พัดลมเพดาน การแก้ไข ประยุกต์ ดัดแปลง สวิตซ์ให้เหมาะสมกับกำลังมอเตอร์

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 16 พ.ค. 2021
  • พัดลมเพดาน การแก้ไขปัญหา ประยุกต์ ดัดแปลง สวิตซ์ให้เหมาะสมกับกำลังมอเตอร์ ทั้งสวิตซ์แบบคาปาซิเตอร์ และสวตซ์แบบโช๊คขอลวด ความเข้าใจหลักการทำงานของสวิตซ์พัดลมเพดานทั้ง 2 แบบ

ความคิดเห็น • 6

  • @sawitjeepech8510
    @sawitjeepech8510 2 ปีที่แล้ว +2

    อธิบายละเอียดดี ครับ เป็นกำลังใจให้ครับ

  • @user-nd8zj2yx3i
    @user-nd8zj2yx3i ปีที่แล้ว

    เยี่ยมมากครัย ชัดเจน ครบถ้วนครับ🎉

  • @slide...8627
    @slide...8627 7 หลายเดือนก่อน

    ชอบครับใด้ความรู้🎉

  • @user-vp6ii9ew5b
    @user-vp6ii9ew5b 2 ปีที่แล้ว +1

    อารย์ครับ ค่าแคปอนุกรมแล้ว
    สวิทซ์ เบอร์ 3 ได้ค่า 3.3 พอได้ไหมครับ(เห็นบอกว่าไม่เกิน 2)

    • @saosang1000
      @saosang1000  2 ปีที่แล้ว +1

      หลักการต่อแคป หรือคาปาซิเตอร์ของมอเตอร์ ถ้าC 3 uF ที่ตัวมอเตอร์ต่ออนุกรมกับC 3 uF ที่สวิตซ์เปิดจะลดค่าลงครึ่งหนึ่ง ค่าC รวมที่ใช้ขับมอเตอร์จะเหลือC 1.5 uF ในตำแหน่งเบอร์ 3 ที่เร็วสุดที่สวิตซ์จะไม่ผ่าน C คือต่อตรง ดังนั้นค่าC ที่ใช้ขับมอเตอร์ เท่ากับค่าCที่อยู่มอเตอร์ตามค่านั้น เหมือนพัดลมตั้งพื้นทั่วไป ถ้าใช้ C ค่าสูงเกินไปแรงบิดจะสูงในเบอร์3 มอเตอร์จะร้อนใหม้ได้ ในทางกลับกัน C 3 uF ต่อขนานกับC 3 uF ค่าC รวมจะสูงเท่าตัว คือC = 6 uF ใช้ในกรณีเพิ่มค่า C ที่ต้องการครับ

  • @johnwick9491
    @johnwick9491 7 หลายเดือนก่อน

    ชัดเจน