ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
หาตั้งนาน อธิบายดีมากเลยครับ
ช่องเล็กๆ ต้องค้นถึงจะเจอแต่บางที ก็ค้นไม่เจอ 555
ดีมากครับอาจารย์
ขอบคุณ ครับ เพิ่งรู้วันนี้เองว่า เสาสั้น เสายาว มีสูตรคำนวณหาที่ชัดเจน ด้วย
ถึงจะต้องมีการเรียนตามรายวิชาตามกำหนดของสภาวิศวกรครับ1) กลศาสตร์วิศวกรรม2) กำลังวัสดุ ในวิชานี้มีหัวข้อ การโก่งเดาะของเสา คิดง่ายๆ คือเอาตะเกียบไม้ไผ่ยาวเต็มก้านมา แล้วกดมันจะโก่งแล้วหักใช้แรงน้อยกว่า เอาตะเกียบไม้ไผ่ยาวครึ่งก้านมากดให้หัก มันต้องใช้แรงมากขึ้นและไม่มีการโก่งออกข้าง ทั้งๆที่ตะเกียบหน้าตัดเท่ากันแต่ยาวไม่เท่ากันจะรับกำลังได้ไม่เท่ากัน ยิ่งยาวกำลังยิ่งลดลง3) ทฤษฎีโครงสร้าง4) วิเคราะห์โครงสร้าง5) ออกแบบ(คสล., เหล็ก , ไม้)
ผมขอเป็นลูกศิษย์ตามยูทูปด้วยครับ
อาจารย์ครับ สอบถามครับ ในการวัดความสูง เพื่อใช้ในการตรวจสอบว่าเป็นเสาสั้น-เสายาว ปกติแล้วจะวัดจากไหนครับ ถ้าในวิดิโอ เริ่มวัดจากพื้นคอนกรีตไปจนถึงท้องคานขั้น 2 หรือเริ่มจากวัดพื้นที่ปูกระเบื้องไปจนถึงท้องคานขั้น 2 ครับ -บางที่ก็เห็นหน้างาน เทคานคอดินเสร็จก็เทเสาต่อ (ถ้าแบบนี้ก็จะเริ่มวัดจากหลังคาน(top คาน) ไปจนถึงท้องคานชั้น 2 ใช่ไหมครับ)-อีกที่ก็เทคานคอดินเสร็จ เทพื้นต่อ แล้วค่อยมาเทเสา ครับ (แบบนี้ก็คือจะเริ่มวัดจากพื้นคอนกรีตไปจนถึงท้องคานชั้น 2 ใช่ไหมครับ )ผมเลยสงสัยครับ ว่าควรจะตรวจสอบว่าเป็นเสาสั้น-เสายาว อย่างไรครับ ขอบคุณครับ
ดูเรื่อง bulking of column ในวิชากำลังวัสดุ แล้วพิจารณา ดูว่า กระเบื้องจะมีผลหรือไม่? ___ ถ้าไม่แน่ใจ เลือกฝั่ง safe side ไว้ก่อน
การตรวจสอบ ว่าเสาสั้น เสายาว ให้ตรวจสอบตั้งแต่ช่วง ออกแบบ
@@CivilEngineeringsStudio ขอบคุณครับ อาจารย์
4:01 / 8:36 ( ขออนุญาต Comments ) ให้มองว่า รูปหน้าตัด “ เสา “ เป็น “ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า “ รูปหน้าตัด “เสา” วางนอน ตามแนว แกน “ x “ ( มีความกว้าง = 2t ) ตามแนว แกน “ y “ ( มีความสูง = t ) เมื่อมีแรงอัด ( point load ) มากระทำที่กึ่งกลางรูปหน้าตัด “เสา” ผ่านจุด ( Centroid ) หากว่า “ เสา “ มีความชลูดมาก จะเกิดการ (โก่งตัวด้านข้างของ “เสา” ทิศทาง รอบแกน “ x “ ) ก่อน ก่อนที่ “ เสา “ จะพัง อันเนื่องมาจาก เกิด ( การ “ คลาก “ หรือ เกิดการ “ ประลัย “ ของวัสดุ ) การตรวจสอบเสาสั้น - เสายาว ให้ t = ความยาวด้าน ของรูปหน้าตัด “ เสา “ h = ความสูง “ เสา “ A = พื้นที่ หน้าตัด “ เสา “ = ( ( 2t )•t ) I = Moment of inertia = 1/12 • ( 2t ) • t^3 r = Radius of gyrations = root ( I / A ) r = root ( ( 1/12 • ( 2t ) • t^3 ) / ( ( 2t )•t ) ) r = 0.28867 • t ข้อกำหนด “ เสาสั้น “ h / r
เสาเหล็กกล่อง 4x4 หนา 2.0 ยาว 4เมตร รับแรงกดได้กี่ตันครับ
นั่นสิ สอนแต่ RC ไม่ได้สอนออกแบบเหล็ก 4นิ้ว×4นิ้ว ถ้าไม่ fill คอนกรีต ถือว่าเล็ก แล้วยาว 4 เมตร จะทำให้มีความชลูด กำลังจะทำให้รับกำลังลดลง
ลองดูเอกสารตามลิงค์ครับengfanatic.tumcivil.com/tumcivil_1/doc/Steel_Column_Design.pdf
อยากทราบว่า I มาจากไหนครับ
หน้าตัดสี่เหลี่ยม ค่า I = bh^3/12มาจาก กลศาสตร์ หรือ strength of material
ถ้าบ้านยกพื้น คานยกมาจากพื้นดิน1เมตรละครับ
หมายถึงความยาวเสาตอม่อ หรือเสาชั้น1 ?- เสาชั้น1 ถ้าชั้นล่างยกขึ้นมาเท่าไร ยังไง ความสูงชั้นสองสถาปนิกก็น่าจะยกตาม ความสูงชั้นน่าจะเท่าเดิม และต้องมีระยะฝ้าไม่ต่ำกว่ากฎหมายกำหนด- เสาตอม่อ วัดจาก หลังฐานรากถึงท้องคานชั้นล่าง
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณครับ
จารย์คับ...แล้วถ้าเสาต่อเนื่อกับต่อม่อล่ะครับที่มีความยาวเกิน...ต้องคิดความยาวแค่ท้องคานถึงระดับดินหรือคิดลงไปถึงหลังฐานครับ
ถ้าคานคอดินยึดก็เบรคความยาวที่คานคอดินได้ แต่บางกรณี เช่น แถวๆ ที่จอดรถ บ้านบางหลังไม่ใส่คานคอดิน(ซึ่งหวาดเสียวมาก) ก็ต้องคิดยาว ตามหน้าตัดคานที่ไม่มีการแปรเปลี่ยนขนาดหน้าตัด _____ตอบแบบกว้างๆนะครับ ไม่เห็นแบบก่อสร้าง
กรณีเสา A1 หน้า S-02 คงต้องวัดจากหลังฐานรากถึงท้องคานหลังคา เนื่องจากไม่มีคานชั้น 1 แต่ คหสต. คิดว่าควรใส่เพื่อยึดตัวฐานรากและลดความยาวเสา.subsites.dpt.go.th/construction/images/pdf/family1.pdf
เปนอาจานสอนที่ มอเอชีย ใช่แถวพุทมนทนสาย4ป่าวคับ
ครับ
เยี่ยมครับอาจารย์
หาตั้งนาน อธิบายดีมากเลยครับ
ช่องเล็กๆ ต้องค้นถึงจะเจอ
แต่บางที ก็ค้นไม่เจอ 555
ดีมากครับอาจารย์
ขอบคุณ ครับ เพิ่งรู้วันนี้เองว่า เสาสั้น เสายาว มีสูตรคำนวณหาที่ชัดเจน ด้วย
ถึงจะต้องมีการเรียนตามรายวิชาตามกำหนดของสภาวิศวกรครับ
1) กลศาสตร์วิศวกรรม
2) กำลังวัสดุ ในวิชานี้มีหัวข้อ การโก่งเดาะของเสา คิดง่ายๆ คือเอาตะเกียบไม้ไผ่ยาวเต็มก้านมา แล้วกดมันจะโก่งแล้วหักใช้แรงน้อยกว่า เอาตะเกียบไม้ไผ่ยาวครึ่งก้านมากดให้หัก มันต้องใช้แรงมากขึ้นและไม่มีการโก่งออกข้าง ทั้งๆที่ตะเกียบหน้าตัดเท่ากันแต่ยาวไม่เท่ากันจะรับกำลังได้ไม่เท่ากัน ยิ่งยาวกำลังยิ่งลดลง
3) ทฤษฎีโครงสร้าง
4) วิเคราะห์โครงสร้าง
5) ออกแบบ(คสล., เหล็ก , ไม้)
ผมขอเป็นลูกศิษย์ตามยูทูปด้วยครับ
อาจารย์ครับ สอบถามครับ ในการวัดความสูง เพื่อใช้ในการตรวจสอบว่าเป็นเสาสั้น-เสายาว ปกติแล้วจะวัดจากไหนครับ ถ้าในวิดิโอ เริ่มวัดจากพื้นคอนกรีตไปจนถึงท้องคานขั้น 2 หรือเริ่มจากวัดพื้นที่ปูกระเบื้องไปจนถึงท้องคานขั้น 2 ครับ
-บางที่ก็เห็นหน้างาน เทคานคอดินเสร็จก็เทเสาต่อ
(ถ้าแบบนี้ก็จะเริ่มวัดจากหลังคาน(top คาน) ไปจนถึงท้องคานชั้น 2 ใช่ไหมครับ)
-อีกที่ก็เทคานคอดินเสร็จ เทพื้นต่อ แล้วค่อยมาเทเสา ครับ
(แบบนี้ก็คือจะเริ่มวัดจากพื้นคอนกรีตไปจนถึงท้องคานชั้น 2 ใช่ไหมครับ )
ผมเลยสงสัยครับ ว่าควรจะตรวจสอบว่าเป็นเสาสั้น-เสายาว อย่างไรครับ ขอบคุณครับ
ดูเรื่อง bulking of column ในวิชากำลังวัสดุ แล้วพิจารณา ดูว่า กระเบื้องจะมีผลหรือไม่?
___ ถ้าไม่แน่ใจ เลือกฝั่ง safe side ไว้ก่อน
การตรวจสอบ ว่าเสาสั้น เสายาว ให้ตรวจสอบตั้งแต่ช่วง ออกแบบ
@@CivilEngineeringsStudio ขอบคุณครับ อาจารย์
4:01 / 8:36 ( ขออนุญาต Comments )
ให้มองว่า รูปหน้าตัด “ เสา “
เป็น “ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า “
รูปหน้าตัด “เสา” วางนอน
ตามแนว แกน “ x “ ( มีความกว้าง = 2t )
ตามแนว แกน “ y “ ( มีความสูง = t )
เมื่อมีแรงอัด ( point load )
มากระทำที่กึ่งกลางรูปหน้าตัด “เสา”
ผ่านจุด ( Centroid )
หากว่า “ เสา “ มีความชลูดมาก
จะเกิดการ
(โก่งตัวด้านข้างของ “เสา” ทิศทาง
รอบแกน “ x “ ) ก่อน
ก่อนที่ “ เสา “ จะพัง อันเนื่องมาจาก
เกิด
( การ “ คลาก “ หรือ เกิดการ “ ประลัย “ ของวัสดุ )
การตรวจสอบเสาสั้น - เสายาว
ให้
t = ความยาวด้าน ของรูปหน้าตัด “ เสา “
h = ความสูง “ เสา “
A = พื้นที่ หน้าตัด “ เสา “
= ( ( 2t )•t )
I = Moment of inertia
= 1/12 • ( 2t ) • t^3
r = Radius of gyrations
= root ( I / A )
r = root ( ( 1/12 • ( 2t ) • t^3 )
/ ( ( 2t )•t ) )
r = 0.28867 • t
ข้อกำหนด “ เสาสั้น “
h / r
เสาเหล็กกล่อง 4x4 หนา 2.0 ยาว 4เมตร รับแรงกดได้กี่ตันครับ
นั่นสิ สอนแต่ RC ไม่ได้สอนออกแบบเหล็ก 4นิ้ว×4นิ้ว ถ้าไม่ fill คอนกรีต ถือว่าเล็ก แล้วยาว 4 เมตร จะทำให้มีความชลูด กำลังจะทำให้รับกำลังลดลง
ลองดูเอกสารตามลิงค์ครับ
engfanatic.tumcivil.com/tumcivil_1/doc/Steel_Column_Design.pdf
อยากทราบว่า I มาจากไหนครับ
หน้าตัดสี่เหลี่ยม ค่า I = bh^3/12
มาจาก กลศาสตร์ หรือ strength of material
ถ้าบ้านยกพื้น คานยกมาจากพื้นดิน1เมตรละครับ
หมายถึงความยาวเสาตอม่อ หรือเสาชั้น1 ?
- เสาชั้น1 ถ้าชั้นล่างยกขึ้นมาเท่าไร ยังไง ความสูงชั้นสองสถาปนิกก็น่าจะยกตาม ความสูงชั้นน่าจะเท่าเดิม และต้องมีระยะฝ้าไม่ต่ำกว่ากฎหมายกำหนด
- เสาตอม่อ วัดจาก หลังฐานรากถึงท้องคานชั้นล่าง
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณครับ
จารย์คับ...แล้วถ้าเสาต่อเนื่อกับต่อม่อล่ะครับที่มีความยาวเกิน...ต้องคิดความยาวแค่ท้องคานถึงระดับดินหรือคิดลงไปถึงหลังฐานครับ
ถ้าคานคอดินยึดก็เบรคความยาวที่คานคอดินได้
แต่บางกรณี เช่น แถวๆ ที่จอดรถ บ้านบางหลังไม่ใส่คานคอดิน(ซึ่งหวาดเสียวมาก) ก็ต้องคิดยาว ตามหน้าตัดคานที่ไม่มีการแปรเปลี่ยนขนาดหน้าตัด
_____
ตอบแบบกว้างๆนะครับ ไม่เห็นแบบก่อสร้าง
กรณีเสา A1 หน้า S-02 คงต้องวัดจากหลังฐานรากถึงท้องคานหลังคา เนื่องจากไม่มีคานชั้น 1 แต่ คหสต. คิดว่าควรใส่เพื่อยึดตัวฐานรากและลดความยาวเสา
.
subsites.dpt.go.th/construction/images/pdf/family1.pdf
ขอบคุณครับ
เปนอาจานสอนที่ มอเอชีย ใช่แถวพุทมนทนสาย4ป่าวคับ
ครับ
เยี่ยมครับอาจารย์
ขอบคุณครับ