ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ถูกขั้นตอนครับ ผมเรียนช่างโลหะมาครับ
ขอบคุณครับ
ล้านล
เยี้ยมครับ ได้ความรู้ดีมาก
ชัดเจน ถูกทุกประเด็น ขอบคุณมากครับ
ผิวเรียบตรึงครับพระเเท้ๆเพราะการหลอมโลหะสมัยก่อนถ้าโลหะไม่เข้าที่เขาไม่เท เขาจะหลอมจนเข้าที่เเล้วค่อยเทครับ
พระที่สร้างโดยช่างอาชีพจะผิวเรียบ ตำหนิน้อย ดูอย่างพุทธรูปต่างๆ ลองสืบคนได้ ไม่มีผิวมะระขรุขระ เพราะที่ผิวมะระ ส่วนใหญ่หล่อโดยวัดหรือช่างท้องถิ่น ไม่ใช่ช่างฝีมือครับ
เยี่ยมเลยฟังคุณมีเหตุและผล..พระทีรนติดช่อชนวนใต้ฐานพระจะไม่กลมจะออกวงรีๆเล็กน้อย
คลิปนี้อธิบายดีมากๆสุดยอด
นี่แหละเข้าใจง่ายคำว่าเซียนไม่ต้องเป็นก็ได้ แค่รู้กระบวนการผลิตสุดยอดไปเลยพี่
พูดดายดีมากเลยครับชอบ มากมากครับ
คุณพูดถูกครับ
วิธีดูเนื้อพระหล่อแท้ๆถ้าหาองค์จริงไม่ได้ให้ไปหาดูเนื้อขัน แจกัน หรือระฆังเก่า ที่เก่าจริงๆส่องดูแล้วศึกษาเนื้อโลหะ..ถ้าคิดจะเรียนลัดต้องมีอาจารย์ที่ดี ้เพราะถ้าศึกษาแต่ในคลิปคงเป็นแนวทางได้บ้าง เพราะของเก๊ฝีมือน่ากลัวครับ ใครไม่เคยเห็นของแท้โดนแน่ครับ
ใช่ๆเป็นความคิดที่ฉลาดมาก
พิมพ์นิยมยุคต้น จะเป็นโลหะผสม ช่างชาวบ้าน สร้างจะมี เม็ดกรวดเม็ดทราย โลหะ จะไม่ตึงเป็นผิวมะระเพราะในยุคนั้นยังไม่มีแก๊ส ครับ ถ้าหล่อมาสวยตึงผิวเรียบเป็นพระยุคใหม่ครับ ผมเหลี่ยมพระมา 18 ปีแล้ว เห็นของเก๊เยอะมากครับ
ไม่เกี่ยวกับเรื่องแก๊สเลย เลี่ยมพระไม่ได้หมายควาทว่าหล่อพระเป็นนะ
สุดยอดคับ ชอบมากเลยคับ สอนได้ระเอียดมาคับ🙏🙏🙏🙏🙏
ได้ความรู้มากๆขอบคุณครับ
เป็นช่อมีจริงครับ ตระกูลใหญ่ๆรับมาทั้งช่อ เช่น ตระกูลเจ้าเมืองพิจิตร เป็นต้นครับ ทางครอบครัวลูกหลานบ้านท่านและยังทันลุงเลียบวัดท้ายน้ำด้วยครับ
ถูกทุกข้อครับ
ขอบคุณข้อมูลดีๆครับ
ขอบคุณที่รับชมครับ
ลองนำไปใช้หาพระหลวงพ่อเงินมาใช้ครับ
เป็นวิธีที่ดำเนินไปที่ละขั้นตอน แล้วแต่ช่างที่ต่างสำนัก อาจจะคล้ายๆกันบางช่างอาจจะยุ่งลึกมากกว่านี้ก็เป็นไปได้ วิธีแบบนี้ เซียนที่ห้างขายพระ บางคนอาจไม่รู้เรื่องในการทำพระเมี่อสมัยโบราณผ่านมาในแต่ละยุคสมัย แต่เราก็ยังไม่พ้นเจอพระเก้ ขอบคุณครับอาจารย์สำหรับความรู้ทีแยบยล เข้าใจง่าย
อยากให้ดูเพจ "หลวงพ่อเงินวัดบางคลาน" กดไปดูเลย จะพบกับอ.เกรียง นี่ซิแน่นจริง ความรู้ถูกต้อง ชัดเจน ลองดูกันนะครับ รู้จริงเรื่องหลวงพ่อเงิน แกเป็นช่างหล่อพระ คนเมืองพิจิตร
ดีครับ
ครับ
ขอบคุณครับเข้าใจเลยคับ
ยินดีครับ
ขอบคุณและขอบคุณครับ
มาถูกทางแล้วเรา
ดีใจด้วย
หล่อแบบนี้หน้าจะเป็นยุคหลังนะครับ
ไม่หลังครับ กริ่งวัดสุทัศน์ ก็สร้างติดช่อแบบนี้ ต่างกันแค่ใส่กริ่ง
ติดตามอยู่ครับ ดีครับ
รอมานานรอชมคลิปติคตามคับ
ได้ความรู้ดีมากครับท่าน
ยอดเยี่ยมในการวางศิลปเชิงช่าง ครับผม
เยี่ยมมากครับ
จะสร้างพระที่เป็นมงคลทั้งที ไฉนต้องเอามูลขี้วัวมาผสมแล้วกรองมาทาเบ้าพิมพ์...
เคยเห็นครับมีหลายคนเลย
ได้ความรู้ดีครับ
สุดยอดครับ
การหล่อพระสมัยโบราณเขาจะปั้นหุ่นเทียนแล้วใช้ดินขี้วัวทาที่หุ่นเทียนแล้วใช้ดินเหนียวหุ้มหุ่นเทียนอีกทีแล้วเจาะรูด้านก้นแล้วเอาไปเผาไฟเพื่อให้หุ่นเทียนละลายเมื่อหุ่นเทียนละลายหมดเขาจะเทโลหะที่หลวมได้ที่แล้ว เทลงไป ช่อจะไม่ยาวมากนักหนาพอกับฐานใต้องค์พระที่เป็นรูสำหรับหยอดโลหะเข้าแล้วโลหะล้นออกมา นึกภาพตาม แล้วมาตะไบช่อ ไม่ได้ตัดนะครับเพราะช่อไม่ยาวเท่าไรแค่ตะไบให้เรียบเท่านั้น ตามภาพที่อาจารย์ลงให้ดูถูกต้องครับ
แบบนั้นเป็นเบ้าทุบครับ คนละอย่างกับการหล่อแบบติดช่อ จากประสบการณ์เบ้าทุบจะเป็นงานของช่างชาวบ้านเพราะใช้ฝีมือน้อยกว่าแบบติดช่อ
ให้ความรู้หล่อโบราณของบ้านช่างหล่อ(คุณยายวัน สุทัศน์ ณ อยุธยา)หล่อเป็นก้านชนวน(เดือย)ไม่ใช่หล่อเป็นช่อที่ละหลายๆองค์รวมกันนะครับถ้าเป็นช่อคือรุ่นหลังไม่ไช่บ้านช่างหล่อ หล่อให้หลวงพ่อเงิน หลวงพ่อเงินได้ไหว้วาน(จ้าง)ให้บ้านช่างหล่อ.หล่อในวาระหลวงพ่อเงินท่านอายุ๙๙ปีย่างปีที่๑๐๐ปี เพราะบ้านช่างหล่อพระสวยงาม(คุณยายวัน)ประวัติคุณยายวันท่านไปเรียนเพิ่มเติมการหล่อที่เมืองนอก เพราะอาชีพบ้านช่างหล่อคือการหล่อพระ หล่อที่วัดตองปุ(วัดชนะสงคราม)ในประจุบัน หล่อเมื่อปี พ.ศ2450 หลวงพ่อเงินท่านเกิด วันอังคารที่20เดือน9(กันยายน)พ.ศ2351ขึ้น๑คํ่าเดือน๑๑ปีมะโรง หล่อก้านชนวน(เดือย)ที่ละองค์นะครับไม่ไช่หล่อเป็นช่อครับ ผมบรรยายไว้ข้างต้น การหล่อของคุณยายวัน จะขึ้นหุ่นเทียน(ขี้ผึ้ง)แกะหุ่นขี้ผึ้งตามที่ต้องการ แล้วก็นํ้าขี้วัวที่คั้นแล้วเอาไปกรองเอาไปทาตัวหุ่นรอให้นํ้ามูลวัวแห้งถึงจะเอาดินที่ผสมนํ้ามูลวัวเอาไปพอกตัวหุ่น ที่ทานํ้ามูลวัวเพราะกลัวไปติดตัวหุ่น พระจะออกมาไม่สวยงาม พอกตัวหุ่นแล้วท่านเปิดก้นถ้วย(ตูด)ไว้เทโลหะที่ท่านหลอมละลายแล้วโลหะที่ท่านจะสำรอกหุ่นขี้ผึ้งไม่เกิน80องศาเพราะเกินกว่านี้ดินที่หุ้มตัวหุ่นจะระเบิด มาพูดเรื่องก้านชนวน(เดือย)กลมปลายแบนเอาไว้คน ไล่อากาศและตามซอกตามมุมของพระหล่อโบราณ ก้านชนวนเหมือนแท่งดินสอแต่เล็กกว่าแท่งดินสอ ท่านหล่อพร้อมกับรูปเหมือนเท่าองค์จริงที่ประดิษฐานในวัดหิรัญญาราม(บางคลาน)ทุกวันนี้ และหล่อพร้อมกับจอบใหญ่ไข่ปลา+จอบเล็กทั้ง3พิมพ์ คุณยายวัน สุทัศน์ ณ อยุธยา.ท่านหล่อให้วาระเดียวเท่านั้น หล่อเนื้อ นวะโลหะเต็มสูตร๙ชนิด มีดังนี้ ๑ชินสังฆวานร๒เจ้านํ้าเงิน(เหล็กไหล)๓เหล็กละลายตัว๔ทองแดงเถื่อน๕ปรอท๖สังกะสี๗ทองแดงบริสุทธิ์๘เงิน๙ทองคำ เนื้อแดงชมพู อมม่วง(เนื้อสวยงามมาก) พิมพ์เข้าไปดู พิมพ์ว่า รูปหล่อเท่าองค์จรริงหลวงพ่อเงินบางคลาน เข้าไปที่ Google Sites ได้สแกนให้ดูรูปหล่อที่บ้านช่างหล่อๆให้หลวงพ่อเงิน เนื้อสำริด เป็นสีของพระรัตนตรัย(พระประธาน)ภาษาพระหล่อโบราณ ยุบ เหี่ยว ย่น ต้องมีไขของหุ่นขี้ผึ้งต้องมีให้เห็นนะครับให้ความรู้ครับผม
แค่เรื่อง 80 องศา ก็แสดงถึงความไม่รู้จริง โลหะอะไรหลอมที่ 80 องศาบ้าง? แค่จุดนี้ก็จบแล้ว ไม่นับเรื่องเทโลหะลงเบ้าที่มีหุ่นเทียนแล้วหวังว่าจะสำรอกหุ่นเทียนออกมาเองได้ ไปลองทำเองแล้วจะรู้ ว่ามันสำรอกได้มั้ย ลองเอานิ้วจิ้มดินเหนียวให้เป็นรู หยดน้ำเทียนให้เต็ม แล้วเทน้ำร้อนราดลงไปดูนะครับ น้ำมันไหลนองออกนอกปากรูหรือไม่? ก็ไปลองดูเอา
@@สอนดูพระแท้ คุณเข้าใจความหมายไหมหลอมละลายมันเป็น1000องศาอยู่เขารอให้มันเย็นตัวไม่เกิน80องศาคุณเข้าใจหรือยัง ที่ผมบรรยายนะคุณ เข้าไปดูของผมหรือยังไม่ได้อุปโหลกขึ้นมา เขาเอาใส่กาทองเหลือง บ้านช่างหล่อระดับประเทศสมัยนั้นไม่ใช่สุกเอาเผากิน
@@แดงชัยวงค์-ฉ1ว อย่าดิ้นเลย ยิ่งแสดงความไม่รู้ รอให้เย็นที่ 80 องศา พูดมาได้ ตอน 80 องศา โลหะที่ใช้แข็งแล้วจะเทเข้าได้ยังไง อีกอย่างนึง เอาอะไรมาวัดอุณหภูมิ? ความรู้ผิด ก็ไม่ต้องตามไปดูครับ เสียเวลา มีแต่เรื่องคาดเดา
พิมพ์ขี้ตาหล่อทีละองค์แบบพิมพ์ประกบ(เทหยด)ที่ก้น...ก้นพระพิมพ์ขี้ตาจึงมีพื้นเป็นหลุมเป็นบ่อ....พิมพ์นิบมเหรียญจอบก็ใช้พิมพ์ประกบแต่เป็นการติดก้านชนวน...ก้นพระมีรอยตัดแล้วแต่งจะไป...ไม่แปลกที่พระจะเทออกมาเป็นช่อแต่ที่แปลกคือคงไม่มีพระสภาพเดิมๆหลงเหลือเยอะแยะขนาดนี้ตระกูลผมคนพิจิตรดังเดิมไม่เคบเจอแบบที่ไอบ้านั้นมันอ้างหรอกชครับปล่อยมันบ้าไปครับ....หลวงพ่อเงินต้องแยกการสร้างเป็น2แบบครับ
การมีรอยตะเข็บข้างในงานหล่อ ไม่จำเป็นต้องหล่อประกบครับ หล่อติดช่อก็มีรอบตะเข็บได้ มันอยู่ที่ว่า หุ่นเทียนที่นำมาติดช่อมีรอยประกบหรือไม่ รอยตะเข็บของการหล่อเบ้าประกบมันเกิดจากเบ้าหน้าหลังที่มีรอยประกบ จะแตกต่างจากตะเข็บที่เป็นมาจากในหุ่นเทียน ส่วนพิมพ์ขี้ตามีได้ทั้งแบบประกบและแบบเบ้าทุบครับ วิธีการหล่อแบบช่างโบราณมันมีหลายอย่่างไม่ได้มีแค่หล่อติดช่อกับหล่อประกบครับ
มีอยู่ แต่เอาน้ำส้มสายชูไปล้างองค์แล้วครับ ไม่ขาย เก็บไว้บูชา แรกๆก็สีองค์พระแบบนี้ครับ
อย่าทำแบบนั้น ผิวเสียหมด
ผมมีองค์จริงๆแท้ๆเลยครับ
เคยหล่อแหวนติดช่อแบบนี้แหระครับ
คนทำพระเก้เขาก็รู้วิธีหล่อแบบโบราณครับ เขาก็ทำเก้แบบโบราณนี่แหละ
จึงต้องดูเรื่องอื่นด้วยไงครับ วิธีผิดก็ตกรอบไปเลย
กก้ไอ้เปตนรกต้วเหีัยชื่อไอ้ใหย่ชินบ้นชรใงม้นมีเปนช่อๆเต่มบ้านของม้นทีร้านม้นใงร้านๆๆใอ้ใหย่ชชินบ้นชรทีนครนายกใอ้เปตนรกม้นมีเยอะพะปอมพะเก้ๆเตมบ้านม้นเรย5555โสโครกมากเชินใปดุทีร้านม้นนะ
ใครทำอะไรไว้ กรรมย่อมสนองในวันหนึ่งครับ
5555
การแต่งหุ่นเทียนด้วยไม่เสนียด อาจจะต้องแต่งที่ใบหน้าตา และปาก ด้วยใช่ไหมครับ ถ้ามีการแต่งที่ใบหน้า.. เป็นไปได้ไหมที่หน้าตาพระที่หล่อเสร็จอาจต่างกัน
ใช่ครับ ถ้าหุ่นเทียนไม่ชัด ก็จะมีการแต่ง
สอนความเชื่ออีกแล้ว
เก่ง ก็ ทำคลิปเอง
ทาชั้นแรกนั่นแหละเขาเรียกดินนวลครับ ต่อจากดินนวลคือดินอ่อน ต่อไปอีกชั้นคือดินแก่
การเรียกชื่อแต่ละช่างต่างกันครับ
ขออนุญาตรบกวนไห้ดูพระได้ไหมครับ ติดต่อได้ทางไหนครับ
คลิปของ อ.จารย์ปฎิบัติให้ดูเลยชัดเจนมากลองหาดู
สมัยก่อนเขาใช้อะไรตะไบพระค่ะ
ใช้ตะไบครับ
ข้อสงสัยของผม...ทำไมจึงไม่เคยเห็นช่อก้างปลา/ถ้าเป็นช่อก้างปลาต้องมีมุมเฉียงที่รอยตัด...ในหลักการเดียวกัน...ถ้าเราละลายน้ำขี้วัวใส่ไหแล้วเอาหุ่นเทียนจุ่มทำซ้ำๆเหมือนการทาด้วยแปลงจะง่ายกว่ามั้ย...การเข้าดินเบ้าก็ใช้วิธีเดียวกันแค่ละลายดินให้เหลวแล้วใส่กระบอกไม้ไผ่...สมมุติ...แล้วรอให้เซ็ตตัว...และอีกมากมายหลายวิธี...แล้วแต่เชิงช่างในแต่ล่ะพื้นที่...เราอย่าลืมว่าเมื่อก่อนช่างไม่มีโรงเรียนสอน...อาศัยการสืบทอดกันมาเป็นรุ่นๆ....แต่ล่ะพื้นที่การทำเลยไม่ค่อยจะเหมือนกัน...ในมุมของผมยังมองว่าการหล่อช่อเป็นพุ่มก็ยังไม่ได้เก๊ซะทีเดียว...แต่ถ้ามาช่อล่ะเป็น100องค์ก็ไม่น่าจะเป็นไปได้...
ลองทำดู ก็จะรู้เอง ว่ามันตัดมาเฉียงมั้ยครับ เรื่องจุ่มดินขี้วัว มันก็มีเหตุผล ว่าทำไมเค้าไม่ทำแบบนั้นกัน ไม่มีช่างที่ไหนทำแบบนั้นหรอกครับ ไม่งั้นกริ่งวัดสุทัศน์ที่เค้าสืบทอดกันมาก็คงจุ่มดินขี้วัวไปแล้ว ไม่ใช่ดินอะไรก็ได้ที่จะเอามาผสมทา นั่นเป็นอีกเหตุผลว่าทำไมเดี๋ยวนี้แทบไม่มีคนทำแล้ว อธิบายได้เท่านี้ หลายอย่างก็ไม่มีเหตุผลผลต้องนำเสนอ แค่ที่ทำให้ดูก็มากพอจะแยกพระเก๊ได้ระดับธรรมดาได้แล้ว
ใช้ครับแต่เข้าไม่ได้บอกทุกคน
ความรู้บางอย่าง ต้องแสวงหาครับ หลายอย่างมันใช้หากินจึงไม่มีใครบอก
ผมมีอยุ่,2องค์อยากทราบว่าจะให้ดุได้อย่างไรครับ
อธิบายไม่ถูกครับ ดินนวลคือขี้วัวผสมชันที่อยู่ในขันนั่นและครับ ส่วนดินเหนียวสีดำคือดินอ่อน จากดินอ่อนต่อไปก็พอกดินหยาบเป็นชั้นที่ 3 คลิปที่ผมดูวิธีการสร้างพระกริ่งผมก็ดูครับ
มีของเก๊ที่ทำแบบนี้บ้างมัยครับ
มีครับ กระบวนการถูก ก็ต้องดูส่วนอื่นประกอบด้วยครับ
รับเช่าไหมครับ อาจารย์
รับ มาชั้นสาม งามวงศ์วาน ร้านที่สองขวามือบันได ป้ายสีทอง
แล้วเบ้าเทละคับ
เย้าเทกับเบ้าทุบคล้ายกัน ก้นไม่มีก้านช่อ
ต้องเรียนโลหะวิทยาหรือปล่าว ? เจอปลอมเก่าจะได้หงายเก๋ง !!!??!
มีเวลาก็ไม่เรียนครับ
ตะบันมากยังเรียกไม่ถูกเลย 55 อ.ไรวะ
ตะบันหมากยังพิมพ์ไม่ถูกเลย เรียนจบอะไรมาวะ?
ขอบคุณครับกับข้อมูลที่ดี ครับ
ขอบคุณมากที่ให้ความกระจ่างแก่วงการ
คงไปกระทบแก็งลวงโลกในอดีตใช่ไหมครับ
นิดนึงครับ
มีคนบ้าหลายคนครับที่ทำช่อหล่อโบราณมันบ้าครับ😹😹😹🙏🙏🙏
วิธีการหล่อมันมีมากมาย ยิ่งช่างชาวบ้าน เน้นง่ายเข้าว่าทั้งนั้น ในมุมนึงช่อมันคือความสิ้นเปลืองวัสดุ วิธีง่ายกว่านั้นก็พอมี
พระสมัยก่อนพิถีพิถันมากยิ่งเป็นพระกริ่งพระผงนี่การทำยุ่งยากมากเลยถ้าเป็นผงนี่บางสำนักมีการเขียนผงเป็นอักขระแล้วลบในนึกถึงชอร์คในโรงเรียนนั่นแหละครับเขียนกว่าจะได้ผงจำนวนจึงได้น้อยมากเพราะเน้นการทำมวสารมากถ้าเป็นพระกริ่งโบราณเขียนยันต์ยันต์เดียวสามเดือนเขียนลบเขียนลบจนครบร้อยแปดครั้งมียันต์ต่างๆมากมายและวิธีการทำยุ่งยากมากผมเคยเห็นตำราการทำพระมีเป็นแสนเป็นล้านองค์ต้องทำอย่างน้อยสิบชาติ
ขี้วัวเขากรองแล้วไม่น่ามีเศษหญ้านะครับ
ลองทำแล้วจะรู้
หล่อแบบนี้หลวงพ่อเงินรุ่นปืนแตกปี2528คับ
พิมพ์นิยมที่คุณยายวรรณสร้างก็แบบนี้
@@สอนดูพระแท้ ผมได้หลวงพ่อเงินมาองค์นึงคับสีแบบนี้แหละคับ เมื่อวานเอามาลองส่องดู มีรอยแตกออกเป็นเกร็ด2-3จุดผมเลยลองเอาเหรียญสิบบาทเคาะเบาๆดูกะเท๊าะออกเห็นเนื้อด้านในเป็นทองวาวๆผมมั้นใจไม่ใช่ทองเหลืองแน่ หลวงพ่อเงินเคยสร้างเนื้อทองคำรึป่าวคับ
ไม่มีครับ
สุดเลยครับอาจารย์ผมโง่มานานกระจ่างวันนี้เองขอบคุณครับ
การหล่อมันมีอีกหลายวิธีการครับ ช่อที่เห็นไม่จำเป็นต้องเข้าช่อก็ได้
รุปหล่อลพเงินวัดห้วยเขนทันลพเงินสร้างจิงริ่อม่คับท่าน
ส่วนตัวนะ คิดว่าทันยุคปลายครับ
ขอบคุณครับละเอียดมากเลยได้รับความรู้มากขอบคุณครับ
อาจารย์ครับรบกวนช่วยดูให้องค์ได้ไหมครับพอดีเป็นของมรดกตกทอดผมเพิ่งล้างมาครับยังไงช่วยชี้แนะด้วยนะครับขอบพระคุณอาจารย์มาก
สวยมากๆชอบการสอนดีมากๆละเอียดดีเข้าใจง่ายๆ
ขอบคุณคับ
อาจารย์สอนดีมากเลยครับการหล่อพระหลวงพ่อเงินครับเข้าใจง่ายด้วยครับรายละเอียดเยี่ยมเลยครับขอบคุณมากนะครับผมชอบรูปหล่อหลวงพ่อเงินมากเลยครับสุพรรณครับ
ผมอภิชาติมีความคิดเห๊นวา่ต้องไปหย่าวรรณครับ
สมัยโบราณทำแบบนี้ไม่ได้ครับชิดกันเกินไปพอกดินเบ้าไม่ได้ครับ
ถูกขั้นตอนครับ ผมเรียนช่างโลหะมาครับ
ขอบคุณครับ
ล้านล
เยี้ยมครับ ได้ความรู้ดีมาก
ชัดเจน ถูกทุกประเด็น ขอบคุณมากครับ
ผิวเรียบตรึงครับพระเเท้ๆเพราะการหลอมโลหะสมัยก่อนถ้าโลหะไม่เข้าที่เขาไม่เท เขาจะหลอมจนเข้าที่เเล้วค่อยเทครับ
พระที่สร้างโดยช่างอาชีพจะผิวเรียบ ตำหนิน้อย ดูอย่างพุทธรูปต่างๆ ลองสืบคนได้ ไม่มีผิวมะระขรุขระ เพราะที่ผิวมะระ ส่วนใหญ่หล่อโดยวัดหรือช่างท้องถิ่น ไม่ใช่ช่างฝีมือครับ
เยี่ยมเลยฟังคุณมีเหตุและผล..พระทีรนติดช่อชนวนใต้ฐานพระจะไม่กลมจะออกวงรีๆเล็กน้อย
คลิปนี้อธิบายดีมากๆสุดยอด
นี่แหละเข้าใจง่ายคำว่าเซียนไม่ต้องเป็นก็ได้ แค่รู้กระบวนการผลิตสุดยอดไปเลยพี่
พูดดายดีมากเลยครับชอบ มากมากครับ
คุณพูดถูกครับ
วิธีดูเนื้อพระหล่อแท้ๆถ้าหาองค์จริงไม่ได้ให้ไปหาดูเนื้อขัน แจกัน หรือระฆังเก่า ที่เก่าจริงๆส่องดูแล้วศึกษาเนื้อโลหะ..ถ้าคิดจะเรียนลัดต้องมีอาจารย์ที่ดี ้เพราะถ้าศึกษาแต่ในคลิปคงเป็นแนวทางได้บ้าง เพราะของเก๊ฝีมือน่ากลัวครับ ใครไม่เคยเห็นของแท้โดนแน่ครับ
ใช่ๆเป็นความคิดที่ฉลาดมาก
พิมพ์นิยมยุคต้น จะเป็นโลหะผสม ช่างชาวบ้าน สร้างจะมี เม็ดกรวดเม็ดทราย โลหะ จะไม่ตึงเป็นผิวมะระเพราะในยุคนั้นยังไม่มีแก๊ส ครับ ถ้าหล่อมาสวยตึงผิวเรียบเป็นพระยุคใหม่ครับ ผมเหลี่ยมพระมา 18 ปีแล้ว เห็นของเก๊เยอะมากครับ
ไม่เกี่ยวกับเรื่องแก๊สเลย เลี่ยมพระไม่ได้หมายควาทว่าหล่อพระเป็นนะ
สุดยอดคับ ชอบมากเลยคับ สอนได้ระเอียดมาคับ🙏🙏🙏🙏🙏
ขอบคุณครับ
ได้ความรู้มากๆขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
เป็นช่อมีจริงครับ ตระกูลใหญ่ๆรับมาทั้งช่อ เช่น ตระกูลเจ้าเมืองพิจิตร เป็นต้นครับ ทางครอบครัวลูกหลานบ้านท่านและยังทันลุงเลียบวัดท้ายน้ำด้วยครับ
ถูกทุกข้อครับ
ขอบคุณข้อมูลดีๆครับ
ขอบคุณที่รับชมครับ
ลองนำไปใช้หาพระหลวงพ่อเงินมาใช้ครับ
เป็นวิธีที่ดำเนินไปที่ละขั้นตอน แล้วแต่ช่างที่ต่างสำนัก อาจจะคล้ายๆกันบางช่างอาจจะยุ่งลึกมากกว่านี้ก็เป็นไปได้ วิธีแบบนี้ เซียนที่ห้างขายพระ บางคนอาจไม่รู้เรื่องในการทำพระเมี่อสมัยโบราณผ่านมาในแต่ละยุคสมัย แต่เราก็ยังไม่พ้นเจอพระเก้ ขอบคุณครับอาจารย์สำหรับความรู้ทีแยบยล เข้าใจง่าย
อยากให้ดูเพจ "หลวงพ่อเงินวัดบางคลาน" กดไปดูเลย จะพบกับอ.เกรียง นี่ซิแน่นจริง ความรู้ถูกต้อง ชัดเจน ลองดูกันนะครับ รู้จริงเรื่องหลวงพ่อเงิน แกเป็นช่างหล่อพระ คนเมืองพิจิตร
ขอบคุณครับ
ดีครับ
ครับ
ขอบคุณครับเข้าใจเลยคับ
ยินดีครับ
ขอบคุณและขอบคุณครับ
ครับ
มาถูกทางแล้วเรา
ดีใจด้วย
หล่อแบบนี้หน้าจะเป็นยุคหลังนะครับ
ไม่หลังครับ กริ่งวัดสุทัศน์ ก็สร้างติดช่อแบบนี้ ต่างกันแค่ใส่กริ่ง
ติดตามอยู่ครับ ดีครับ
ขอบคุณครับ
รอมานานรอชมคลิปติคตามคับ
ขอบคุณครับ
ได้ความรู้ดีมากครับท่าน
ขอบคุณครับ
ยอดเยี่ยมในการวางศิลปเชิงช่าง ครับผม
เยี่ยมมากครับ
ขอบคุณครับ
จะสร้างพระที่เป็นมงคลทั้งที ไฉนต้องเอามูลขี้วัวมาผสมแล้วกรองมาทาเบ้าพิมพ์...
เคยเห็นครับมีหลายคนเลย
ได้ความรู้ดีครับ
ขอบคุณครับ
สุดยอดครับ
ขอบคุณครับ
การหล่อพระสมัยโบราณเขาจะปั้นหุ่นเทียนแล้วใช้ดินขี้วัวทาที่หุ่นเทียนแล้วใช้ดินเหนียวหุ้มหุ่นเทียนอีกทีแล้วเจาะรูด้านก้นแล้วเอาไปเผาไฟเพื่อให้หุ่นเทียนละลายเมื่อหุ่นเทียนละลายหมดเขาจะเทโลหะที่หลวมได้ที่แล้ว เทลงไป ช่อจะไม่ยาวมากนักหนาพอกับฐานใต้องค์พระที่เป็นรูสำหรับหยอดโลหะเข้าแล้วโลหะล้นออกมา นึกภาพตาม แล้วมาตะไบช่อ ไม่ได้ตัดนะครับเพราะช่อไม่ยาวเท่าไรแค่ตะไบให้เรียบเท่านั้น ตามภาพที่อาจารย์ลงให้ดูถูกต้องครับ
แบบนั้นเป็นเบ้าทุบครับ คนละอย่างกับการหล่อแบบติดช่อ จากประสบการณ์เบ้าทุบจะเป็นงานของช่างชาวบ้านเพราะใช้ฝีมือน้อยกว่าแบบติดช่อ
ให้ความรู้หล่อโบราณของบ้านช่างหล่อ(คุณยายวัน สุทัศน์ ณ อยุธยา)หล่อเป็นก้านชนวน(เดือย)ไม่ใช่หล่อเป็นช่อที่ละหลายๆองค์รวมกันนะครับถ้าเป็นช่อคือรุ่นหลังไม่ไช่บ้านช่างหล่อ หล่อให้หลวงพ่อเงิน หลวงพ่อเงินได้ไหว้วาน(จ้าง)ให้บ้านช่างหล่อ.หล่อในวาระหลวงพ่อเงินท่านอายุ๙๙ปีย่างปีที่๑๐๐ปี เพราะบ้านช่างหล่อพระสวยงาม(คุณยายวัน)ประวัติคุณยายวันท่านไปเรียนเพิ่มเติมการหล่อที่เมืองนอก เพราะอาชีพบ้านช่างหล่อคือการหล่อพระ หล่อที่วัดตองปุ(วัดชนะสงคราม)ในประจุบัน หล่อเมื่อปี พ.ศ2450 หลวงพ่อเงินท่านเกิด วันอังคารที่20เดือน9(กันยายน)พ.ศ2351ขึ้น๑คํ่าเดือน๑๑ปีมะโรง หล่อก้านชนวน(เดือย)ที่ละองค์นะครับไม่ไช่หล่อเป็นช่อครับ ผมบรรยายไว้ข้างต้น การหล่อของคุณยายวัน จะขึ้นหุ่นเทียน(ขี้ผึ้ง)แกะหุ่นขี้ผึ้งตามที่ต้องการ แล้วก็นํ้าขี้วัวที่คั้นแล้วเอาไปกรองเอาไปทาตัวหุ่นรอให้นํ้ามูลวัวแห้งถึงจะเอาดินที่ผสมนํ้ามูลวัวเอาไปพอกตัวหุ่น ที่ทานํ้ามูลวัวเพราะกลัวไปติดตัวหุ่น พระจะออกมาไม่สวยงาม พอกตัวหุ่นแล้วท่านเปิดก้นถ้วย(ตูด)ไว้เทโลหะที่ท่านหลอมละลายแล้วโลหะที่ท่านจะสำรอกหุ่นขี้ผึ้งไม่เกิน80องศาเพราะเกินกว่านี้ดินที่หุ้มตัวหุ่นจะระเบิด มาพูดเรื่องก้านชนวน(เดือย)กลมปลายแบนเอาไว้คน ไล่อากาศและตามซอกตามมุมของพระหล่อโบราณ ก้านชนวนเหมือนแท่งดินสอแต่เล็กกว่าแท่งดินสอ ท่านหล่อพร้อมกับรูปเหมือนเท่าองค์จริงที่ประดิษฐานในวัดหิรัญญาราม(บางคลาน)ทุกวันนี้ และหล่อพร้อมกับจอบใหญ่ไข่ปลา+จอบเล็กทั้ง3พิมพ์ คุณยายวัน สุทัศน์ ณ อยุธยา.ท่านหล่อให้วาระเดียวเท่านั้น หล่อเนื้อ นวะโลหะเต็มสูตร๙ชนิด มีดังนี้ ๑ชินสังฆวานร๒เจ้านํ้าเงิน(เหล็กไหล)๓เหล็กละลายตัว๔ทองแดงเถื่อน๕ปรอท๖สังกะสี๗ทองแดงบริสุทธิ์๘เงิน๙ทองคำ เนื้อแดงชมพู อมม่วง(เนื้อสวยงามมาก) พิมพ์เข้าไปดู พิมพ์ว่า รูปหล่อเท่าองค์จรริงหลวงพ่อเงินบางคลาน เข้าไปที่ Google Sites ได้สแกนให้ดูรูปหล่อที่บ้านช่างหล่อๆให้หลวงพ่อเงิน เนื้อสำริด เป็นสีของพระรัตนตรัย(พระประธาน)ภาษาพระหล่อโบราณ ยุบ เหี่ยว ย่น ต้องมีไขของหุ่นขี้ผึ้งต้องมีให้เห็นนะครับให้ความรู้ครับผม
แค่เรื่อง 80 องศา ก็แสดงถึงความไม่รู้จริง โลหะอะไรหลอมที่ 80 องศาบ้าง? แค่จุดนี้ก็จบแล้ว ไม่นับเรื่องเทโลหะลงเบ้าที่มีหุ่นเทียนแล้วหวังว่าจะสำรอกหุ่นเทียนออกมาเองได้ ไปลองทำเองแล้วจะรู้ ว่ามันสำรอกได้มั้ย ลองเอานิ้วจิ้มดินเหนียวให้เป็นรู หยดน้ำเทียนให้เต็ม แล้วเทน้ำร้อนราดลงไปดูนะครับ น้ำมันไหลนองออกนอกปากรูหรือไม่? ก็ไปลองดูเอา
@@สอนดูพระแท้ คุณเข้าใจความหมายไหมหลอมละลายมันเป็น1000องศาอยู่เขารอให้มันเย็นตัวไม่เกิน80องศาคุณเข้าใจหรือยัง ที่ผมบรรยายนะคุณ เข้าไปดูของผมหรือยังไม่ได้อุปโหลกขึ้นมา เขาเอาใส่กาทองเหลือง บ้านช่างหล่อระดับประเทศสมัยนั้นไม่ใช่สุกเอาเผากิน
@@แดงชัยวงค์-ฉ1ว อย่าดิ้นเลย ยิ่งแสดงความไม่รู้ รอให้เย็นที่ 80 องศา พูดมาได้ ตอน 80 องศา โลหะที่ใช้แข็งแล้วจะเทเข้าได้ยังไง อีกอย่างนึง เอาอะไรมาวัดอุณหภูมิ? ความรู้ผิด ก็ไม่ต้องตามไปดูครับ เสียเวลา มีแต่เรื่องคาดเดา
พิมพ์ขี้ตาหล่อทีละองค์แบบพิมพ์ประกบ(เทหยด)ที่ก้น...ก้นพระพิมพ์ขี้ตาจึงมีพื้นเป็นหลุมเป็นบ่อ....พิมพ์นิบมเหรียญจอบก็ใช้พิมพ์ประกบแต่เป็นการติดก้านชนวน...ก้นพระมีรอยตัดแล้วแต่งจะไป...ไม่แปลกที่พระจะเทออกมาเป็นช่อแต่ที่แปลกคือคงไม่มีพระสภาพเดิมๆหลงเหลือเยอะแยะขนาดนี้ตระกูลผมคนพิจิตรดังเดิมไม่เคบเจอแบบที่ไอบ้านั้นมันอ้างหรอกชครับปล่อยมันบ้าไปครับ....หลวงพ่อเงินต้องแยกการสร้างเป็น2แบบครับ
การมีรอยตะเข็บข้างในงานหล่อ ไม่จำเป็นต้องหล่อประกบครับ หล่อติดช่อก็มีรอบตะเข็บได้ มันอยู่ที่ว่า หุ่นเทียนที่นำมาติดช่อมีรอยประกบหรือไม่ รอยตะเข็บของการหล่อเบ้าประกบมันเกิดจากเบ้าหน้าหลังที่มีรอยประกบ จะแตกต่างจากตะเข็บที่เป็นมาจากในหุ่นเทียน ส่วนพิมพ์ขี้ตามีได้ทั้งแบบประกบและแบบเบ้าทุบครับ วิธีการหล่อแบบช่างโบราณมันมีหลายอย่่างไม่ได้มีแค่หล่อติดช่อกับหล่อประกบครับ
มีอยู่ แต่เอาน้ำส้มสายชูไปล้างองค์แล้วครับ ไม่ขาย เก็บไว้บูชา แรกๆก็สีองค์พระแบบนี้ครับ
อย่าทำแบบนั้น ผิวเสียหมด
ผมมีองค์จริงๆแท้ๆเลยครับ
เคยหล่อแหวนติดช่อแบบนี้แหระครับ
คนทำพระเก้เขาก็รู้วิธีหล่อแบบโบราณครับ เขาก็ทำเก้แบบโบราณนี่แหละ
จึงต้องดูเรื่องอื่นด้วยไงครับ วิธีผิดก็ตกรอบไปเลย
กก้ไอ้เปตนรกต้วเหีัยชื่อไอ้ใหย่ชินบ้นชรใงม้นมีเปนช่อๆเต่มบ้านของม้นทีร้านม้นใงร้านๆๆใอ้ใหย่ชชินบ้นชรทีนครนายกใอ้เปตนรกม้นมีเยอะพะปอมพะเก้ๆเตมบ้านม้นเรย5555โสโครกมากเชินใปดุทีร้านม้นนะ
ใครทำอะไรไว้ กรรมย่อมสนองในวันหนึ่งครับ
5555
การแต่งหุ่นเทียนด้วยไม่เสนียด อาจจะต้องแต่งที่ใบหน้าตา และปาก ด้วยใช่ไหมครับ ถ้ามีการแต่งที่ใบหน้า.. เป็นไปได้ไหมที่หน้าตาพระที่หล่อเสร็จอาจต่างกัน
ใช่ครับ ถ้าหุ่นเทียนไม่ชัด ก็จะมีการแต่ง
สอนความเชื่ออีกแล้ว
เก่ง ก็ ทำคลิปเอง
ทาชั้นแรกนั่นแหละเขาเรียกดินนวลครับ ต่อจากดินนวลคือดินอ่อน ต่อไปอีกชั้นคือดินแก่
การเรียกชื่อแต่ละช่างต่างกันครับ
ขออนุญาตรบกวนไห้ดูพระได้ไหมครับ ติดต่อได้ทางไหนครับ
คลิปของ อ.จารย์ปฎิบัติให้ดูเลยชัดเจนมากลองหาดู
ครับ
สมัยก่อนเขาใช้อะไรตะไบพระค่ะ
ใช้ตะไบครับ
ข้อสงสัยของผม...ทำไมจึงไม่เคยเห็นช่อก้างปลา/ถ้าเป็นช่อก้างปลาต้องมีมุมเฉียงที่รอยตัด...ในหลักการเดียวกัน...ถ้าเราละลายน้ำขี้วัวใส่ไหแล้วเอาหุ่นเทียนจุ่มทำซ้ำๆเหมือนการทาด้วยแปลงจะง่ายกว่ามั้ย...การเข้าดินเบ้าก็ใช้วิธีเดียวกันแค่ละลายดินให้เหลวแล้วใส่กระบอกไม้ไผ่...สมมุติ...แล้วรอให้เซ็ตตัว...และอีกมากมายหลายวิธี...แล้วแต่เชิงช่างในแต่ล่ะพื้นที่...เราอย่าลืมว่าเมื่อก่อนช่างไม่มีโรงเรียนสอน...อาศัยการสืบทอดกันมาเป็นรุ่นๆ....แต่ล่ะพื้นที่การทำเลยไม่ค่อยจะเหมือนกัน...ในมุมของผมยังมองว่าการหล่อช่อเป็นพุ่มก็ยังไม่ได้เก๊ซะทีเดียว...แต่ถ้ามาช่อล่ะเป็น100องค์ก็ไม่น่าจะเป็นไปได้...
ลองทำดู ก็จะรู้เอง ว่ามันตัดมาเฉียงมั้ยครับ เรื่องจุ่มดินขี้วัว มันก็มีเหตุผล ว่าทำไมเค้าไม่ทำแบบนั้นกัน ไม่มีช่างที่ไหนทำแบบนั้นหรอกครับ ไม่งั้นกริ่งวัดสุทัศน์ที่เค้าสืบทอดกันมาก็คงจุ่มดินขี้วัวไปแล้ว ไม่ใช่ดินอะไรก็ได้ที่จะเอามาผสมทา นั่นเป็นอีกเหตุผลว่าทำไมเดี๋ยวนี้แทบไม่มีคนทำแล้ว อธิบายได้เท่านี้ หลายอย่างก็ไม่มีเหตุผลผลต้องนำเสนอ แค่ที่ทำให้ดูก็มากพอจะแยกพระเก๊ได้ระดับธรรมดาได้แล้ว
ใช้ครับแต่เข้าไม่ได้บอกทุกคน
ความรู้บางอย่าง ต้องแสวงหาครับ หลายอย่างมันใช้หากินจึงไม่มีใครบอก
ผมมีอยุ่,2องค์อยากทราบว่าจะให้ดุได้อย่างไรครับ
อธิบายไม่ถูกครับ ดินนวลคือขี้วัวผสมชันที่อยู่ในขันนั่นและครับ ส่วนดินเหนียวสีดำคือดินอ่อน จากดินอ่อนต่อไปก็พอกดินหยาบเป็นชั้นที่ 3
คลิปที่ผมดูวิธีการสร้างพระกริ่งผมก็ดูครับ
มีของเก๊ที่ทำแบบนี้บ้างมัยครับ
มีครับ กระบวนการถูก ก็ต้องดูส่วนอื่นประกอบด้วยครับ
รับเช่าไหมครับ อาจารย์
รับ มาชั้นสาม งามวงศ์วาน ร้านที่สองขวามือบันได ป้ายสีทอง
แล้วเบ้าเทละคับ
เย้าเทกับเบ้าทุบคล้ายกัน ก้นไม่มีก้านช่อ
ต้องเรียนโลหะวิทยาหรือปล่าว ? เจอปลอมเก่าจะได้หงายเก๋ง !!!??!
มีเวลาก็ไม่เรียนครับ
ตะบันมากยังเรียกไม่ถูกเลย 55 อ.ไรวะ
ตะบันหมากยังพิมพ์ไม่ถูกเลย เรียนจบอะไรมาวะ?
ขอบคุณครับกับข้อมูลที่ดี ครับ
ขอบคุณมากที่ให้ความกระจ่างแก่วงการ
ยินดีครับ
คงไปกระทบแก็งลวงโลกในอดีตใช่ไหมครับ
นิดนึงครับ
มีคนบ้าหลายคนครับที่ทำช่อหล่อโบราณมันบ้าครับ😹😹😹🙏🙏🙏
วิธีการหล่อมันมีมากมาย ยิ่งช่างชาวบ้าน เน้นง่ายเข้าว่าทั้งนั้น ในมุมนึงช่อมันคือความสิ้นเปลืองวัสดุ วิธีง่ายกว่านั้นก็พอมี
พระสมัยก่อนพิถีพิถันมากยิ่งเป็นพระกริ่งพระผงนี่การทำยุ่งยากมากเลยถ้าเป็นผงนี่บางสำนักมีการเขียนผงเป็นอักขระแล้วลบในนึกถึงชอร์คในโรงเรียนนั่นแหละครับเขียนกว่าจะได้ผงจำนวนจึงได้น้อยมากเพราะเน้นการทำมวสารมากถ้าเป็นพระกริ่งโบราณเขียนยันต์ยันต์เดียวสามเดือนเขียนลบเขียนลบจนครบร้อยแปดครั้งมียันต์ต่างๆมากมายและวิธีการทำยุ่งยากมากผมเคยเห็นตำราการทำพระมีเป็นแสนเป็นล้านองค์ต้องทำอย่างน้อยสิบชาติ
ขี้วัวเขากรองแล้วไม่น่ามีเศษหญ้านะครับ
ลองทำแล้วจะรู้
หล่อแบบนี้หลวงพ่อเงินรุ่นปืนแตกปี2528คับ
พิมพ์นิยมที่คุณยายวรรณสร้างก็แบบนี้
@@สอนดูพระแท้ ผมได้หลวงพ่อเงินมาองค์นึงคับสีแบบนี้แหละคับ เมื่อวานเอามาลองส่องดู มีรอยแตกออกเป็นเกร็ด2-3จุดผมเลยลองเอาเหรียญสิบบาทเคาะเบาๆดูกะเท๊าะออกเห็นเนื้อด้านในเป็นทองวาวๆผมมั้นใจไม่ใช่ทองเหลืองแน่ หลวงพ่อเงินเคยสร้างเนื้อทองคำรึป่าวคับ
ไม่มีครับ
สุดเลยครับอาจารย์ผมโง่มานานกระจ่างวันนี้เองขอบคุณครับ
การหล่อมันมีอีกหลายวิธีการครับ ช่อที่เห็นไม่จำเป็นต้องเข้าช่อก็ได้
รุปหล่อลพเงินวัดห้วยเขนทันลพเงินสร้างจิงริ่อม่คับท่าน
ส่วนตัวนะ คิดว่าทันยุคปลายครับ
ขอบคุณครับละเอียดมากเลยได้รับความรู้มากขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
อาจารย์ครับรบกวนช่วยดูให้องค์ได้ไหมครับพอดีเป็นของมรดกตกทอดผมเพิ่งล้างมาครับยังไงช่วยชี้แนะด้วยนะครับขอบพระคุณอาจารย์มาก
สวยมากๆชอบการสอนดีมากๆละเอียดดีเข้าใจง่ายๆ
ขอบคุณคับ
อาจารย์สอนดีมากเลยครับการหล่อพระหลวงพ่อเงินครับเข้าใจง่ายด้วยครับรายละเอียดเยี่ยมเลยครับขอบคุณมากนะครับผมชอบรูปหล่อหลวงพ่อเงินมากเลยครับสุพรรณครับ
ผมอภิชาติมีความคิดเห๊นวา่ต้องไปหย่าวรรณครับ
สมัยโบราณทำแบบนี้ไม่ได้ครับชิดกันเกินไปพอกดินเบ้าไม่ได้ครับ