ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ไตปลาด้วยอีกอย่างค่ะ โอ้ยยยย มีแต่ของอร่อย 😂😂😂 หิวเลยยยย 😂😂😂
ที่ผมรู้เกลือทะเลทำปลาร้าไม่ได้ ดีสุดคือเกลือสินเธาว์ต้ม ส่วนที่มันตกตะกอนจนเป็นแผ่นหนา นำมาตำให้ละเอียดก่อน ปลาร้าจะอร่อยและไม่เน่า มันจะค่อยๆเปลื่อย ปลาเก็ดก็ราวๆ8-12ก็กินได้ ส่วนปลาหนังปีหรือสองสามปีจะยิ่งอร่อย แต่ที่แน่ๆปลาปักเป้านำ้จืดกินสดจะเป็นพิษ แต่พอหมักเป็นปลาร้า จะกินได้ บ้านผมอยู่ริมแม่นำ้สงคราม ตอนเป็นเด็กพ่อผมหมักปลาร้าปีละ 20-30โอ่งมังกร สมัยนั้น12กิโลเรียกว่าหมื่น ขายหมื่นละ30
โซนพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช ยังมีกะปิที่ทำมาจากปลาด้วยครับ คนในพื้นมักเรียกว่า เคยปลา
เป็นเสวนาที่ฟังดึก ๆ ไม่ไหว หิววววว
คนใต้เรียก น้ำเคยปากไห หอมอะหร่อยมาก หรือจะเอามะม่วงขบเผาะมาจิ้ม กิน.....?
สมัยก่อนพ่อแม่เคยทำเอง หมักเสร็จไรเสร็จเปิดไหไม่มีใครกินน้ำมันดำปี้เลย ไม่รุ้พลาดตรงไหนหรือต้องมาเจือปนน้ำแล้วกรองใหม่อีกหน่อยรึเปล่าถึงเหมือนน้ำปลาสมัยนี้😅
อยู่ที่แดด ถ้าได้แดดดี น้ำปลาจะไม่ดำ เค้าเรียกว่าสุกแดด
ต้องเอาไปสะเอาะก่อนครับ แล้วตากแดด สีจะสวย
สนุกมากๆ หิวเลย
คนภาคกลางบริโภคปลาร้า แต่ดัดแปลงเสียจนแทบไม่เหลือเค้าปลาร้าเลย คือถ้าไม่จมูกดีจริงๆจะไม่ได้กลิ่นปลาร้า อาหารที่ว่านี้ที่คุ้นๆ ก็จะเป็นหลนปลาร้า กับแกงปลาร้า(หรือปลาร้าทรงเครื่อง) หลนจะเป็นน้ำข้น กินกับผัก สวนแกงจะมีน้ำขลุกขลิก มีปลาดุกกับผักหลายชนิดต้มด้วยกัน ปลาร้าที่นำมาทำแกง จะใช้ปลาเป็นตัวหรือเป็นชิ้นและน้ำปลาร้ามาต้มจนยุ่ยกรองเอาก้างออก แล้วเอาน้ำที่ต้มนี้ไปแกง ทั้งหลน และแกงจะมีเครื่องเทศและสมุนไพรหลายชนิดเป็นเครื่องผสม ไม่ได้กลิ่นปลาร้าเลยผมมีความเห็นแย้งวิทยากรที่ว่าน้ำปลาเป็นผลพลอยได้ของการทำปลาร้า และกะปิ เพราะการทำน้ำปลานั้นเป็นเจตนาที่จะทำน้ำปลาโดยเฉพาะ เหตุคือวัตถุดิบของน้ำปลา(ดั้งเดิม)คือปลาสร้อย เป็นปลาน้ำจืดตัวเล็ก จะมีเป็นฤดูให้จับ เอามาหมักเกลือ(ยายเคยเล่าแต่จำไม่ได้ว่านานแค่ไหน อาจเป็นปี) น้ำแรกเป็นหัวน้ำปลา เรียกว่าน้ำปลาดี สีเหลืองอ่อน ใสมากและเค็มน้อย ส่วนที่เหลือจะเติมเกลือเอามาต้มเป็นน้ำปลาแกง เค็มกว่า น้ำหมักปลาร้ามีกลิ่นไม่นิยม ส่วนการหมักกะปิ มีน้ำหมักน้อยไม่พอกินหรอก
หนังสือบันทึก ลาลูแบร์ ของฝากเพื่อน กะปิ น้ำปลา อ้อ ทำงานที่มาเลย์ น้ำปลา มีขายเฉพาะของไทย คือ ตราปลาหมึก ทิพรส แสดงว่า คนไทย ชอบกินน้ำปลา มากๆ
พระพุทธเจ้าหลวง ร.5 สวรรคตด้วยโรควักกะ(ไต)พิการ สมัยนั้นวิทยาการทางการแพทย์อาจยังไม่รู้สาเหตุ
ขอแย้งในคำที่อ.สุจิตว่าถ้าเน่าแล้วอร่อยนั้นไม่เป็นความจริง ถ้าปลาร้าเน่าคือมันไม่พอเกลือต้องเอาทิ้งครับ ปลาร้าที่ดีต้องหมักเกลือให้พอดีถึงอร่อยไม่เน่า
ปลาร้าที่หมักมันไม่เน่าเหรอครับ มันคงสภาพปลาเหมือนเดิมเหรอ?
@@Johnnonlen995 เราเข้าใจคำว่าเน่าต่างกัน...ถ้าใส่เกลือเยอะตัวปลาจะแข็ง ใส่เกลือน้อยตัวปลาจะอ่อนไปทางเน่าเสีย ปลาร้าจะมีหลายเกรด ถ้าปลาร้าที่เกือบเน่าแต่ไม่ถึงกับเน่าเรียกปลาแดกต่วง มีกลิ่นแรงกว่าชนิดอื่นนิยมเอาไปตำส้ม ถ้าเน่าเกินไปกว่านี้ก็ทิ้งกินไม่ได้
นักวิชาการ 2 ท่านไม่เห็นจะพูดถึงปลาร้าเลย ปลาร้า ข้าวเหนียว...............
มีอีก 2 ครับ น้ำปูทางเหนือ 1 น้ำบูดูภาคใต้ 1
ไตปลาด้วยอีกอย่างค่ะ โอ้ยยยย มีแต่ของอร่อย 😂😂😂 หิวเลยยยย 😂😂😂
ที่ผมรู้เกลือทะเลทำปลาร้าไม่ได้ ดีสุดคือเกลือสินเธาว์ต้ม ส่วนที่มันตกตะกอนจนเป็นแผ่นหนา นำมาตำให้ละเอียดก่อน ปลาร้าจะอร่อยและไม่เน่า มันจะค่อยๆเปลื่อย ปลาเก็ดก็ราวๆ8-12ก็กินได้ ส่วนปลาหนังปีหรือสองสามปีจะยิ่งอร่อย แต่ที่แน่ๆปลาปักเป้านำ้จืดกินสดจะเป็นพิษ แต่พอหมักเป็นปลาร้า จะกินได้ บ้านผมอยู่ริมแม่นำ้สงคราม ตอนเป็นเด็กพ่อผมหมักปลาร้าปีละ 20-30โอ่งมังกร สมัยนั้น12กิโลเรียกว่าหมื่น ขายหมื่นละ30
โซนพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช ยังมีกะปิที่ทำมาจากปลาด้วยครับ คนในพื้นมักเรียกว่า เคยปลา
เป็นเสวนาที่ฟังดึก ๆ ไม่ไหว หิววววว
คนใต้เรียก น้ำเคยปากไห หอมอะหร่อยมาก หรือจะเอามะม่วงขบเผาะมาจิ้ม กิน.....?
สมัยก่อนพ่อแม่เคยทำเอง หมักเสร็จไรเสร็จเปิดไหไม่มีใครกินน้ำมันดำปี้เลย ไม่รุ้พลาดตรงไหนหรือต้องมาเจือปนน้ำแล้วกรองใหม่อีกหน่อยรึเปล่าถึงเหมือนน้ำปลาสมัยนี้😅
อยู่ที่แดด ถ้าได้แดดดี น้ำปลาจะไม่ดำ เค้าเรียกว่าสุกแดด
ต้องเอาไปสะเอาะก่อนครับ แล้วตากแดด สีจะสวย
สนุกมากๆ หิวเลย
คนภาคกลางบริโภคปลาร้า แต่ดัดแปลงเสียจนแทบไม่เหลือเค้าปลาร้าเลย คือถ้าไม่จมูกดีจริงๆจะไม่ได้กลิ่นปลาร้า อาหารที่ว่านี้ที่คุ้นๆ ก็จะเป็นหลนปลาร้า กับแกงปลาร้า(หรือปลาร้าทรงเครื่อง) หลนจะเป็นน้ำข้น กินกับผัก สวนแกงจะมีน้ำขลุกขลิก มีปลาดุกกับผักหลายชนิดต้มด้วยกัน ปลาร้าที่นำมาทำแกง จะใช้ปลาเป็นตัวหรือเป็นชิ้นและน้ำปลาร้ามาต้มจนยุ่ยกรองเอาก้างออก แล้วเอาน้ำที่ต้มนี้ไปแกง ทั้งหลน และแกงจะมีเครื่องเทศและสมุนไพรหลายชนิดเป็นเครื่องผสม ไม่ได้กลิ่นปลาร้าเลย
ผมมีความเห็นแย้งวิทยากรที่ว่าน้ำปลาเป็นผลพลอยได้ของการทำปลาร้า และกะปิ เพราะการทำน้ำปลานั้นเป็นเจตนาที่จะทำน้ำปลาโดยเฉพาะ เหตุคือวัตถุดิบของน้ำปลา(ดั้งเดิม)คือปลาสร้อย เป็นปลาน้ำจืดตัวเล็ก จะมีเป็นฤดูให้จับ เอามาหมักเกลือ(ยายเคยเล่าแต่จำไม่ได้ว่านานแค่ไหน อาจเป็นปี) น้ำแรกเป็นหัวน้ำปลา เรียกว่าน้ำปลาดี สีเหลืองอ่อน ใสมากและเค็มน้อย ส่วนที่เหลือจะเติมเกลือเอามาต้มเป็นน้ำปลาแกง เค็มกว่า น้ำหมักปลาร้ามีกลิ่นไม่นิยม ส่วนการหมักกะปิ มีน้ำหมักน้อยไม่พอกินหรอก
หนังสือบันทึก ลาลูแบร์ ของฝากเพื่อน กะปิ น้ำปลา อ้อ ทำงานที่มาเลย์ น้ำปลา มีขายเฉพาะของไทย คือ ตราปลาหมึก ทิพรส แสดงว่า คนไทย ชอบกินน้ำปลา มากๆ
พระพุทธเจ้าหลวง ร.5 สวรรคตด้วยโรควักกะ(ไต)พิการ สมัยนั้นวิทยาการทางการแพทย์อาจยังไม่รู้สาเหตุ
ขอแย้งในคำที่อ.สุจิตว่าถ้าเน่าแล้วอร่อยนั้นไม่เป็นความจริง ถ้าปลาร้าเน่าคือมันไม่พอเกลือต้องเอาทิ้งครับ ปลาร้าที่ดีต้องหมักเกลือให้พอดีถึงอร่อยไม่เน่า
ปลาร้าที่หมักมันไม่เน่าเหรอครับ มันคงสภาพปลาเหมือนเดิมเหรอ?
@@Johnnonlen995 เราเข้าใจคำว่าเน่าต่างกัน...ถ้าใส่เกลือเยอะตัวปลาจะแข็ง ใส่เกลือน้อยตัวปลาจะอ่อนไปทางเน่าเสีย ปลาร้าจะมีหลายเกรด ถ้าปลาร้าที่เกือบเน่าแต่ไม่ถึงกับเน่าเรียกปลาแดกต่วง มีกลิ่นแรงกว่าชนิดอื่นนิยมเอาไปตำส้ม ถ้าเน่าเกินไปกว่านี้ก็ทิ้งกินไม่ได้
นักวิชาการ 2 ท่านไม่เห็นจะพูดถึงปลาร้าเลย ปลาร้า ข้าวเหนียว...............
มีอีก 2 ครับ น้ำปูทางเหนือ 1 น้ำบูดูภาคใต้ 1