ทันโลกทันธรรม | พึงวิจัยธรรมให้ลึกซึ้งถึงต้นเค้า | ท่าน ว. วชิรเมธี

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 18 มิ.ย. 2014
  • ข้อมูลข่าวสารมากมายมหาศาล เราจะเชื่อถือหรือคัดกรองได้อย่างไร? พร้อมเรื่องราวของหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ตัวอย่างของผู้ที่วิจัยธรรมจนถึงต้นเค้าแห่งความรู้ ปฎิบัติและเข้าถึงแก่นแท้ในทุกเรื่อง
    ...
    ย้อนรับชม การสนทนาธรรมถึงความเป็นไปทางโลก ในหัวข้อ "โยนิโส วิจิเน ธมฺมํ พึงวิจัยธรรมให้ลึกซึ้งถึงต้นเค้า"
    เมตตาขยายธรรมโดย ท่าน ว.วชิรเมธี
    จากช่วง ทันโลกทันธรรม : โครงการสามเณร ปลูกปัญญาธรรม ปี 3
    ....
    ติดตามชมย้อนหลังรายการ สามเณรปลูกปัญญาธรรม ได้ที่ :
    ▶️ เว็บไซต์ : www.truelittlemonk.com
    ....
    ติดตามข่าวสารได้ที่ :
    ▶️ เฟซบุ๊ก สามเณรปลูกปัญญาธรรม :
    / truelittlemonkthailand
    ....
    Podcast ฟังง่าย เข้าใจธรรม :
    🎧 Podcast "True Little Monk Podcast" :
    / truelittlemonk
    ....
    #ววชิรเมธี #สื่อธรรมPodcast #สามเณรปลูกปัญญาธรรม

ความคิดเห็น • 27

  • @user-mc6gr5fx6u
    @user-mc6gr5fx6u 4 ปีที่แล้ว +1

    สาธุๆคับผม​ น้อมรับคับผม​ เพื้อปรับใช้ในชีวิตประจำวันคับผม​ สาธุคับผม

  • @user-bi7km8yw6v
    @user-bi7km8yw6v ปีที่แล้ว +1

    กราบนมัสการพระอาจารย์

  • @WavePhone-ny6xo
    @WavePhone-ny6xo 4 ปีที่แล้ว

    อยากมีพระเหมือนท่านหลายๆองค์จะใด้ไปสอนคนทีไม่เข้าใจธรรมะบางคนทำบุญทุกวัดไปเกือบทุกที่ใส่บาตรทุกวันแต่จิตใจเห์นมีแต่กิเลสอายุ70 80แล้วไม่ปล่อยวางจิตใจไม่เมตตา

  • @jitprapalight9530
    @jitprapalight9530 7 ปีที่แล้ว +1

    ขอกราบอนุโมทนาสาธุบุญธรรมดว้ยเจ้าคะ สาธุสาธุสาธุอนุโมทามิ

  • @PuyMhawech
    @PuyMhawech 9 ปีที่แล้ว +1

    กราบนมัสการท่านว.วชิรเมธีครับ

  • @SamSung-zq7pk
    @SamSung-zq7pk ปีที่แล้ว

    น้อมกราบพระอาจารย์ววชิรเมธีด้วยความเคารพครับ

  • @user-fb6si3oy6w
    @user-fb6si3oy6w 9 ปีที่แล้ว +1

    ผมชอบมากเลยครับได้รับข้อคิดที่เป็นประโยชมาก สาธุครับ

  • @surinwinitsorn5836
    @surinwinitsorn5836 8 ปีที่แล้ว +2

    ธรรมอยู่ในใจเสมอค่ะ

  • @gookid
    @gookid 10 ปีที่แล้ว +2

    ช่วงทันโลกทันธรรมมีประโยชน์ทุกตอนเลยครับ ชอบมาก อยากให้ทีมงานลงให้ครบครับ

  • @Bee-lb3lz
    @Bee-lb3lz 9 ปีที่แล้ว +1

    สาธุค่ะ

  • @isabellajohansson105
    @isabellajohansson105 8 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @zaiysmall6834
    @zaiysmall6834 9 ปีที่แล้ว +1

    ອະທິບາຍໄດ້ສຸດຍອດ

  • @kungkung9567
    @kungkung9567 6 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ

  • @friendlysingtong6597
    @friendlysingtong6597 9 ปีที่แล้ว +1

    ดี

  • @user-pq3qf2iw5k
    @user-pq3qf2iw5k 8 ปีที่แล้ว +1

    ดีมากค่ะ

  • @eravaninthiphab7403
    @eravaninthiphab7403 8 ปีที่แล้ว

    ยากรุ้,อีกทีนาง่กำมะถานเรัดจังได,,,พระอาจาน

  • @BioheartDarkLight
    @BioheartDarkLight 9 ปีที่แล้ว

    ผมฟังข้อ 6 แล้วแปลก ๆ อะครับ อย่าเชื่อเพราะเข้ากับความเห็นของตน เนี่ยครับ คือ ใช่ มา ทิฏฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา หรือเปล่าครับ
    ผมแปลไม่ออกหรอกครับ แต่ผมตีความไว้ว่า อย่าเชื่อเพราะความคิดเห็นของเราตรงกับความคิดเห็นของเขาอ่ะครับ
    คือยังไงดี ประมาณว่าแบบ ถ้าผมคิดว่า โหลดเกมฟรีมาก็เล่นได้ไม่เห็นต้องซื้อเกมแท้มาเล่นเลย คนที่ซื้ออะโง่ แล้วก็มีคนมาให้ความคิดเห็นแบบเนี่ย ประมาณเนี่ย แล้วเราก็เชื่อว่า สิ่งเนี่ยถูกต้องแล้วอะไรประมาณนี้อะครับ
    แบบนี้เหมือนหรือต่างกับที่ท่านพระอาจารย์ว่า นักการเมืองเห็นม็อปแล้วคิดว่ามีเบื้องหลัง หรือเปล่าครับ หรือเป็นอย่างเดียวกัน หรือผมตีความได้ยังไม่ชัดพอ
    ผมไม่รู้จักถามพระอาจารย์ยังไงดี ฝากถามไว้ทางคอมเม้นท์ด้วยนะครับผม ขอบคุณมาก
    ปล. ผมไม่ได้จะสื่อว่าพระอาจารย์สอนไม่ดี ตีความผิดนะอย่างไรนะครับ เพราะ หน้าที่เผยแพร่ธรรมเป็นของพระอาจารย์อยู่แล้วครับ แต่หน้าที่แทงตลอดธรรมเป็นหน้าที่ของผมเอง ซึ่งผมไม่เข้าใจเรื่องนี้ผมจึงลองถามดูครับ ขอบคุณครับ

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu 3 ปีที่แล้ว

      หลักทั้ง10ข้อนี้เรียกว่า กาลามสูตร” (กา-ลา-มะ-สูด) เป็นพระสูตรที่พระพุทธเจ้าได้สอนชาวกาลามะ ซึ่งอยู่อาศัยอยู่ที่เกสปุตตนิคม (เก-สะ-ปุด-ตะ-นิ-คม) ในพระไตรปิฎกจึงเรียกว่า "เกสปุตตสูตร” ตามตำบลที่อยู่ที่พระองค์ทรงสอน แต่คนทั่วไปมักเรียก "กาลามสูตร” ตามสกุลของผู้อาศัยที่นั่นคือ "ชาวสกุลกาลามะ” เพราะจำได้ง่ายกว่า พระสูตรนี้แม้จะตรัสสอนไว้ตั้งสองพันกว่าปีก่อน แต่เนื้อหาก็มีความลึกซึ้ง ชวนให้คิดตาม เพราะประกอบด้วยเหตุและผลที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงตามที่กล่าวไว้

    • @Ample-pj8lu
      @Ample-pj8lu 3 ปีที่แล้ว

      ไม่ใช่อย่าเชื่อเลย
      แต่อย่าเพิ่งเชื่อจนกว่าจะได้พิจารณาอย่างลึกซึ้งให้ถึงต้นเค้า เพราะความเห็นของตนเองก็อาจจะผิดได้ เนื่องจากคนเรามักตีความตามประสบการณ์เดิม ตามความเชื่อเดิมของตนที่ถูกปลูกฝังมายาวนาน ซึ่งอาจจะผิดก็ได้