธิบาย มันก็มีคนแกล้งพยายามจะไม่เขาใจ ไอัพวกแอบถ่ายรูปคนอื่น ไปลง tikkok จะได้เพลาๆลงบ้าง
โทษทางแพ่ง ใช่ไหมจร้า ฟังๆๆดู
วันนี้เห็นข่าวเจ้าของบ้านไม่กล้าถ่ายคลิปให้เห็นหน้าโจรที่ขโมยของในบ้าน เพราะเข้าใจผิดเกี่ยวกับกฎหมายนี้ เพราะสื่อปั่นๆ แท้ๆ
กฎหมายคุ้มครองโจร เกิดโจรฟ้องกลับ เหยื่อเสียหายหนักครับ
สื่อปั่นก็ใช่ แต่สาเหตุหลักคือ การให้ความรู้ความเข้าใจกับ ปชช
มีอายุความไหม
เรากำลังออกกฏหมายที่ประเทศโลกที่ 1 ใช้มานานแล้ว แต่โลกที่ 3 อยากเรา ๆ กับโวยวาย และเข้าใจกฏหมายนี้ ผิดเพี้ยนไปมาก 😅
น่าจะกลัวการบังคับใช้กฎหมายมากกว่าครับเพราะประเทศเรารู้ก็รู้อยู่ว่าเป็นยังไงถ้าเป็นคนจนๆกฎหมายก็ใช้ทุกข้อแต่ถ้าเป็นคนมีสตางค์หน่อยก็จะมีข้อยกเว้นได้และลงโทษเบามาก
@@jinjin8614 25+ นาที ถ้าดูจนจบ จะเข้าใจ
มันเป็นเรื่องที่ดีในการใช้กฎหมายแบบนี้เพราะสิทธิส่วนบุคคลเป็นสิ่งสำคัญ กฎหมายฉบับนี้ถ้าไม่ทำให้ผู้อื่นเสียหายหรือแสวงหากำไรก็ไม่มีอะไร กฎหมายที่ทำเพื่อคนลุ่มคลองประชาชนแบบนี้ถือว่าดี ถ้าติดกล้องวงจรปิดในบ้านเราก็แอบสงสัยอยู่เหมือนกันว่าจะผิดไหมแต่ก็ไม่เพราะบ้านเราตรงนี้อธิบายได้เข้าใจเลยครับ จะผิดก็ต่อเมื่อเป็นสำนักงานที่สาธารณะก็ดีนะผมว่า บริเวณที่เขตหวงห้ามก็ติดได้ไม่ผิดเพราะเป็นที่ลับสุดยอดถ้ามีกล้องตรงคอนเสิร์ตแล้วเราไม่ต้องการที่จะไม่ต้องการให้ตัวเราออกกล้องก็สามารถบอกได้ก็ดีเลย สุดท้ายเลยรู้สึกส่วนตัวว่า ในมุมที่ดีทำให้คนสนใจมากขึ้น ข้อเสียก็จะเข้าใจยากการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วกันถือว่าสำคัญมาก ทำคอนเท้นต์ในแง่ไอทีถือว่าดีเลย ต้องใช้วิจารณญาณมากขึ้นอยู่บนพื้นฐานเหมือนเดิมแค่คำนึงถึงการทำอะไรให้ใครเสียหายรึป่าว คลิปเดียวเข้าใจเลยครับ
เมื่อไหร่ประเทศไทยจะเขียนกฏหมาย ให้เข้าใจง่ายๆ ไม่ต้องตีความอีก
รับอบรมมั้ยค่ะ
yang bener?
อย่างถ่ายทำ vlog ลงยูทูป ถ้าติดคนตามท้องถนนหรือตามที่ไปเที่ยวไปด้วย ถือว่าคลิปนั้นเป็นการแสวงหาผลประโยชน์มั้ยครับ
คำถามที่ดีครับ
รอฟังคำตอบด้วยคน
ตามด้วยครับ
ผมว่าเขาตอบไปแล้ว อยู่ที่เจตนา ถ้าถ่ายของเราไปติดคนอื่นไม่มีปัญหา แต่ถ้าจงใจ ขยายความในส่วนที่ติดคนอื่น แล้วเขาเดือดร้อน เขาก็อาจจะร้องเรียนได้ แต่ก็จะต้องให้หน่อยงานมาตัดสินอยู่ดีว่าจะรับเรื่องหรือไม่ ถ้ารับก็ต้องมาไกล่กลี่ยกันก่อนอีก เลยจากไกลเกลี่ยไป ถ้าตัดสินผิดจริงๆ ก็ยังแค่ตักเตือน และให้แก้ไข คือกว่ามันจะไปถึงขั้นมีความผิด มีบทลงโทษจริงจัง มันไม่ง่าย มันต้องเป็นเรื่องที่เขาเดือดร้อนเสียหายจริงๆ
@NEO GamesNFT ถึงจะเป็นช่องฟรี แต่หวังผลยอดวิว ก็นับเป็นผลประโยชน์กรือเปล่าครับ
ร้านอาหาร ร้านคาเฟ่ แล้วรีวิว ว่าคนเยอะถ่ายvlog เดินเที่ยว ลงสร้างรายได้จาก youtube ละครับ
กล้องวงจร นี่ออกเพื่อไรคับ
อยากให้พวกศรีธนนชัยมาฟังคริปนี้จะได้เข้าใจในสาระดี ๆ
เรื่องข้อมูลส่วนบุคคล เลขที่บ้าน เบอร์โทรศัพย์ วันเดือนปีเกิด อายุ ข้อมูลพวกนี้ ใครๆเค้าก็เข้าใจ แต่ไปออกรายการโหนกระแส แล้วหนุ่มกรรชัยถามว่า ผมถ่ายเซลฟี่แล้วติดคนข้างหลัง ผิดใหม ทนายความบอกว่าผิด แล้วใครจะไปยอม มันเยอะไปและดูเป็นกฎหมายงี่เหง้ามาก พวกคุณทำให้ประชาชนสับสนเอง แล้วมาโทษประชาชน
คุณต้อง ดู เหตุผลด้วยถ้าผิด แปลว่าคุณ เอา ไปหาผลประโยช เกิดความเสียหายแต่ถ้าคุณถ่ายติดไปโดย ลงสาธารณะโซเชียล โดยไม่รุ่ สามารถ ว่ากล่าวตักเตือนได้
ไม่ใช้เพราะประชาชน สับสน คุณ ไม่ศึกษา ข้อกฏหมาย ไห้ละเอียด แค่นั้น คนนักกฏหมาย อ่านปุ๊บ รุ้เลย
คุณแยกไห้ออกระหว่าง ส่วน ตัว กับสาธารณะ แยกไห้ออกก่อน ถ้าแยกออกคุณจะเข้าใจความหมายข้อกฏหมายข้อนี้
โทรสัพคุณส่วนตัว มี การใช้2แบบ ส่วนตัวกับสาธารณะ ถ้าสาธารณะ มา เจาะเหรอ ทำไห้เกิดความเสียหาย ข้อกฏหมายนี้แหละ คุ้มครอง เข้าใจยัง
ง่ายๆ สั่นๆ เข้าใจ
บางคนไม่เข้าใจ ก่อนรุ้กฏหมายข้อนี้ คุณต้อง แยกให้ออกก่อน 1.ใช้ส่วนตัว 2ใช้สาธารณะ เช่น การทำงานองกรที่เราทำงาน
ถ้าองกร ไป นำพาเสียหาย เกินข้อยกเว้น สามารถฟ้อง ข้อกฏหมายนี้ได้
ตำรวจยิ้มเลย
ไอ้คนตอบคำถามยังไม่เคลียร์เลย การบังคับใช้จริงคงยุ่งแน่ ๆ
ต่อไปจะถ่ายรูปเพื่อนก็จะถามเพื่อนว่า หน้าเธอสวยหรือยังเธอจะได้ พอใจรุป เดียวไม่สวยเพื่อนจะไม่พอใจ 5555
ทำไมที่ราชการถึงมีสิทธิ์มากกว่าที่อื่นโดยไม่ต้องแจ้งว่าจุดนี้มีกล้อง
ต. กลัวกล้องไลฟ์สดการทำงานใช่หรือไม่ เพราะหลายปีที่ผ่านมา ต. โดนเล่นงานจากคลิปเยอะมาก ผมห่วงว่าคนไม่รู้กฏหมายอาจจะโดนข่มขู่ก็เป็นได้ อันนี้ก็น่าห่วง
มาถึงวันนี้ ผลของการใช้ กม.นี้ เป็นยังไงบ้าง จับคนทำผิด หรือ นักร้องได้บ้างหรือยังยังมีsms เลวๆ มา มีแก๊งค คอลเซ็นเตอร์มาแล้วมันได้ข้อมูลจากไหนปากบอก ทำเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลก็ยังไม่เห็นความแตกต่างระหว่าง before afterแต่พวกกิจการต่างๆต้องมานั่งทำให้ลูกค้ายินยอม ดูผิวๆก็เหมือนจะดี แต่เอาเข้าจริงก็คือต้องอนุญาตเป็นส่วนใหญ่ไม่งั้นไปต่อไม่ได้บางบริษัท ถึงขั้นออกสัญญามาบังคับsuppliers เอาสุดๆกันไปเลย
คำว่าเสียหาย??สมมุติยกตัวอย่างมีคนถ่ายเซลฟี่ติดรูปผมกำลังอ้าปากอยู่ข้างหลัง ถ้าผมบอกว่าเสียหายได้มั้ยเพราะรูปนั้นทำให้คนอื่นมองผมไม่หล่อหรือเสียภาพพจน์5555+ #แค่อยากรู้ขอบเขตคำว่าเสียหาย อยากทราบอีกข้อแล้วกล้องจับความเร็วหล่ะครับถ้าจับภาพเห็นผมอยู่ในรถกับกิ๊ก ใบสั่งส่งมาถึงบ้านเมียเห็น ผมกับกิ๊กเสียหายแน่นอน 555+ ความผิดผมคือขับเร็วอันนั้นพอเข้าใจ แต่กิ๊กผมนั่งข้างๆไม่ผิดมันจะเป็นผู้เสียหายคล้ายๆแบบที่ท่านอธิบายเซลฟี่ แบบนี้กิ๊กผมฟ้องตำรวจทางหลวงได้มั้ย555+ #จะออกกฏหมายมาก็เจาะจงหน่อยครับ #ปล.สมมุติๆๆๆแบบขำๆน่ะ
ถ้าขับรถออกไปเกิดอบุติเหตุ คู่กรณีออกลูกนักเลงตลอด เลยแก้ปัญหาด้วยการถ่ายคลิปคู่กรณีใว้ เพื่อเป็นหลักฐาน ดรณีโดนทำร้าย ก็ต้องขอความ ยินยอมจากคู่กรณีด้วยมั้ย ถ้าต้องขอคู่กรณีที่กำลังเกิดตอนนั้น คือกฏหมายนี้ก็ถือว่าห่วย
สรุปผมถ่ายตำรวจตอนมาตรวจค้นได้ไหมครับ ? แน่นอนว่าผมถ่ายเพื่อประโยชน์ส่วนตน แต่ติดหน้าตำรวจ
ปกป้องสิทธิสามารถทำได้ครับ แต่ถ้าโพสต์ประจานอันนี้เขาฟ้องได้นะ
@@indepen-dent8157 งี้ก้เหมือนกับ การที่เอามาโพสลงเฟซบุ๊คเกี่ยวกับการทำงานของตำรวจคงไม่ได้แล้วสินะครับ ถ่ายเก็บไว้ได้อย่างเดียว แต่เอาจริงถ้าตะกวดจะเอาเรื่องเพราะเราถ่ายก้ได้อีกแหล่ะ เพราะอาจมาบอกว่ามือถือเราเป็นของกลาง เอาเรื่องเราอีกละเมิดกฏเค้านู้นนี่นั้น
คนที่ถ่ายช๊อตเด็ดของคนหรือเด็กหรือดาราและลงสื่อโซเชียลเพื่อเพิ่มยอดติดตาม, ยอดไลค์ช่องตัวเอง เป็นการแสวงหาประโยชน์มั๊ย แล้วถ้าบังเอิญปัง นายแบบหรือนางแบบมาเรียกร้องแย่งรายได้/กรรมสิทธิ์คลิปได้หรือไม่
ที่บอกว่า "ติดตั้งกล้องวงจรปิดในบ้าน ทำได้ ไม่ผิด" ในกรณีที่กล้องอยู่ในย้าน เห็นแค่บริเวณห้องนั้นๆ, คอยเฝ้าดูคนชรา, เด็ก, สัตว์เลี้ยงฯลฯในบริเวณภายในตัวบ้านไม่ติดใจอะไร แต่ประเด็นที่สงสัยคือ กล้องที่ติดตั้งนอกอาคารที่หันทิศทางส่องไปยังพื้นที่ข้างเคียง โดยเฉพาะบ้านข้างเคียง สามารถเห็นและบันทึกพื้นที่สนาม, โถงชั้นล่าง, หน้าต่างชั้นต่างๆ, ประตูห้อง, ประตูรั้ว บันทึกทุกอิริยาบท, การเข้าออกของบุคคลในบ้านข้างเคียงตลอดสามารถแพนกล้องหรือซูมได้ทุกเมื่อที่ต้องการ ทั้งวันทั้งคืน รู้ว่าบ้านข้างเคียงใครออกจากบ้าน, มีใครอยู่บ้าน, มีใครมาพบหา, ว่ายน้ำกับแฟน, วิ่งเล่นกับลูก, หอมแก้มเมีย ฯลฯ โดยอ้างว่าฉันถ่ายบ้านฉัน ไม่ได้ตั้งใจถ่ายบ้านคุณ คุณใช้ชีวิตตามปกติ ไม่ต้องกังวลว่าฉันจะเห็นหรือจะเอาไปหาประโยชน์ ฉันไม่บอกใครหรอก หรือฉันต้องรัดกุมดูรอบบ้านขโมยมันเยอะ ต้องส่องซอยหน้าบ้านเพื่อจะได้รู้ว่าขโมยมายังไง การติดตั้งกล้องวงจรปิดลักษณะนี้ติดได้หรือไม่ แล้วถ้าบ้านข้างเคียงติดตั้งกล้องทิศทางแบบนี้และไม่ยอมแก้ไข ใครจะยับยั้งเขาได้
มันคือ กฎหมายที่แบ่งชนชั้น ระหว่าง คนธรรมดา กับ สื่อมวลชนและตำรวจ
TH-camr นี่รวมเข้าข่ายหาผลประโยชน์ด้วยใช่มั้ยครับ
คลิปนี้สยบสามกีบ หน้าหมี
ตัวกฏหมายมันดีครับแต่คนเราเอาไปปั่นซะเละ
อย่าไปหาทำก่อนที่จะทำควรดูด้วยว่ารัฐบาลเป็นยังไงหรึอตำรวจตีความยังไงคือมึงจะออกฏหมายอย่างนี้รอมีเลือกตั่งมาใหม่ก่อนไม่ใช้ไม่ฟังเสียงประชาชนงุบงิบออกกฏหมายออกข่าววันเดียวอีกวันมันบังคับใช้เลยมึงมันเผด็จการชัดๆ
ถ่ายโจรถ่ายตำรวจรีดใถคือกูต้องเบลอหน้าเลยหรึอ
คุณ ต้องขออนุญาติเขาด้วย พูดต่อหน้ากล้อง ตอนถ่ายวิดีโอ คุณตะได้ไม่มีความผิด ส่วนมากเขา ยินยอม ไห้ตรวจค้นสามารถ ถ่ายวิดีโอ เก็บไว้เปนหลักฐาน ได้เจอตำรวจดีก้อดีไป เจอตำรวจ เหี้ยก้อเยอะ ดังนั้น พรบอุ้มหาย ออกมากันเจ้าหน้าที่ทำเกินกว่าเหตุ
ตำรวจกลัวกล้อง มากกว่าปืนนะ ถ้าตำรวจเหี้ย ถ้าตำรวจดี เขาไม่กลัวหรอกถ้าทำตามกฏหมาย ไม่ละเมิด สิทธิ กัน เราก้อต้องเหนใจเขาด้วย เขาทำตามหน้าที่ ใจเขาใจเราแบบนี้แฟร์กว่า
โจรในเครื่องแบบทั้งหลายที่ใช้อำนาจโดยมิชอบน่าจะถูกใจกฎหมายนี้
ชอบทำคลิปพาไปเที่ยวลงยูทูปติดหน้าคนเดินผ่านบ่อยๆแบบนี้ผิดมั้ยค่ะ
ผมมองว่าถ้าคุณทำคลิปท่องเที่ยวลงยูทูปแล้วคุณได้รายได้จากยูทูป กฎหมายนี้โคตรหมิ่นเหม่เลยคับ
คุ้มครองยังไงให้ใช้ชีวิตโคตรลำบากคับ
ผมคิดว่าก่อนจะเชื่อสื่อสารอะไรควรศึกษาหาที่มาหลายๆแหล่งอย่าเพิ่งเชื่อในแหล่งข่าวเดียว
กฎหมายแม่กฎหมายลูกมันก็จะเหมือนเดิมรัฐธรรมนูญไทยก็มีทั้งกฎหมายแม่กฎหมายลูกวุ่นไปหมดถ้าทำความผิดแล้วปรับเป็นเงินแบบนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเศรษฐกิจเลย
ต้องแบบนี้ครับดีมีประโยชน์ คนชอบปั่นชอบตีความไปเรื่อยทำคลิปแซะไม่แตกฉานสักคน ขอบคุณแบไต๋และช่องอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจน
อีกอย่างข้อมูลส่วนบุคคลไม่ว่าอะไรก็ตาม เช่น ชื่อ อายุ ประวัติงาน ถ้าถูกเผยแพร่โดยราชการละโทษประหารรึเปล่า ถ้าประชาชนร้องทุกข์ส่าเกิดความเดือนร้อนและไม่ยินยอมให้หน่วยราชการเผยแพร่ข้อมูล
ความน่าเชื่อถือ คือ สิ่งสำคัญที่สุด
คุณหนุ่ย มีความน่าเชื่อถือสูงมาก
ขอบคุณที่รักษาสิ่งนี้ไว้
เวลามีข้อสงสัยในประเด็นสังคม
เราจะรอคุณหนุ่ยพูด
และจบข้อสงสัยที่ตรงนี้
... ขอบคุณจากใจ
หากไม่มีแบไต๋ เราคงวุ่นวายกันอีกหลายวันหรือหลายเดือนเลยครับ วันนี้ เคลียร์เลยครับ ขอบคุณ “แบไต๋” จริงๆครับ
ถ้าถ่ายภาพ ถ่ายวีดีโอเพื่อรีวิวสินค้า รีวิวสถานที่ อันนี้ก็ผิดสิครับ เพื่อการค้าและกำไร ยังงงอยู่ดี เอาเป็นว่า ทำอะไรก็ผิดทุกอย่าง (คนไม่ใช่ทำอะไรก็ผิด)
อย่างเช่นค่ายมือถือมาขอยินยอม แล้วแซกแซงเข้าระบบเอาโฆษณามายัดใส่ข้อมูลเรา มันควรมีกฎหมายรับรองเจ้าของข้อมูลบ้างนะครับ บางทีก็อยากได้การคุ้มครองแต่ไม่ใช่แบบที่พวกค่ายมือถือกำลังทำ ทั้งๆที่ปกติก็ไม่มีใครชอบแต่พวกนี้ชอบยัดเยียดทุกวิถีทางเพื่อนจะเอาโฆษณามาใส่
ขอบคุณความชัดเจน ขอบคุณแบไต๋ นำสาระที่สำคัญมาให้ประชาชนได้เข้าใจ🙏
กฎหมายที่ดีจะต้องชัดเจน ไม่เหลือช่องให้ตีความเอนเอียงไปเอื้อประโยชน์หรือลงโทษฝั่งใดฝั่งหนึ่งได้
กฏหมายไหน ตีความด้วยมนุษย์ กีฬาใด ให้คะแนนด้วยมนุษย์ โอกาสตัดสินผิดเพี้ยนสูง
กระจ่าง บางอ่อ อธิบายดีมากเลย
แล้วพวกแอปที่บังคับให้ยินยอมเปิดเผยข้อมูลกับพันมิตรทางธุรกิจนี่ ถือว่าผิดไหมครับ เช่น ถ้ายินยอมไม่ครบทุกข้อ ปุ่มตกลงจะไม่ขึ้นครับ
ขอบคุณครับ คุณหนุ่ยและทีมงาน.
ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้ชัดเจนดีครับ
ขอบคุณอาจารย์ท่านตอบได้ชัดเจน และตอบด้วยเหตุผล ฟังแล้วเข้าใจถึงจุดประสงค์ของตัวกฏหมายตัวนี้
ขอบคุณคุณหนุ่ยคำถามโดนใจเคลียชัดเจนแถมตัวอย่างที่ประเทศใหญ่ๆได้ใช้จริงมานานแล้วทำให้เข้าใจง่ายขึ้นอีก
ประชาชนอาจจะไม่ได้ตีความอย่างไร้สาระหรอกครับ
แต่คนออกกติกา ต้องออกมาอธิบายสาระสำคัญอย่างชัดเจน
เพื่อไม่สร้างความสับสนแก่ประชาชนตั้งแต่ทีแรก
ขอบคุณค่ะ เข้าใจแจ่มแจ้งเลยค่ะ
อนุความสุข
แบบนี้ ทำคลิปลงยูทูปและยูทูปนั้นตั้งหาเงินไว้จากยอดวิว แบบนี้ ต้อง Censor หน้าคนทุกคนที่ถ่ายติดในคลิปหรอครับ
หมายถึงหากำไรจากคนที่ติดมาในรูป
ขออนุญาต แชร์ ได้มั่ยครับ
ขอสะท้อนสำหรับหน่วยงานภาครัฐเช่นโรงพยาบาล โรงเรียน ที่มีทรัพยากร กำลังคน งบประมาณจำกัด ไม่มีการสนับสนุน เป็นภาระงานเพิ่มขึ้น ผู้บริหารไม่เห็นความสำคัญ ส่วนมากผลักภาระมาให้ IT ของหน่วยงาน
กรณีบริษัทติดป้ายแล้วว่ามีกล้องวงจรปิด แล้วมีปัญหาพนักงานหรือใครก็ตาม ทำอะไรที่ผิดระเบียบบริษัท เรานำภาพไปประกอบการลงโทษ เราอาจโดนฟ้องกลับด้วยมั๊ยครับว่าเราละเมิดเค้า
ขอบคุณมากครับผม... สำหรับข้อมูลดีๆครัย
ขออนุญาตแชร์ให้ทุกคนเข้าใจ
ขอบคุณข้อมูลดีๆ ครับ
ก็ไม่เข้าใจว่าองค์กรส่วนใหญ่ทำไมส่งเรื่อง PDPA มาให้ IT เป็นแม่งาน ทำไมไม่ให้เรื่องไปอยู่ฝ่ายกฎหมาย
เห็นด้วยอย่างยิ่งค่ะ ฝ่ายกฎหมายควรเข้ามาแอคชั่นมากกว่า
ผมมองว่าก่อนจะใช้กฎหมายนี้ควรสร้างกฎหมายบังคับให้ร้านค้านงานสาธารณะที่ท่องเที่ยวควรมีรูปห้ามถ่ายภาพหรืออนุญาติให้ถ่ายได้ คนที่เข้าไปก็จะได้รู้จุดนี้เราได้ไปนี่เรายอมให้คนอื่นถ่ายติดได้ อะไรอย่างนี้นะ เพื่อแก้ปัญหาขัดแย้งได้เยอะครับ แล้วถ่ายรูปผมมองว่าถ้าเป็นด่านหรือตรวจค้นเราต้องถ่ายรูปและวีดีโอได้นั้นคือการรักการสิทธิ์บุคคลเพื่อป้องความเสียหายแต่ต้องเป็นบุคคลที่เกิดเหตุการ์อยู่เท่านั้น
น่าคิดภาษากฎหมายทำไมคนอ่านแล้วตีความเข้าใจผิดน่าจะเขียนให้คนทั่วไปเข้าได้ใจได้ง่าย(ในหลายๆเรื่อง)
ฟังดูมีประโยชน์ต่อประชาชนอย่างเรามากกว่าข้อเสียนะ รักษาผลประโยชน์ของคนทั่วๆไป
แล้วอีเมลมีเบอร์ที่ไม่ใช่ของเรา.เพิ่มมาเราเอาเรื่องได้ไหมค่ะ
ที่บอกว่าถ้าเป็นหน่วยความมั่นคง เช่น ทหาร/ตำรวจ ติดได้เลย ขอถามต่อว่า..การจะติดภายในสำนักงานต้องผ่านการขออนุญาตหัวหน้าหน่วยมั้ยครับ ถ้าเอามาติดเป็นการส่วนตัวเช่นบริเวณโต๊ะทำงาน แต่สามารถมองเห็นคนอื่นๆ แบบนี้จะผิดมั้ยครับ..
ในความรู้สึกผมมัน กฎหมาย ยังมีข้อเสียอยู่ ยกตัวอย่างเช่น การถ่ายตำรวจกระทำความผิด เราจะต้องมากังวลว่าเราถ่ายตำรวจผิดไหม ถ่ายหน้าได้ไหม ผมคิดว่าการถ่ายตำรวจมันควรทำเพื่อเป็นการป้องปราม (ขนาดถ่ายหน้าตำรวจก็ยังทุจริตกันอยู่เลย) และควรเอาออกมาประจานด้วยครับถ้าตำรวจทำไม่ดี แต่อย่างว่าอาจารย์เป็นคนร่างกฎหมายก็มาพูดถึงข้อดีเพียงด้านเดียว และตำรวจก็คงดีใจว่ามีช่องทางที่อาจจะทำมาหากินได้ง่ายขึ้น
ปัญหามันน่าจะอยู่ที่วิธีการใช้กฎหมายนะครับ ดูอย่างพรบ.คอมสิครับ ไม่เกี่ยวว่าถูกหรือผิดตามกฎหมายนี้ ปัญหาคือกฎหมายเปิดโอกาสให้คนถูกฟ้องร้อง ซึ่งคนส่วนใหญ่ในประเทศนี้ไม่มีเงินไปสู้คดี เขาก็จะยอมผิด และยอมจ่าย
ขอสอบถามค่ะ ในกรณีร้านค้าต้องการรีวิวจากลูกค้า(เป็นเชิงพาณิชย์) ซึ่งได้บอกกล่าวฝั่งลูกค้าแล้วลูกค้ายินยอม สามารถโพสต์ได้ตามปกติใช่มั้ยคะ
ขอบคุณครับ เคลียร์ ชัดเจนครับ
ง่ายๆคับ ถ้าใช้ แล้วคน ที่ถุกใช้ เกิดความเสียหาย ง่ายๆ pdpaนี้ตะคุ้มครอง แม้กระทั่ง ใช้โซเชียล pdpaนี้คุ้มครองทั้ง2ส่วน
น่าควบคุมไปถึงการแอบส่องที่การกระทำด้วยการจงใจโดนที่ผู้เสียหายไม่ได้รับรู้หรือเอาพูดหรือทำให้ผู้เสียหายถูกดูหมิ่นด้วย ครับ
แล้ว ถ้าคนทำผิด โทษ ปรับหรือ จำคุก เท่าไหร่ ยังไง มีอัตราโทษยังไง
ตรงมีข้อยกเว้น ผมกลัวตรงนี้มาก และผมก็ไม่ไว้ใจดุลยพินิจเจ้าพนักงานเลย ยกตัวอย่าง
โพสต์ประจานโจรออนไลน์ ลงทั้งหน้าเฟซ ชื่อบัญชีที่โอนเงิน บัตรประชาชนโจร(ปิดที่อยู่ เปิดแต่ชื่อแต่ตรงกับบัญชี) ก็เพื่อประโยชน์สาธารณะ ไม่ให้คนอื่นได้โดนด้วย แต่ถ้าโจรหัวหมอ มันสามารถใช้กฎหมายนี้ฟ้องเรากลับได้ไหมครับ
หรือประวัติอาชญากรรม บางชื่อที่หลอกขายออนไลน์ ก็จะมีประวัติบนอินเตอร์เนต ในเว็บ blacklist ในเพจกองปราบ ฯลฯ พวกนี้ จะเข้าข่ายความผิดไหมครับที่ลงข้อมูล ที่แม้จะเป็น fact แต่มันก็จะอยู่บนโลกอินเตอร์เนตตลอดกาลนะ
เรื่องตีความผมว่ายังไงก็มีปัญหาแน่นอนครับ ยิ่งกลายเป็นให้มีผู้เชี่ยวชาญมากรอง กลายเป็นว่าตัวกฎหมายไม่ชัดเจนในตัวเอง
ครับ กฏหมายมันมีช่องเยอะ จริง ๆ ผมฟังคนที่มาตอบคำถามมันยังไม่เคลียร์เลย การบังคับใช้จริงมีปัญหาแน่ ๆ
ขอบคุณมากครับ ชัดเจนดีครับ
โรงเรียนแถวบ้านผมเอารูปนักเรียนมาติดเต็มกำแพงเลย ทั้งชื่อและรูป
ขอบคุณครับที่มาอธิบายให้ทุกคนได้ฟัง อยากให้คนไทยมองว่าข้อมูลส่วนตัวนั้นสำคัญจริงๆ เพราะประเทศที่พัฒนาแล้วก็ควรจะให้ความสำคัญกับข้อมูลส่วนตัว มันไม่ใช่แค่ภาพแคบๆในชีวิตประจำวันอย่างเดียว แต่มันรวมไปถึงการคุ้มครองข้อมูลของคุณที่ให้ข้อมูลส่วนตัวกับบริษัทต่างๆด้วยนะคับ 🙏
คุณหนุ่ย ตามกฎหมายนี้ ครอบคุมถึงกรณีที่เราโดนพวกขายประกันที่ชอบโทรเข้ามาโดยที่เราไม่เคยติดต่อกับกลุ่มพวกนั้น โดยโทรมาประมาณว่า คุณได้รับสิทธิ์พิเศษในการทำประกัน โดยสามารถผ่อนผ่านบัตรเครดิต ถือว่าเค้าผิดมั๊ยครับ แล้วเอาผิดไปถึงคนที่ให้ข้อมูลส่วนตัวของเราได้มั๊ยครับ
บริษัท ต้องจ้างบริษัทภายนอก ออกใบรับรองว่า บริษัทนั้นๆผ่านการตรวจสอบ และ ต้องตรวจทุกๆปีหรือไม่ครับ
แล้วสำหรับพ่อค้าแม่ค้า สามารถถ่ายภาพรีวิวตอนลูกค้ามาซื้อของได้ไหมครับ แบบนี้จะถือว่าเป็นการทำเพื่อแสวงผลกำไรหรือไม่
บอกลูกค้าว่า "ขอเอาไปลงเพจนะคะ" แล้วให้ลูกค้าตอบว่า "ได้ค่ะ" ก็โอเคแล้วครับ
เข้าใจดีเลยครับ
กฏหมายฉบับนี้ ผมดู TH-cam ของคนไทยในต่างแดนแล้วไม่สนุกเท่าไร เล่นเบลอหน้าหมด ก็จะเสียเสน่ห์เมืองท่องเที่ยวเปล่า
ลำบากค่ะ กับการใช้ชีวิตในการทำงาน
กฎหมายย่อมมีช่องว่างเสมอครับ
ไม่ชัดอธิบายเข้าข้างตัวเองอยู่ดี
1.เริ่มแรกไกล่เกลี่ย หลังจากนั้นคือปรับทุกกรณีไหม
2.สมมุติเหตุการณ์ ถ้าเราถ่ายเซลฟี่ตัวเอง หรือถ่ายวิว แล้วติดคนด้านหลังพาภรรยาที่ 2 มา แต่เราก็ไม่ได้โฟกัสตรงนั้น แต่เขาเสียหายแล้วฟ้องเราทำยังไง เพราะเกิดความเสียหายกับเขาแน่นอน ถ้าเขาเลิกกันบ้านแตก แปลว่าเราผิดจะทำไง สุดท้ายกฏหมายก็มาปรับเราอยู่ดีจริงไหม
3.สมมุติเราถ่ายวิวสวยมากนาทีนั้นมันเลี่ียงไม่ได้แล้ว และต้องใช้ภาพไปหากินถ้าจะบังภาพคนแล้วทำให้ภาพเราไม่สวยทางคนออกกฎหมายรับผิดชอบไหม
4.คนออกกฏหมายแค่ 20 คน มาตัดสินใจแทนคน 75 ล้าน คืออะไร ผมไม่เชื่อว่าท่านจะไกล่เกลี่ยได้ทุกเรื่อง
5.สุดท้ายผมต้องเสียเวลามานั่งขึ้นศาลเพราะการถ่ายรูปเล่นเหรอ นั้นก็ไม่ต้องมีมันไหม ถ้าใครถ่ายผมไปผมฟ้องกรณีได้ไหมผมไม่ยินยอมทุกกรณี แม้จะเป็นกล้องจราจรตรวจจับ ผมก็เสียหาย แบบนี้เหรอ
ข้อมูลประวัติอาชญากร ของผม ก็ไม่สามารถเปิดเผยแกใครได้สิครับ??
สอบถามค่ะ ถ้าทำกิจการใช่เช่าที่จอดรถ เป็นพื้นที่ส่วนบุคคล ต้องติดป้ายบอกมั้ยคะ
ผมว่าไม่ต้องติดนะ..เพราะมันก็บอกว่าเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล...เราแค่เปิดกิจการในพื้นที่เราและในพื้นที่นั้นก็ไม่ใช่คนทั่วไปที่จะต้องเดินเข้าออกง่าย..มันเป็นพื้นที่ของเจ้าของรถเท่านั้นตามที่ระบุในสัญญาเช่าพื้นที่จอดรถที่มีรอบรั้วขอบชิดที่จะสามารถเข้ามาในพื้นที่นี้เท่านั้น...ผมแค่ตีความเอานะครับ..เพราะถ้าเขามาว่าเราต้องติดนะ..ผมก็แย้ง...แค่ป้ายจะติดก็ได้ไม่ใช่ปัญหาแต่ผมว่าที่เราทำธุรกิจแบบนี้ควรติดหรือเท่านั้นเอง
หันกล้องเข้าพื้นที่เรา ไม่ต้องติดครับ แต่ถ้าหันออกนอกพื้นที่ส่องไปสารธารณะ ต้องติดป้ายบอก
เปิดร้านอาหาร ถ่ายรูปลูกค้า และภายในร้าน ต้องปิดหน้าลูกค้าไหมครับ
555 ชัดเจน ถ่ายภาพ วีดีโอ เพื่อการค้า ผิดครับ คิดดูดีๆ ครับ ฟังดูดีๆ
ต้อง
กล้องวงจรปิดยกเว้นข้อนี้ การถ่ายรูป ถ้าใช้ทางด้าน การทำงาน เหรอองกร มีข้อยกเว้น
แต่ ถ้าการล่วงรู้ข้อมูล เช่นโทรสัพ เหรอ แอบถ่ายรูปในตอนยุในบ้านเหรอห้องเช่า มีความผิด pdpa ลองรับ
ขอบคุณครับ
น่าจะอธิบายให้ ปชช เข้าใจก่อน บังคับใช้นะครับ เพราะกฏหมายแบบนี้แต่ละคนตีความกันคนละแบบ ครับ
ร่าง กม. แต่ไม่ได้ตีความ กม. อย่าพูดไปเรื่อบไปเอง ตามความเข้าใจตนเอง
ขอบคุณมากครับ
ปัญหาใหญ่ของ พรบ นี้คือกำกวม ต้องแปลไทยเป็นไทย ดังนั้นหน่วยงานต่างๆควรทลให้ความรู้กับประชาชนเสียใหม่ เพราะประชาชนยังเข้าใจไม่ถูกต้องเยอะมาก
แปลว่าคุณศึกษาข้อมูลกฏหมายนี้ไม่แตก ฉาน ดิ เลยยุ่งยาก ถ้าคน ศึกษา เข้าใจง่ายๆ มันก้อง่ายคับ คำว่า ส่วนตัว กับ สาธารณะ เข้าใจปะ 2ข้อนี้คุณต้องแบ่งแยกไห้ออกระหว่างส่วนตัวกับสาธารณะ
ถ้าเราแบ่งออก2ข้อนี้ แล้ว คุณตะเข้าใจ ก้อกฏหมาย ข้อนี้ pdpa เรียกค่าเสียหายได้ด้วย สูงสุด5ล้าน
ก่อนออกกฎหมาย ทำไมหน่วยงานรัฐไม่ทำการประชาสัมพันธ์ ให้คนเข้าใจอย่างจริงจัง ย้ำอย่างจริงจัง ไม่ใช่แค่ประกาศเป็นพิธี ควรลงทุนจ้างมืออาชีพเช่นตัวอย่างหนุ่ย หรือใครก็ได้ แล้วซื้อสื่อเยอะๆโดยจ้างมืออาชีพที่เก่งๆวางแผนให้มีประสิทธิภาพ ไม่ใข่จ้างบริษัทพวกพ้อง และอาจจะทำให้คนสงสัยว่าต้องจ่ายใต้โต๊ะ ทำให้เหลือเงินที่ใช้ง่านจริงๆ ไม่ถึง 50 % คนทั่วไปก็ได้รับข่าวสารแบบไม่ทั่วถึง
เหมือน M-Flow เข้าช่องผิดกัน เยอะเลย.
ปกติคนส่วนมากก็เล่นเฟสกันอยู่ละ ก็หัดกดติดตามเพจมีสาระๆ บ้าง ไม่ใช่เพจผัวเมียตบตีกัน ต่อให้ติดป้ายทุกหมู่บ้านคนจะไม่อ่านมันก็ไม่อ่าน ใครไม่มีค
วามรู้ก็ให้ไปเสียค่าปรับ จะได้จำ
เขามีให้อ่านทำไมไม่อ่านครับผมมีแต่ภาษาไทยนะหน้าจะอ่านออก
กระจ่างแจ้งเลยครับ
ทำไม…ไม่พูดถึง การถ่ายเจ้าหน้าที่บ้างละ (นี่ละช่องโหว่กฏหมาย ที่น่ากลัว)
คงลืมไปว่าคน ร่าง กับ คนตี ความคนละคน ดูอย่าง พรบ คอม เจตนารม คืออะไร แล้วตอนนี้ใช้ทำอะไร
สอบถามอีกข้อค่ะ สงสัยว่าบ้านที่อยู่อาศัย ติดกล้องหน้าบ้านเลย มองเห็นชัดเจนว่าติดหน้าบ้าน ต้องติดป้ายบอกมั้ยคะ
ที่บ้านไม่ต้องติดป้านเตือนครับ
สรุปแล้วเอาภาพผู้หญิงเซ็กซี่โดยที่เขาไม่ยินยอมแล้วมาโพสต์คลิปโพสต์รูปลงโซเชียลผิดไหมครับเสียหายไม่เสียหายยังไง สมมุติโพสแบบลอยๆไม่ได้พิมพ์อะไรเพิ่มเติม
คิดว่าเขาได้อธิบายไว้ชัดเจนที่สุดและเข้าใจง่ายที่สุดแล้ว แต่ถ้ายังมีคนที่ไม่ยอมเข้าใจเอาแต่ด่าก็ไม่รู้จะว่ายังงัยแระ....
เท่าที่ดู ไม่ได้ด่า อันนี้ปกป้องส่วนบุคคล เพื่กการค้าและกำไร ถ้ารีวิวสินค้า รีวีวสถานที่มันก็ผิดอยู่ดี
เห็นมีคำถามดีๆเยอะ แต่ไม่มีคำตอบมากกว่า
เขามาอธิบาย มันก็มีคนแกล้งพยายามจะไม่เขาใจ ไอัพวกแอบถ่ายรูปคนอื่น ไปลง tikkok จะได้เพลาๆลงบ้าง
โทษทางแพ่ง ใช่ไหมจร้า ฟังๆๆดู
วันนี้เห็นข่าวเจ้าของบ้านไม่กล้าถ่ายคลิปให้เห็นหน้าโจรที่ขโมยของในบ้าน เพราะเข้าใจผิดเกี่ยวกับกฎหมายนี้ เพราะสื่อปั่นๆ แท้ๆ
กฎหมายคุ้มครองโจร เกิดโจรฟ้องกลับ เหยื่อเสียหายหนักครับ
สื่อปั่นก็ใช่ แต่สาเหตุหลักคือ การให้ความรู้ความเข้าใจกับ ปชช
มีอายุความไหม
เรากำลังออกกฏหมายที่ประเทศโลกที่ 1 ใช้มานานแล้ว แต่โลกที่ 3 อยากเรา ๆ กับโวยวาย และเข้าใจกฏหมายนี้ ผิดเพี้ยนไปมาก 😅
น่าจะกลัวการบังคับใช้กฎหมายมากกว่าครับเพราะประเทศเรารู้ก็รู้อยู่ว่าเป็นยังไงถ้าเป็นคนจนๆกฎหมายก็ใช้ทุกข้อแต่ถ้าเป็นคนมีสตางค์หน่อยก็จะมีข้อยกเว้นได้และลงโทษเบามาก
@@jinjin8614 25+ นาที ถ้าดูจนจบ จะเข้าใจ
มันเป็นเรื่องที่ดีในการใช้กฎหมายแบบนี้เพราะสิทธิส่วนบุคคลเป็นสิ่งสำคัญ กฎหมายฉบับนี้ถ้าไม่ทำให้ผู้อื่นเสียหายหรือแสวงหากำไรก็ไม่มีอะไร กฎหมายที่ทำเพื่อคนลุ่มคลองประชาชนแบบนี้ถือว่าดี ถ้าติดกล้องวงจรปิดในบ้านเราก็แอบสงสัยอยู่เหมือนกันว่าจะผิดไหมแต่ก็ไม่เพราะบ้านเราตรงนี้อธิบายได้เข้าใจเลยครับ จะผิดก็ต่อเมื่อเป็นสำนักงานที่สาธารณะก็ดีนะผมว่า บริเวณที่เขตหวงห้ามก็ติดได้ไม่ผิดเพราะเป็นที่ลับสุดยอดถ้ามีกล้องตรงคอนเสิร์ตแล้วเราไม่ต้องการที่จะไม่ต้องการให้ตัวเราออกกล้องก็สามารถบอกได้ก็ดีเลย สุดท้ายเลยรู้สึกส่วนตัวว่า ในมุมที่ดีทำให้คนสนใจมากขึ้น ข้อเสียก็จะเข้าใจยากการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วกันถือว่าสำคัญมาก ทำคอนเท้นต์ในแง่ไอทีถือว่าดีเลย ต้องใช้วิจารณญาณมากขึ้นอยู่บนพื้นฐานเหมือนเดิมแค่คำนึงถึงการทำอะไรให้ใครเสียหายรึป่าว คลิปเดียวเข้าใจเลยครับ
เมื่อไหร่ประเทศไทยจะเขียนกฏหมาย ให้เข้าใจง่ายๆ ไม่ต้องตีความอีก
รับอบรมมั้ยค่ะ
yang bener?
อย่างถ่ายทำ vlog ลงยูทูป ถ้าติดคนตามท้องถนนหรือตามที่ไปเที่ยวไปด้วย ถือว่าคลิปนั้นเป็นการแสวงหาผลประโยชน์มั้ยครับ
คำถามที่ดีครับ
รอฟังคำตอบด้วยคน
ตามด้วยครับ
ผมว่าเขาตอบไปแล้ว อยู่ที่เจตนา ถ้าถ่ายของเราไปติดคนอื่นไม่มีปัญหา แต่ถ้าจงใจ ขยายความในส่วนที่ติดคนอื่น แล้วเขาเดือดร้อน เขาก็อาจจะร้องเรียนได้ แต่ก็จะต้องให้หน่อยงานมาตัดสินอยู่ดีว่าจะรับเรื่องหรือไม่ ถ้ารับก็ต้องมาไกล่กลี่ยกันก่อนอีก เลยจากไกลเกลี่ยไป ถ้าตัดสินผิดจริงๆ ก็ยังแค่ตักเตือน และให้แก้ไข คือกว่ามันจะไปถึงขั้นมีความผิด มีบทลงโทษจริงจัง มันไม่ง่าย มันต้องเป็นเรื่องที่เขาเดือดร้อนเสียหายจริงๆ
@NEO GamesNFT ถึงจะเป็นช่องฟรี แต่หวังผลยอดวิว ก็นับเป็นผลประโยชน์กรือเปล่าครับ
ร้านอาหาร ร้านคาเฟ่ แล้วรีวิว ว่าคนเยอะถ่ายvlog เดินเที่ยว ลงสร้างรายได้จาก youtube ละครับ
กล้องวงจร นี่ออกเพื่อไรคับ
อยากให้พวกศรีธนนชัยมาฟังคริปนี้จะได้เข้าใจในสาระดี ๆ
เรื่องข้อมูลส่วนบุคคล เลขที่บ้าน เบอร์โทรศัพย์ วันเดือนปีเกิด อายุ ข้อมูลพวกนี้ ใครๆเค้าก็เข้าใจ แต่ไปออกรายการโหนกระแส แล้วหนุ่มกรรชัยถามว่า ผมถ่ายเซลฟี่แล้วติดคนข้างหลัง ผิดใหม ทนายความบอกว่าผิด แล้วใครจะไปยอม มันเยอะไปและดูเป็นกฎหมายงี่เหง้ามาก พวกคุณทำให้ประชาชนสับสนเอง แล้วมาโทษประชาชน
คุณต้อง ดู เหตุผลด้วยถ้าผิด แปลว่าคุณ เอา ไปหาผลประโยช เกิดความเสียหาย
แต่ถ้าคุณถ่ายติดไปโดย ลงสาธารณะโซเชียล โดยไม่รุ่ สามารถ ว่ากล่าวตักเตือนได้
ไม่ใช้เพราะประชาชน สับสน คุณ ไม่ศึกษา ข้อกฏหมาย ไห้ละเอียด แค่นั้น คนนักกฏหมาย อ่านปุ๊บ รุ้เลย
คุณแยกไห้ออกระหว่าง ส่วน ตัว กับสาธารณะ แยกไห้ออกก่อน ถ้าแยกออกคุณจะเข้าใจความหมายข้อกฏหมายข้อนี้
โทรสัพคุณส่วนตัว มี การใช้2แบบ ส่วนตัวกับสาธารณะ ถ้าสาธารณะ มา เจาะเหรอ ทำไห้เกิดความเสียหาย ข้อกฏหมายนี้แหละ คุ้มครอง เข้าใจยัง
ง่ายๆ สั่นๆ เข้าใจ
บางคนไม่เข้าใจ ก่อนรุ้กฏหมายข้อนี้ คุณต้อง แยกให้ออกก่อน 1.ใช้ส่วนตัว 2ใช้สาธารณะ เช่น การทำงานองกรที่เราทำงาน
ถ้าองกร ไป นำพาเสียหาย เกินข้อยกเว้น สามารถฟ้อง ข้อกฏหมายนี้ได้
ตำรวจยิ้มเลย
ไอ้คนตอบคำถามยังไม่เคลียร์เลย การบังคับใช้จริงคงยุ่งแน่ ๆ
ต่อไปจะถ่ายรูปเพื่อนก็จะถามเพื่อนว่า หน้าเธอสวยหรือยังเธอจะได้ พอใจรุป เดียวไม่สวยเพื่อนจะไม่พอใจ 5555
ทำไมที่ราชการถึงมีสิทธิ์มากกว่าที่อื่นโดยไม่ต้องแจ้งว่าจุดนี้มีกล้อง
ต. กลัวกล้องไลฟ์สดการทำงานใช่หรือไม่ เพราะหลายปีที่ผ่านมา ต. โดนเล่นงานจากคลิปเยอะมาก ผมห่วงว่าคนไม่รู้กฏหมายอาจจะโดนข่มขู่ก็เป็นได้ อันนี้ก็น่าห่วง
มาถึงวันนี้ ผลของการใช้ กม.นี้ เป็นยังไงบ้าง จับคนทำผิด หรือ นักร้องได้บ้างหรือยัง
ยังมีsms เลวๆ มา มีแก๊งค คอลเซ็นเตอร์มา
แล้วมันได้ข้อมูลจากไหน
ปากบอก ทำเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ก็ยังไม่เห็นความแตกต่างระหว่าง before after
แต่พวกกิจการต่างๆต้องมานั่งทำให้ลูกค้ายินยอม ดูผิวๆก็เหมือนจะดี แต่เอาเข้าจริงก็คือต้องอนุญาตเป็นส่วนใหญ่ไม่งั้นไปต่อไม่ได้
บางบริษัท ถึงขั้นออกสัญญามาบังคับsuppliers เอาสุดๆกันไปเลย
คำว่าเสียหาย??สมมุติยกตัวอย่างมีคนถ่ายเซลฟี่ติดรูปผมกำลังอ้าปากอยู่ข้างหลัง ถ้าผมบอกว่าเสียหายได้มั้ยเพราะรูปนั้นทำให้คนอื่นมองผมไม่หล่อหรือเสียภาพพจน์5555+ #แค่อยากรู้ขอบเขตคำว่าเสียหาย
อยากทราบอีกข้อแล้วกล้องจับความเร็วหล่ะครับถ้าจับภาพเห็นผมอยู่ในรถกับกิ๊ก ใบสั่งส่งมาถึงบ้านเมียเห็น ผมกับกิ๊กเสียหายแน่นอน 555+ ความผิดผมคือขับเร็วอันนั้นพอเข้าใจ แต่กิ๊กผมนั่งข้างๆไม่ผิดมันจะเป็นผู้เสียหายคล้ายๆแบบที่ท่านอธิบายเซลฟี่ แบบนี้กิ๊กผมฟ้องตำรวจทางหลวงได้มั้ย555+ #จะออกกฏหมายมาก็เจาะจงหน่อยครับ #ปล.สมมุติๆๆๆแบบขำๆน่ะ
ถ้าขับรถออกไปเกิดอบุติเหตุ คู่กรณีออกลูกนักเลงตลอด เลยแก้ปัญหาด้วยการถ่ายคลิปคู่กรณีใว้ เพื่อเป็นหลักฐาน ดรณีโดนทำร้าย ก็ต้องขอความ ยินยอมจากคู่กรณีด้วยมั้ย ถ้าต้องขอคู่กรณีที่กำลังเกิดตอนนั้น คือกฏหมายนี้ก็ถือว่าห่วย
สรุปผมถ่ายตำรวจตอนมาตรวจค้นได้ไหมครับ ? แน่นอนว่าผมถ่ายเพื่อประโยชน์ส่วนตน แต่ติดหน้าตำรวจ
ปกป้องสิทธิสามารถทำได้ครับ แต่ถ้าโพสต์ประจานอันนี้เขาฟ้องได้นะ
@@indepen-dent8157 งี้ก้เหมือนกับ การที่เอามาโพสลงเฟซบุ๊คเกี่ยวกับการทำงานของตำรวจคงไม่ได้แล้วสินะครับ ถ่ายเก็บไว้ได้อย่างเดียว
แต่เอาจริงถ้าตะกวดจะเอาเรื่องเพราะเราถ่ายก้ได้อีกแหล่ะ เพราะอาจมาบอกว่ามือถือเราเป็นของกลาง เอาเรื่องเราอีก
ละเมิดกฏเค้านู้นนี่นั้น
คนที่ถ่ายช๊อตเด็ดของคนหรือเด็กหรือดาราและลงสื่อโซเชียลเพื่อเพิ่มยอดติดตาม, ยอดไลค์ช่องตัวเอง เป็นการแสวงหาประโยชน์มั๊ย แล้วถ้าบังเอิญปัง นายแบบหรือนางแบบมาเรียกร้องแย่งรายได้/กรรมสิทธิ์คลิปได้หรือไม่
ที่บอกว่า "ติดตั้งกล้องวงจรปิดในบ้าน ทำได้ ไม่ผิด" ในกรณีที่กล้องอยู่ในย้าน เห็นแค่บริเวณห้องนั้นๆ, คอยเฝ้าดูคนชรา, เด็ก, สัตว์เลี้ยงฯลฯในบริเวณภายในตัวบ้านไม่ติดใจอะไร แต่ประเด็นที่สงสัยคือ กล้องที่ติดตั้งนอกอาคารที่หันทิศทางส่องไปยังพื้นที่ข้างเคียง โดยเฉพาะบ้านข้างเคียง สามารถเห็นและบันทึกพื้นที่สนาม, โถงชั้นล่าง, หน้าต่างชั้นต่างๆ, ประตูห้อง, ประตูรั้ว บันทึกทุกอิริยาบท, การเข้าออกของบุคคลในบ้านข้างเคียงตลอดสามารถแพนกล้องหรือซูมได้ทุกเมื่อที่ต้องการ ทั้งวันทั้งคืน รู้ว่าบ้านข้างเคียงใครออกจากบ้าน, มีใครอยู่บ้าน, มีใครมาพบหา, ว่ายน้ำกับแฟน, วิ่งเล่นกับลูก, หอมแก้มเมีย ฯลฯ โดยอ้างว่าฉันถ่ายบ้านฉัน ไม่ได้ตั้งใจถ่ายบ้านคุณ คุณใช้ชีวิตตามปกติ ไม่ต้องกังวลว่าฉันจะเห็นหรือจะเอาไปหาประโยชน์ ฉันไม่บอกใครหรอก หรือฉันต้องรัดกุมดูรอบบ้านขโมยมันเยอะ ต้องส่องซอยหน้าบ้านเพื่อจะได้รู้ว่าขโมยมายังไง การติดตั้งกล้องวงจรปิดลักษณะนี้ติดได้หรือไม่ แล้วถ้าบ้านข้างเคียงติดตั้งกล้องทิศทางแบบนี้และไม่ยอมแก้ไข ใครจะยับยั้งเขาได้
มันคือ กฎหมายที่แบ่งชนชั้น ระหว่าง คนธรรมดา กับ สื่อมวลชนและตำรวจ
TH-camr นี่รวมเข้าข่ายหาผลประโยชน์ด้วยใช่มั้ยครับ
คลิปนี้สยบสามกีบ หน้าหมี
ขอบคุณครับ
ตัวกฏหมายมันดีครับแต่คนเราเอาไปปั่นซะเละ
อย่าไปหาทำก่อนที่จะทำควรดูด้วยว่ารัฐบาลเป็นยังไงหรึอตำรวจตีความยังไงคือมึงจะออกฏหมายอย่างนี้รอมีเลือกตั่งมาใหม่ก่อนไม่ใช้ไม่ฟังเสียงประชาชนงุบงิบออกกฏหมายออกข่าววันเดียวอีกวันมันบังคับใช้เลยมึงมันเผด็จการชัดๆ
ถ่ายโจรถ่ายตำรวจรีดใถคือกูต้องเบลอหน้าเลยหรึอ
คุณ ต้องขออนุญาติเขาด้วย พูดต่อหน้ากล้อง ตอนถ่ายวิดีโอ คุณตะได้ไม่มีความผิด ส่วนมากเขา ยินยอม ไห้ตรวจค้นสามารถ ถ่ายวิดีโอ เก็บไว้เปนหลักฐาน ได้เจอตำรวจดีก้อดีไป เจอตำรวจ เหี้ยก้อเยอะ ดังนั้น พรบอุ้มหาย ออกมากันเจ้าหน้าที่ทำเกินกว่าเหตุ
ตำรวจกลัวกล้อง มากกว่าปืนนะ ถ้าตำรวจเหี้ย ถ้าตำรวจดี เขาไม่กลัวหรอกถ้าทำตามกฏหมาย ไม่ละเมิด สิทธิ กัน เราก้อต้องเหนใจเขาด้วย เขาทำตามหน้าที่ ใจเขาใจเราแบบนี้แฟร์กว่า
โจรในเครื่องแบบทั้งหลายที่ใช้อำนาจโดยมิชอบน่าจะถูกใจกฎหมายนี้
ชอบทำคลิปพาไปเที่ยวลงยูทูปติดหน้าคนเดินผ่านบ่อยๆแบบนี้ผิดมั้ยค่ะ
ผมมองว่าถ้าคุณทำคลิปท่องเที่ยวลงยูทูปแล้วคุณได้รายได้จากยูทูป กฎหมายนี้โคตรหมิ่นเหม่เลยคับ
คุ้มครองยังไงให้ใช้ชีวิตโคตรลำบากคับ
ผมคิดว่าก่อนจะเชื่อสื่อสารอะไรควรศึกษาหาที่มาหลายๆแหล่งอย่าเพิ่งเชื่อในแหล่งข่าวเดียว
กฎหมายแม่กฎหมายลูกมันก็จะเหมือนเดิมรัฐธรรมนูญไทยก็มีทั้งกฎหมายแม่กฎหมายลูกวุ่นไปหมดถ้าทำความผิดแล้วปรับเป็นเงินแบบนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเศรษฐกิจเลย