เหตุสกุลยศ รัชกาลที่8 และ รัชกาลที่9 แตกต่าง ตั้งแต่เมื่อแรกเสด็จพระบรมราชสมภพ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 7 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 74

  • @noonis443
    @noonis443 4 ปีที่แล้ว +23

    พระบรมราชชนก มีพระพักตร์คล้ายรัชกาลที่8 มากเลย ทำให้ผมสับสนมาตั้งแต่เด็กๆ ทั้งสองพระองค์ทรงงามสง่ามากเลยครับ ผมชอบมองมาก มองแล้วก็มองอีก ด้วยความรัก ความเคารพ ฯลฯ ต่อทั้งสองพระองค์มากครับ

  • @gracecnk6911
    @gracecnk6911 4 ปีที่แล้ว +28

    การใช้ภาษา จังหวะการบรรยาย ไพเราะ ถูกอักขณะ น่าฟัง ข้อมูลที่สืบค้นมานำเสนอ ก้อมีอ้างอิงน่าเชื่อถือดีค่ะ ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆมีคุณภาพ อบบนร้นี้นะคะ

    • @AisAis-je6ps
      @AisAis-je6ps 4 ปีที่แล้ว +5

      👍ขอบคุณที่ให้ความรู้ที่มีประโยชน์อย่างมาก🙏

  • @ประเทศไทยของเรา
    @ประเทศไทยของเรา 4 ปีที่แล้ว +21

    คิดถึงในหลวงร.๙

  • @samrerngthongnuepad7273
    @samrerngthongnuepad7273 4 ปีที่แล้ว +23

    ขอบคุณครับที่เสนอข่าวในหลวงและราชวงศ์ อย่างเทิดทูล เคารพ ยกย่อง สรรเสริญ

  • @itsbellakannikawong2335
    @itsbellakannikawong2335 4 ปีที่แล้ว +21

    ไม่เคยผิดหวังกับช่องนี้เลยค่ะ ข้อมูลแน่นมาก

  • @Arunotai140e
    @Arunotai140e 4 ปีที่แล้ว +14

    เจ้าฟ้า(พ่อ)+สามัญชน(แม่)
    มีบุตร จะเป็นหม่อมเจ้า
    พระพี่นาง ร.8 จึงมีสกุลยศ ที่หม่อมเจ้า
    แต่เมื่อมีประกาศนั้นออกมา
    แล้วปรับยศพระพี่นาง ร.8เป็นพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
    แล้ว ร.9 ถึงประสูติ จึงยึดตามประกาศนั้น เป็น พระเจ้าวงศ์เธอ พระองค์เจ้า

  • @โอรสจันทร์สา
    @โอรสจันทร์สา 3 ปีที่แล้ว +4

    ดูทุกคลิปเลยครับ/ผู้บรรยายเสียงนุ่มนวลชัดเจนและถูกต้องตามอักขระวิธี/ขอบคุนความรู้ดีๆครับ

  • @การ์ตูนเด็ก-ฃ2ท
    @การ์ตูนเด็ก-ฃ2ท 4 ปีที่แล้ว +14

    เป็นกำลังใจให้นะค่ะ หนูชอบฟังประวัตศาสตร์ของราชวงมากๆ ช่องนี้อธิบายได้เข้าใจง่ายมากค่ะ

  • @apinya19800
    @apinya19800 2 ปีที่แล้ว

    เป็นพระคุณยิ่งแล้วค่ะ ไม่ได้ทราบก็ให้ได้ทราบ ทราบไปด้วยกันนะคะ ยินดีรับชมรับฟังนะคะ🙏ขอขอบพระคุณค่ะ🇹🇭😊

  • @manochwittayanonta7369
    @manochwittayanonta7369 4 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ เข้าใจแจ่มแจ้งเลย

  • @jitpongnoobumrung1500
    @jitpongnoobumrung1500 4 ปีที่แล้ว +20

    อยากทราบธรรมเนียมการตั้งพระนามคล้องจอง ขอยกตัวอย่าเช่น ของ ร 5. สายพระพันปี ก็มี มหาวชิราวุธ (รัชกาลที่ ๖) - ตรีเพ็ชรุตม์ธำรง - จักรพงษ์ภูวนาถ - ศิริราชกกุธภัณฑ์ - อัษฎางค์เดชาวุธ - จุฑาธุชธราดิลก - ประชาธิปกศักดิเดชน์

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +8

      ขออนุญาตตอบครับ
      ธรรมเนียมนี้พอสรุปได้ว่าเป็นไปตามพระราชนิยม
      ส่งผลต่อ ทั้งเชื้อพระวงศ์ และขุนนาง ผู้รากมากดี
      จึงนิยมตั้งชื่อให้คล้องจอง มีความหมายทางเดียวกัน
      ส่วนที่มา
      พระมหากษัตริย์อาจมีพระราชดำริตั้งให้เอง
      เช่น
      รัชกาลที่4 ตั้งพระนามเหล่าพระราชบุตรด้วยพระองค์เอง
      และ
      บางส่วนก็จะมีกรมพระอาลักษณ์และกรมราชเลขาธิการ
      ฝ่ายเจ้าพนักงานที่คอยคิดพระนามต่างๆมาถวาย
      ให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือก ก่อนพระราชทาน
      เช่น พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)
      ช่วยคิดแล้ว นำขึ้นทูลเกล้าถวายให้ รัชกาลที่ ๖ ทรงเลือก
      เชื้อพระวงศ์หลายสายราชสกุลนั้น
      นอกจากพระนามจะคล้องจองกันแล้ว
      พระนามยังมีความหมายก็ไปในทางเดียวกัน
      กับ พระนามของพระบิดา หรือ ต้นสายราชสกุล
      เช่น
      สายพระราชโอรสธิดา ใน สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี
      พระนามพระราชโอรสธิดา มีความหมายถึงอาวุธและเครื่องทรงต่างๆ
      สัมพันธ์ ไปกับพระนามพระราชบิดา "จุฬาลงกรณ์ เครื่องประดับศรีษะ"
      มหาวชิราวุธ (ร.๖) ตรีเพ็ชรุตม์ธำรง จักรพงษ์ภูวนาถ ศิริราชกกุธภัณฑ์
      อัษฎางค์เดชาวุธ จุฑาธุชธราดิลก ประชาธิปกศักดิเดชน์ (ร.๗)
      หรือ
      สายราชสกุลรพีพัฒน์
      ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
      ที่มีความหมายว่าพระอาทิตย์
      ล้อไปกับ "รพี ที่แปลว่า พระอาทิตย์"
      เช่น ม.จ.พิมพ์รำไพ ม.จ.ไขแสงรพี ม.จ.สุรีย์ประภา
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

    • @ทนต๊ะตา
      @ทนต๊ะตา 4 ปีที่แล้ว +1

      @@KANALAB แล้วพระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจารยางกูล)ละครับเป็นใคร?

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +2

      ขออนุญาตตอบครับ
      ไม่ค่อยเข้าใจคำถามครับ
      ขอตอบเท่าที่พอทราบประจวบเหมาะว่า
      วันที่ 5​ กรกฎาคม​ ของทุกปี
      เป็นวันคล้ายวันเกิด
      พระยาศรีสุนทรโวหาร​ (น้อย​อาจารยางกูร)​
      ซึ่งเป็นผู้มีความสามารถทางภาษา เช่น
      แต่งแบบเรียนภาษาไทยมูลบทบรรพกิจ​
      วาหะนิติ์นิกร​ อักษรประโยค​ สังโยคพิธาน​
      พิศาลการันต์​ และ เป็นผู้ขนานนาม
      แต่งฉันท์สมโภชช้างสำคัญใน​ รัชกาลที่5 เป็นต้น
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

    • @ทนต๊ะตา
      @ทนต๊ะตา 4 ปีที่แล้ว +1

      @@KANALAB ขอขอบพระคุณครับที่ให้ความกระจ่างท่านยังเป็นราชบัณฑิดูและอาลักษณ์ด้วยใช่หรือเปล่าครับ?

  • @พรี่เชใจนักเลง
    @พรี่เชใจนักเลง 4 ปีที่แล้ว +7

    ผมไม่เคยทราบมาก่อนเลยครับ ขอขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ🙏

  • @isranegev7377
    @isranegev7377 3 ปีที่แล้ว

    Thank you ever so much KANA LAB. Blessings.

  • @ปริญสุวรรณชานนท์
    @ปริญสุวรรณชานนท์ 4 ปีที่แล้ว +5

    ชอบช่องนี้มากคับ

  • @ปัญญาสมาอาภา
    @ปัญญาสมาอาภา 4 ปีที่แล้ว +6

    ชัดเจน มีที่มาที่ไปข่าเชื่อถือครับได้ข้อมูลแบบนี้ดีครับ

  • @samrerngthongnuepad7273
    @samrerngthongnuepad7273 4 ปีที่แล้ว +2

    บรรยายอย่างไพเราะเลยครับ

  • @อนันต์งามศิริ
    @อนันต์งามศิริ 4 ปีที่แล้ว +3

    ขอบพระคุณครับ

  • @samrerngthongnuepad7273
    @samrerngthongnuepad7273 4 ปีที่แล้ว +6

    กรมหลวงสงขลา งดงามมากที่สุด

  • @ภัคคิณีกาสลอง
    @ภัคคิณีกาสลอง 4 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะ ขอบคุณค่ะ 🙏

  • @supaschapornn5206
    @supaschapornn5206 4 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ

  • @samrerngthongnuepad7273
    @samrerngthongnuepad7273 4 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @pattaratadan7184
    @pattaratadan7184 4 ปีที่แล้ว +1

    อ่านคล่า งมากชอบฟัง

  • @พระโกศลกิตติโกสโล

    อยากเห็นหน้าผู้บรรยาย เสียงเพราะและฟังเข้าใจง่าย

  • @ศราวุธวันเพ็ญ-ห3ฤ
    @ศราวุธวันเพ็ญ-ห3ฤ 4 ปีที่แล้ว +2

    ได้ดูคลิปช่องนี้แล้วได้ความรู้มากๆครับ...ผมกดติดตามแล้วครับ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณมากครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

  • @WdyCai-df3lx
    @WdyCai-df3lx 4 ปีที่แล้ว +2

    ขออณุญาติถามครับ ... พระเจ้าวรวงศ์เธอ กับ พระวรวงศ์เธอ ทั้งสองพระยศนี้ต่างหรือเหมือนกันมั้ยครับ เหมือนจะเคยได้ยินทั้งสองพระยศนี้ครับ

  • @diodio9837
    @diodio9837 4 ปีที่แล้ว +3

    ทรงพระเจริญ

  • @fyumilk642
    @fyumilk642 4 ปีที่แล้ว +4

    ขอรบกวนถามนอกคลิปครับเรื่องการเรียกลำลองเจ้านาย
    สมมติว่ามีพระองค์เจ้า องค์หนึ่งได้ทรงกรมพระยา เราเรียกท่านว่า เสด็จ... เหมือนเดิมไหมครับ หรือต้องเรียกเป็นสมเด็จ ... แทนครับ
    ขอบคุณครับ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +3

      ขออนุญาตตอบด้วยภาษาสามัญ
      เท่าที่พอมีข้อมูล
      การทรงกรม ที่ สมเด็จกรมพระยา
      ต้องออกพระนามว่า สมเด็จ
      1.ชั้นพระองค์เจ้า
      ที่ทรงกรม สมเด็จกรมพระยา
      เช่น
      พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
      พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร
      เมื่อทรงกรม สมเด็จกรมพระยา
      จึงออกพระนามว่า
      “สมเด็จ” พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
      “กรมพระยา” ดำรงราชานุภาพ
      หรือ โดยย่อว่า
      สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
      2. ชั้นเจ้าฟ้า
      ที่ทรงกรม สมเด็จกรมพระยา
      ระบุว่า
      “สมเด็จ” พระราชปิตุลา
      บรมพงศาภิมุข
      “เจ้าฟ้า”ภาณุรังษีสว่างวงศ์
      “กรมพระยา” ภาณุพันธุวงศ์วรเดช
      หรือ โดยย่อว่า
      “สมเด็จ” “เจ้าฟ้า”
      “กรมพระยา”ภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช
      เพิ่มเจ้าฟ้า ท้ายสมเด็จ
      หากมีข้อมูลอื่นๆ
      หรือ สืบค้น หาข้อมูลเพิ่มแล้ว
      มาแลกเปลี่ยนแบ่งปันเพื่อนๆ
      ท่านอื่นด้วยนะครับ
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

  • @ladybuatravel
    @ladybuatravel 4 ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้มากค่ะ

  • @chezsupotio7506
    @chezsupotio7506 4 ปีที่แล้ว +4

    ขอถามที่มาของชื่อ "คณะแล็บ นั่นเอง" หน่อยครับ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +2

      ขออนุญาตตอบครับ
      ชื่อย่อ รวมกันของทีมงานครับ
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

  • @anaczeramool2471
    @anaczeramool2471 3 ปีที่แล้ว

    อยากให้ทำคลิปเกี่ยวกับมงกุฎพระราชินีไทย แหล่งมีมา สร้างเมื่อไหร่ พระองค์ใดเป็นท่านแรกที่ทรง

  • @aoikj90
    @aoikj90 4 ปีที่แล้ว +2

    🥰

  • @kaecholthicha5560
    @kaecholthicha5560 4 ปีที่แล้ว +2

    พระองค์เจ้าที่เป็นโอรส ธิดา ของพระมหากษัตริย์ มีคำลำลองว่า “เสด็จ” แต่ถ้าพระองค์เจ้าที่เกิดจากการเลื่อนยศ จะมีคำเรียกลำลองว่าอะไรคะ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว

      ขออนุญาตตอบครับ
      ขึ้นอยู่กับว่าเลื่อนไปชั้นใด
      เช่น
      จาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      ที่ขานพระนามลำลองว่า เสด็จ
      ถ้าเลื่อนพระอิสริยยศ ทรงกรม
      เป็น สมเด็จกรมพระยา
      จึงเปลี่ยนขานพระนามลำลองว่า สมเด็จ
      เช่น
      พระเจ้าบรมวงศ์เธอ (พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร)
      กรมพระดำรงราชานุภาพ
      เลื่อนพระอิสริยยศ ทรงกรม
      เป็นกรม สมเด็จกรมพระยา
      คือ
      สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
      กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
      หรือ
      สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
      ขอบคุณครับ ทีมงาน Kana Laboratory

    • @kaecholthicha5560
      @kaecholthicha5560 4 ปีที่แล้ว

      หมายถึงเป็นหม่อมเจ้าแต่ได้เลื่อนเป็นพระองค์เจ้า จะมีคำเรียก ลำลองว่าอะไรคะ

  • @diodio9837
    @diodio9837 3 ปีที่แล้ว

    เพราะ ประวัติศาสตร์ คีอ ความรู้

  • @kaecholthicha5560
    @kaecholthicha5560 4 ปีที่แล้ว

    พระเจ้าวรวงศ์เธอ กับพระวรวงศ์เธอ ต่างกันอย่างไรคะ และเวลายกขึ้น ยกทั้งสายมั้ยคะ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +3

      ขออนุญาตตอบครับ
      1. พระเจ้าวรวงศ์เธอ กับพระวรวงศ์เธอ
      ต่างกันอย่างไรคะ
      ตอบ:
      เท่าที่เคยพบหลักฐาน
      ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      กับ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      ล้วนเป็น ชั้นพระเจ้าหลานเธอ
      ในพระเจ้าแผ่นดิน รัชกาลนั้น
      โดย ในราชกิจจานุเบกษา รัชกาลที่7
      มีตอนหนึ่งว่า
      สถาปนาโอรสธิดาของเจ้าฟ้า
      ที่พระมารดาโอรสธิดาเป็นเจ้า
      โอรสธิดา เป็น
      ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      และ
      สถาปนาโอรสธิดาของเจ้าฟ้า
      ที่พระมารดาโอรสธิดาเป็นสามัญชน
      โอรสธิดา เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      อาจจะพอนับเป็นเกณฑ์ได้ว่า
      ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      มีพระมารดาชั้น หม่อมเจ้าขึ้นไป
      ชั้นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
      มีพระมารดาเป็น หม่อมสามัญชน
      ในข้อนี้ผู้ที่ทราบข้อมูลอื่น
      สามารถช่วยกันเพิ่มเติม
      ให้ข้อมูลสมบูรณ์ได้ขึ้นอีกครับ
      2. และเวลายกขึ้น ยกทั้งสายมั้ยคะ
      ตอบ:
      เป็นไปตามพระบรมราชวินิจฉัย
      เป็นได้ทั้ง พระองค์เจ้ายก หรือ พระองค์เจ้าตั้ง
      ขอบคุณครับ ทีมงาน Kana Laboratory

  • @rugerparabellum9341
    @rugerparabellum9341 4 ปีที่แล้ว +3

    ในหลวง ร เก้าเคยเปนเจ้าฟ้าชั้นโทอยู่ช่วงหนึ่ง

  • @ampol0666
    @ampol0666 4 ปีที่แล้ว +2

    1😊

  • @อนันต์งามศิริ
    @อนันต์งามศิริ 4 ปีที่แล้ว +3

    คำถามผมเลยยย

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับคำถามครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

  • @wanvisa-_-
    @wanvisa-_- 4 ปีที่แล้ว

    🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰

  • @Ryukita520710174
    @Ryukita520710174 4 ปีที่แล้ว

    เหตุใดเจ้านายต่างกรมในรัชกาลปัจจุบันจึงไม่ได้ใช้แบบการแต่งตั้งยศเหมือนดังเช่นรัชกาลที่ 5 ได้กำหนดมาว่าให้ชื่อทรงกรมเป็นชื่อหัวเมืองต่าง ๆ เลียนแบบชาติตะวันตกครับ
    และเหตุใดกรมพระศรีสวางควัฒนฯ จึงอ่านว่า”กรม-พระ” ไม่ใช่”กรม-มะ-พระ”ครับ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +3

      ขออนุญาตตอบครับ
      จากคำถาม
      1. เหตุใดเจ้านายต่างกรมในรัชกาลปัจจุบัน
      จึงไม่ได้ใช้แบบการแต่งตั้งยศ
      เหมือนดังเช่นรัชกาลที่ 5 ได้กำหนดมาว่า
      ให้ชื่อทรงกรมเป็นชื่อหัวเมืองต่าง ๆ
      เลียนแบบชาติตะวันตกครับ
      ตอบ:
      รัชกาลที่ 9 มีพระบรมราชวินิจฉัยทรงกรมเจ้านาย
      ให้สอดคล้องสัมพันธ์ กับ
      การทรงกรม ของพระบิดาของเจ้านายพระองค์นั้น
      เช่น
      สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
      กรมหลวงนราธิวาสราชครินทร์
      ทรงกรม สัมพันธ์ กับ
      สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
      พระบรมราชชนก
      ซึ่งทรงกรมหลวงสงขลานครินทร์
      และ
      พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต
      ทรงกรม สัมพันธ์ กับ
      สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์
      กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ผู้เป็นพระบิดา
      รัชกาลที่9 ทรงเปลี่ยนธรรมเนียม
      การเฉลิมพระยศ-พระอิสริยยศ
      ธรรมเนียมในแต่ละรัชกาล
      จึงเปลี่ยนแปลงไปตามพระบรมราชวินิจฉัย
      และพระราชนิยมของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล
      2. และเหตุใดกรมพระศรีสวางควัฒนฯ
      จึงอ่านว่า”กรม-พระ” ไม่ใช่”กรม-มะ-พระ”ครับ
      ตอบ:
      ในอดีตนิยมอ่านคำเหล่านี้เป็น 3พยางค์
      ล้วนอ่านว่า กรม-มะ ทั้งสิ้น
      กรมขุน กรมหมื่น กรมพระ กรมหลวง
      อ่านว่า กรม-มะ-พระ
      ส่วน กรมพระยา ออกเสียงดังนี้ตามเดิม
      สะดวกลิ้น และ ไพเราะตามคตินิยมไทยแบบเก่า
      แต่
      ในปัจจุบัน มีพระบรมราชโองการ เฉลิมพระปรมาภิไธย
      เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ
      เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
      กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
      โดย อาลักษณ์อ่านประกาศว่า กรม-พระ
      จึงต้องยึดตามประกาศนี้เป็นหลัก
      เพราะคือ พระราชนิยมในรัชสมัยนี้
      ขอบคุณครับ ทีมงาน Kana Laboratory

  • @จีรัชญ์โชติภัทร์ศรีกูล

    🇹🇭🙏🏽🙏🏽🙏🏽🇹🇭

  • @หลิงเปากิม
    @หลิงเปากิม 4 ปีที่แล้ว +3

    ดูแล้วทำให้หวนคิดถึงพระองค์ท่านทุกๆพระองค์

  • @sophonbuapheng8864
    @sophonbuapheng8864 4 ปีที่แล้ว +1

    ❤❤❤

  • @วิโรจน์พรมสี-ด5จ
    @วิโรจน์พรมสี-ด5จ 2 ปีที่แล้ว

    ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์

  • @imyourom4655
    @imyourom4655 4 ปีที่แล้ว

    ถ้ามีการเปลี่ยนยศจากพระเจ้าวรวงศ์เธอจะเป็นพระยศใด และถ้าเปลี่ยนจะเป็นสกุลยศใด

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว

      ขออนุญาตตอบครับ
      ถ้ามีการเปลี่ยนยศจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ
      จะเป็นพระยศใด
      และถ้าเปลี่ยนจะเป็นสกุลยศใด
      ส่วนใหญ่พระอิสริยยศจะสถาปนาสูงขึ้น
      มีบ้างในอดีตที่ลดพระอิสริยยศอิสริยศักดิ์ลง
      ล้วนแล้วเป็นไปตามพระบรมราชวินิจฉัย
      ส่วนสกุลยศเป็นของชั้นเดิม มาแต่ประสูติ
      สกุลยศ ชั้นเจ้าฟ้า ชั้นพระองค์เจ้า หม่อมเจ้า
      แต่แม้
      ยกจากหม่อมเจ้า เป็น พระองค์เจ้า
      สกุลยศเดิม ให้ทราบว่าคือ ชั้นหม่อมเจ้า
      มีความคาบเกี่ยว สกุลยศ ที่
      พระองค์เจ้ายก เมื่อมีโอรสธิดา
      เป็น หม่อมเจ้า (เป็นเจ้า)
      และ
      พระองค์เจ้าตั้ง เมื่อมีโอรสธิดา
      เป็น หม่อมราชวงศ์ (เป็นสามัญชน)
      ขอบคุณครับ ทีมงาน Kana Laboratory

  • @thipoptamakul2881
    @thipoptamakul2881 4 ปีที่แล้ว

    ทำไม คุณแม่ ของคุณฮิวโก้ ไม่ได้เป็น หม่อมเจ้า ในขณะที่ เกิดจาก พระองค์เจ้า

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +1

      ขออนุญาตตอบครับ
      พระบิดา เป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ
      เป็น พระองค์เจ้าตั้ง เฉพาะ พระองค์
      เมื่อมีโอรสธิดา จึ่งเท่ากับมีพระบิดา
      ชั้น หม่อมเจ้า ธิดา จึงเป็น หม่อมราชวงศ์
      ขอบคุณครับ ทีมงาน Kana Laboratory

  • @นงลักษณ์สุภาษร
    @นงลักษณ์สุภาษร 9 หลายเดือนก่อน

    นํ้าเสียงไพเราะมากค่ะชอบฟังทุกคลิปเลย

  • @อิสระพงศ์เสนาสวัสดิ์-ม9ค

    หม่อมหลวงกับหม่อมเจ้าต่างกันอย่างไรครับ

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว +2

      ขออนุญาตตอบครับ
      ถ้าแบบที่เห็นชัดเจน
      หม่อมเจ้า เป็นเจ้าชั้นอนุวงศ์
      ต้องใช้ราชาศัพท์
      เมื่อมีบุตร เป็นชั้น หม่อมราชวงศ์
      หม่อมหลวง เป็นสามัญชน
      มีคำนำหน้านามว่า หม่อมหลวง
      เรียกลำลองว่า คุณ
      เป็นเพียงผู้สืบสายจากราชสกุล
      ไม่ต้องใช้ ราชาศัพท์
      หม่อมหลวง ที่เป็นบิดา มีบุตร
      บุตรใช้ ราชสกุล ต่อด้วย ณ อยุธยา
      บุตรใช้คำนำหน้านาม ตามปรกติ
      (ผู้สืบสกุลฝ่ายชาย ราชสกุลฝั่งบิดา)
      หม่อมหลวง ที่เป็นมารดา มีบุตร
      บุตรสามารถขอใช้ราชสกุลได้
      แต่ไม่ต้องใช้ ณ อยุธยา
      เช่น ฮิวโก้ จุลจักร จักรพงษ์
      บุตรใช้นาย นาง ฯ ตามปรกติ
      (เป็นการที่ ม.ล.หญิง
      แต่งออกจากราชสกุล
      ต้องใช้นามสกุลสามี
      รวมถึงบุตรของม.ล.
      หากบุตรจะขอใช้ราชสกุล
      ตามมารดาที่เป็น ม.ล.
      ไม่ต้องใช้ ณ อยุธยา)
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

    • @bunyute
      @bunyute 4 ปีที่แล้ว

      KANA LAB ได้ความรู้ไปด้วยเลย ขอบคุณครับ

  • @ศรุชาผ่องอําไพ
    @ศรุชาผ่องอําไพ 4 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณสำหรับความรู้ที่ทรงคุณค่ามากค่ะ

  • @sunisas.8289
    @sunisas.8289 4 ปีที่แล้ว +2

    อยากให้นำเสมอพระราชประวัติของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในรัชกาลที่9รวมถึงพระราชกรณียกิจต่างๆของสมเด็จย่าให้ประชาชนได้รู้จักในฐานะที่พระองค์ท่านก็เป็นหนึ่งในราชวงศ์จักรี

    • @KANALAB
      @KANALAB  4 ปีที่แล้ว

      ขออนุญาตตอบครับ
      เชิญรับชมครับ
      th-cam.com/video/5zyHM8R5MO0/w-d-xo.html
      พระราชประวัติ สมเด็จย่า บุคคลสำคัญของโลก
      สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

  • @tomoomoo8136
    @tomoomoo8136 3 ปีที่แล้ว

    เรารักทุกราชวงศ์และสถาบัน🙏🙏🙏เสียงแอดเพราะจังคะนุ่มนวลอักขระชัดเจนขอบคุณ💝💗💞

  • @ดวงกมลบุญเลิศ-ป9ด
    @ดวงกมลบุญเลิศ-ป9ด 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอเทิดทูนไว้เหนือเกล้าทุกพระองค์ค่ะ

  • @thipyapornkwansirimongkol2389
    @thipyapornkwansirimongkol2389 3 ปีที่แล้ว +1

    รักและคิดถึงทุกพระองค์พระเจ้าค่ะ🇹🇭🇹🇭🇹🇭🙏🙏🙏