เรียนต่อไหนดี: พี่เปา วิศวะ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 25 ก.ค. 2023
  • ติดตามเรียนต่อไหนดีได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้เลย
    Fb : WhereyouGo
    IG : reantornhaid

ความคิดเห็น • 8

  • @thinnaphatsaengkla774
    @thinnaphatsaengkla774 9 หลายเดือนก่อน

    อยากให้พี่ทำคลิป ( อยากเข้าคณะนี้ต้องรู้ I การตลาด ) หน่อยคับหาดูที่ไหนไม่ค่อยมีเลยคับ

  • @user-mk4rt8wt9s
    @user-mk4rt8wt9s 9 หลายเดือนก่อน

    อยากให้พี่เตยไปสัมภาษณ์เด็กTU-PINEบ้างนะคะ

  • @mamaejang2970
    @mamaejang2970 7 หลายเดือนก่อน

    ที่ มธ รังสิต มีภาควิชาไรบ้างคะ ของ siit

  • @ineedburger.
    @ineedburger. 9 หลายเดือนก่อน

    พี่เตยเรียนจบคณะอะไรมาหรอคะ

  • @user-dy4nm9br8p
    @user-dy4nm9br8p 3 หลายเดือนก่อน +1

    หลักสูตรไทย ยากกว่าลงลึกกว่า แต่ของฝรั่งง่ายกว่า กลับเป็นชาติที่เจริญ ริเริ่มที่สุดในโลก

    • @hippoyofficial7550
      @hippoyofficial7550 2 หลายเดือนก่อน

      เพราะฝรั่งกล้าคิดกล้าทำ กล้าเสี่ยง

  • @tooksapek2246
    @tooksapek2246 10 หลายเดือนก่อน

    ตกลง SIIT คือธรรมศาสตร์หรือเปล่า
    เท่าที่เข้าใจคือแค่เช่าที่ธรรมศาสต์
    แต่ไม่ใช่คณะวิศวของธรรมศาสตร์
    เพราะธรรมศาสตร์ก็มีคณะวิศวะ
    ทั้งภาคไทยและภาคอินเตอร์
    สรุปคือยังไงกันแน่ ???

    • @somsakkul6589
      @somsakkul6589 9 หลายเดือนก่อน +4

      สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[1] ซึ่งเปิดสอนในด้านวิศวกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งหมด 9 สาขาวิชา การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นหลักสูตรนานาชาติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ผู้จบการศึกษารับปริญญาจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
      เอสไอไอทีมักเป็นที่รู้จักเรียกขานทั่วไปว่า "วิศวะอินเตอร์ ธรรมศาสตร์" เนื่องจากเดิมเป็นโครงการหนึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์ก่อนจะตั้งเป็นสถาบัน แต่ขณะนี้คำเรียกนี้อาจทำให้สับสนได้ เนื่องจากในปัจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็มีโครงการภาคภาษาอังกฤษอีกโครงการหนึ่ง (รู้จักกันในชื่อ "วิศวะสองสถาบัน") ชาวธรรมศาสตร์นิยมเรียกเอสไอไอทีสั้น ๆ ว่า "เอสไอ"
      เอสไอไอทีเปิดสอนทั้งในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาโดยเน้นการศึกษาแบบใช้การวิจัยเป็นตัวนำ[2] อาจารย์ประจำทั้งหมดมีวุฒิอย่างน้อยระดับปริญญาเอก[3][4] ในการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 เอสไอไอทีเป็นคณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียงแห่งเดียวของประเทศที่ได้รับการจัดระดับสูงสุด "ดีมาก" จากทั้ง 3 ตัวชี้วัด สถาบันฯ เป็น 1 ในสถาบันอุดมศึกษา 4 แห่งของประเทศ ที่ได้รับมอบทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนนักเรียนที่สนใจศึกษาต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับอุดมศึกษา โดยทุนนี้จะมอบให้แก่นักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์ (โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย) เพื่อศึกษาต่อและทำงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทช.[5] สถาบันเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม[6]